รหัสโครงการ 59-01612
สัญญาเลขที่ 59-00-2386
งวดที่ 1
แบบรายงานความก้าวหน้าโครงการ (ส.1)
1. ชื่อโครงการ พัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่าย สสส. ระดับกลุ่มพื้นที่ภาคใต้
2. ชุมชน
3. รหัสโครงการ 59-01612 เลขที่ข้อตกลง 59-00-2386
4. ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2560 ถึง 31 ตุลาคม 2561
5. รายงานงวดที่ : 1 จากเดือน ตุลาคม 2559 ถึงเดือน กุมภาพันธ์ 2560
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินโครงการ (แสดงผลการดำเนินงานรายกิจกรรมที่แสดงผลผลิตและผลลัพท์ที่เกิดขึ้นจริง
1. ประชุมเตรียมงาน ก่อนเริ่มหลักสูตร |
||
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพท์และตัวชี้วัดผลลัพท์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1.1 ประชุมคณะทำงานหลักสูตร วันที่ 11พฤศจิกายน 2559 |
||
วันที่ 11 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้เพื่อประชุมคณะทำงานหลักสูตร ผลลัพท์ที่ตั้งไว้
ผลลัพท์ที่เกิดขึ้นจริง-คณะทำงานนัดปรึกษาหารือ เรื่อง outline ของแต่ละหลักสูตรที่อาจารย์แต่ละท่านรับผิดชอบ โดยมี concept คือ หยิบงานเดิมมาปัดฝุ่น ทบทวน ให้ดีขึ้น และให้ทราบว่าสิ่งที่ทำอยู่ได้ความรู้อะไรบ้าง -หลักสูตรต้องพัฒนาศักยภาพของคนโดย ให้ความรู้ ให้ทักษะ ให้คู่มือ ให้เครื่องมือ ที่สามารถนำกลับไปใช้ต่อในพื้นที่ได้ -วางแผนว่าต้องมีการติดตามงานในพื้นที่ โดยที่กลุ่มเป้าหมายนำความรู้ที่ได้ไป นำไปใช้อย่างไร วางแนวทาง ให้ทีมนำเสนอให้เห็น -ทีมเข้าร่วมต้องเป็นแกนนำเครือข่าย รวมไปถึงผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการดำเนินงาน กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผนประชุมคณะทำงานหลักสูตร ในวันที่ 11 พฤศจิกายน 2559 สถานที่ ห้องประชุม 1405สถาบันการจัดการระบบสุขภาพ ชั้น 14 กิจกรรมที่ทำจริง-
|
7 | 10 |
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพท์และตัวชี้วัดผลลัพท์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1.2 ประชุมคณะทำงานหลักสูตร วันที่ 21 พฤศจิกายน 2559 |
||
วันที่ 21 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้เพื่อประชุมเตรียมงานอบรมหลักสูตร ผลลัพท์ที่ตั้งไว้
ผลลัพท์ที่เกิดขึ้นจริงคณะทำงานงานหลักสูตร ปรึกษาหารือ ในเรื่องรายละเอียดการสอนในแต่ละหลักสูตรและช่วงเวลาในการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ
1. Health promotion theory and methodology 2.Leadership and Management skill in Health promotion 3.Knowledge management in Health promotion ดร.จีรเนาว์ ทัศศรี ,ดร.จุฑารัตน์ สถิรปัญญา ,คุณวัลภา ฐาน์กาญจน์ ,คุณอุรพิณ หนุนอนันต์ ระยะเวลา : เดือนมีนาคม 2560
-นำทีม KM คณะแพทย์ร่วมออกแบบหลักสูตร และเป็นวิทยากรกระบวนการ 4.Sustainable managementและ Social communication in Health promotion ดร.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผนประชุมคณะทำงาน ดูเนื้อหาหลักสูตรพัฒนาศักยภาพ สสส. (รายละเอียดคู่มือ) วันที่ 21 พฤศจิกายน 2559 สถานที่ ห้องประชุม 1405สถาบันการจัดการระบบสุขภาพ ชั้น 14มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ อ.หาดใหญ่ กิจกรรมที่ทำจริง-
|
7 | 0 |
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพท์และตัวชี้วัดผลลัพท์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1.3 ประชุมคณะทำงานหลักสูตร วันที่ 7 ธันวาคม 2559 |
||
วันที่ 7 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้เพื่อประชุมคณะทำงานเพื่อปรับปรุงเนื้อหาหลักสูตร ผลลัพท์ที่ตั้งไว้
ผลลัพท์ที่เกิดขึ้นจริงเนื้อหา • แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของโลก (Mega Trend) • และทิศทางการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDG) • ระบบสร้างเสริมสุขภาวะในระดับสากล และในประเทศไทย • บทบาทองค์กร การสร้างเสริมสุขภาวะในระดับสากล ระดับชาติ และระดับพื้นที่ • การสร้างแบบจำลองทางสุขภาวะเพื่อการตอบโจทย์สุขภาวะในบริบทของตนเอง • การสร้างแบบจำลองและกระบวนการผลักดันนโยบายสาธารณะ • การสร้างชุมชนเข้มแข็ง • การสร้างแรงบันดาลใจของนักจัดการสุขภาพ • การวิเคราะห์สถานการณ์ สร้างฉากทัศน์ วางภาพอนาคต วางจุดหมาย • วางเป้าประสงค์ และตัวชี้วัดที่สำคัญ • การวิเคราะห์และสร้างสรรค์ยุทธศาสตร์เพื่อให้บรรลุจุดหมาย เขียนโครงการสร้างกิจกรรมตามแผนที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ • 10.การบริหารจัดการโครงการให้บรรลุผลสำเร็จ ทั้งการจัดหาปัจจัยนำเข้า การจัดกระบวนการการได้ผลผลิต ผลลัพธ์ และสร้างผลกระทบเชิงบวก วางระบบการติดตาม และการประเมินผลโครงการเพื่อนำมาใช้ในการปรับปรุงพัฒนา หลักสูตรการจัดการความรู้ เนื้อหา • การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่ความสำเร็จในการทำงานสุขภาวะ • กระบวนทัศน์ใหม่ (new paradigm) ในการจัดการความรู้ • พลัง และประโยชน์จากการนำความรู้/บทเรียนไปใช้ • หลักการ รูปแบบ วิธีการ และเทคนิคการสกัดความรู้ (ถอดบทเรียน) • กระบวนการกลุ่มกับการจัดการความรู้ ผู้นำและการบริหารเครือข่ายด้านสุขภาวะ เนื้อหา • การนำตนเอง การนำผู้อื่น การนำองค์กร การนำสังคม การบริหารจัดการองค์กร ในการทำงานด้านสุขภาวะในพื้นที่ • การวิเคราะห์เปรียบเทียบ หน่วยงาน องค์กรที่ใช้แนวทางการบริหารด้านสุขภาวะ ในยุคของการเปลี่ยนแปลง • แนวคิดของเครือข่ายและการบริหารเครือข่าย • การวินิจฉัยความเข้มแข็ง ความต้องการของเครือข่าย • ทักษะและกระบวนการสร้างเครือข่ายเพื่อการส่งเสริมสุขภาวะ • การสร้างความเข้มแข็งและความยั่งยืนของเครือข่าย ครั้งที่ 4 การสื่อสารและการบริหารจัดการความยั่งยืน เนื้อหา • การสื่อสารเพื่อการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมสุขภาพ และการเปลี่ยนแปลงทางสังคม • การสื่อสารเพื่อการผลักดันนโยบายและเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายเชิงนโยบาย • กลยุทธ์การสื่อสารดิจิตอลเพื่อส่งเสริมสังคมสุขภาวะ • เทคนิคและเครื่องมือเพื่อการสื่อสารและการประชาสัมพันธ์งานสุขภาวะ • การสื่อสารเพื่อการสร้างภาพลักษณ์และคุณค่าองค์กรและเครือข่าย • ความยั่งยืนในมิติเศรษฐกิจระดับบน และเศรษฐกิจชุมชน • ความยั่งยืนในมิติการจัดการฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม • ความยั่งยืนในมิติของกระบวนการการจัดการนโยบายสาธารณะ • ความยั่งยืนในมิติการเงินการงบประมาณ เทคนิคการขอทุนจากแหล่งทุนทั้งใน และต่างประเทศ หลักการสำคัญ คือ เนื้อหาส่วนใหญ่จะใช้กระบวนการกลุ่ม การ Lecture จะน้อยที่สุด ให้ผู้เข้าร่วมได้มีส่วนร่วมวิเคราะห์ มากทีสุด กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผนประชุม 1405สถาบันการจัดการระบบสุขภาพ ชั้น 14 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา กิจกรรมที่ทำจริง-
|
10 | 10 |
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพท์และตัวชี้วัดผลลัพท์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1.4 ประชุมเพื่อรับฟังความคิดเห็นหลักสูตรพัฒนาศักยภาพ สสส.วันที่ 20 ธันวาคม 2559 |
||
วันที่ 20 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้เพื่อประชุมเพื่อรับฟังความคิดเห็นหลักสูตรพัฒนาศักยภาพ สสส. ผลลัพท์ที่ตั้งไว้
ผลลัพท์ที่เกิดขึ้นจริงผู้เข้าร่วมอบรม จำนวน 45 คน ประกอบด้วยภาคีเครือข่าย ทั้งผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงานในโครงการ/แผนงาน และเจ้าหน้าที่ สสส. โดยมี ผศ.ดร.พงษ์เทพ สุธีรวุฒิ ผู้อำนวยการ สจรส. มอ. กล่าวความเป็นมาและชี้แจงรายละเอียดโครงการฯ โดยเน้นการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายสสส. และเครือข่ายสร้างสริมสุขภาพในพื้นที่ที่ทำงานเกี่ยวกับสร้างเสริมสุขภาพ มาออกแบบและพัฒนาหลักสูตรร่วมกัน โดยมีการแบ่งกลุ่มวิพากษ์หลักสูตร 7 หลักสูตร แบ่งเป็น 4 กลุ่ม คือ กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผนวันที่ 20 ธันวาคม 2560สถานที่ ห้องประชุม 1401 สถาบันการจัดการระบบสุขภาพ ชั้น 14มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา กิจกรรมที่ทำจริง-
|
45 | 40 |
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพท์และตัวชี้วัดผลลัพท์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1.5 ประชุมคณะทำงานเหลักสูตร เพื่อปรับรูปแบบเนื้อหา วันที่ 27 ธันวาคม 2559 |
||
วันที่ 27 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้เพื่อปรับเนื้อหาหลักสูตร ผลลัพท์ที่ตั้งไว้
ผลลัพท์ที่เกิดขึ้นจริงคณะทำงานหลักสูตรพัฒนาศักยภาพได้ประชุมร่วมกันเพื่อปรึกษาหารือเกี่ยวกับเนื้อหาที่จะใช้จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ โดยมีประเด็นเรื่อง กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผนดำเนินการปรับปรุงเนื้อหาหลักสูตร วันที่ 27 ธันวาคม 2559 สถานที่ ห้องประชุม สถาบันการจัดการระบบสุขภาพ กิจกรรมที่ทำจริง-
|
7 | 5 |
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพท์และตัวชี้วัดผลลัพท์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1.6 ประชุมคณะทำงานออกแบบหลักสูตรฯ วันที่ 4 มกราคม 60 |
||
วันที่ 4 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้เพื่อประชุมคณะทำงานออกแบบหลักสูตร ผลลัพท์ที่ตั้งไว้
ผลลัพท์ที่เกิดขึ้นจริงคณะทำงานได้ร่วมกันปรับรูปแบบใบสมัคร เพื่อทราบข้อมูลเบื้องต้นของผู้เข้าร่วมเรียนรู้ทั้งข้อมูลทั่วไป ลักษณะงานที่ดำเนินการในพื้นที่ และความคาดหวังต่อการเข้าร่วมในหลักสูตรนี้ ซึ่งจะทำให้ทำให้ผู้จัดรู้จักผู้เข้าร่วมเรียนรู้มากขึ้น กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผนวันที่ 4 มกราคม 2560 สถานที่ ห้องประชุม สถาบันการจัดการระบบสุขภาพ ชั้น 10 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา กิจกรรมที่ทำจริง-
|
6 | 8 |
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพท์และตัวชี้วัดผลลัพท์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1.7 ประชุมคณะทำงานออกแบบหลักสูตรฯ วันที่ 11 มกราคม 60 |
||
วันที่ 11 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้เพื่อติดตามงานออกแบบหลักสูตร ผลลัพท์ที่ตั้งไว้
ผลลัพท์ที่เกิดขึ้นจริง
วันที่ 2 (23 กุมภาพันธ์ 2560)
ช่วงเช้า
- แนวคิดการจัดการ tacit knowledge กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผนวันที่ 11 มกราคม 2560 สถานที่ ห้องประชุม สถาบันการจัดการระบบสุขภาพ ชั้น 14 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา กิจกรรมที่ทำจริงกลุ่มเป้าหมายที่ร่วมเรียนรู้ตามหลักสูตร
คณะทำงานกล่าวถึงกลุ่มที่จะเข้าร่วมเรียนรู้ตามหลักสูตร แบ่งเป็น 3 กลุ่ม คือ
|
9 | 10 |
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพท์และตัวชี้วัดผลลัพท์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1.8 ร่วมประชุมอบรมหลักสูตรเครือข่าย |
||
วันที่ 24 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้เพื่ออบรมการออกแบบหลักสูตร ผลลัพท์ที่ตั้งไว้
ผลลัพท์ที่เกิดขึ้นจริง- กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน
กิจกรรมที่ทำจริง-
|
2 | 2 |
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพท์และตัวชี้วัดผลลัพท์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1.9 ประชุมคณะทำงานออกแบบหลักสูตรฯ วันที่ 24 มกราคม 60 |
||
วันที่ 24 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้เพื่อประชุมคณะทำงานออกแบบหลักสูตร ผลลัพท์ที่ตั้งไว้
ผลลัพท์ที่เกิดขึ้นจริงคณะทำงานการจัดการความรู้ ร่วมกันออกแบบ กระบวนการ กำหนดการ ในการประชุมวันที่ 22-24 กุมภาพันธ์ 60 ดังต่อไปนี้ วันที่ (เวลา) เนื้อหา วิทยากร/ผู้รับผิดชอบ 22 กุมภาพันธ์ 2560 09.00-09.15 น. แนะนำหลักสูตร: การจัดการความรู้ ผศ.ดร.พงศ์เทพ สุธีรวุฒิ 09.15-10.00 น.
แนวคิดและพื้นฐานเรื่องการจัดการความรู้ 10.30-12.00 น. การจัดการความรู้: เรียนรู้ความเป็นจริงแห่งชีวิตจากงาน คุณสุทธิพงษ์ ธรรมวุฒิ 13.00-14.30 น.
การจัดการความรู้: ตัวอย่างการสร้างองค์กรแห่งการเรียนรู้หรือองค์ความรู้ คุณอุรพิณ หนุนอนันต์ และคณะ 15.00-16.00 น. ความคิดรวบยอดของการจัดการความรู้ คุณอุรพิณ หนุนอนันต์ และคณะ 23 กุมภาพันธ์ 2560 09.00-12 .00 น. Online Technology เพื่อการจัดการความรู้ ดร. จันทวรรณ ปิยะวัฒน์ 13.00 -16.00 น กระบวนการเรียนรู้ : หลักการพื้นฐานของการถอดบทเรียน และเทคนิคการถอดบทเรียน ผศ.ดร.จุฑารัตน์ สถิรปัญญา และคณะ 24 กุมภาพันธ์ 2560 09.00-10 .00 น. ถอดบทเรียน และข้อเสนอแนะจากการทำกิจกรรมกลุ่ม ผศ.ดร.จุฑารัตน์ สถิรปัญญา และคณะ 10.30-12.00 น. การเลือกใช้ (จัดการ) ข้อมูลเชิงสุขภาวะ เพื่อสนับสนุนโครงการสุขภาวะ ผศ. ดร. พงค์เทพ สุธีรวุฒิ และคณะ 13.00-15.00 น. นำเสนอผลการเลือกใช้ (จัดการ) ข้อมูลเชิงสุขภาวะ เพื่อสนับสนุนโครงการสุขภาวะ รศ. ดร. จีรเนาว์ ทัศศรี และคณะ กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผนวันที่ 24 มกราคม 2560 สถานที่ ห้องประชุม 1405 สถาบันการจัดการระบบสุขภาพ ชั้น 14 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา กิจกรรมที่ทำจริง-
|
5 | 8 |
2. Module 1 การจัดการความรู้ |
||
ไม่มีกิจกรรม | ||
3. Module 2 การสร้างเสริมสังคมสุขภาวะและการบริหารโครงการสุขภาวะ |
||
ไม่มีกิจกรรม | ||
4. Module 3 ผู้นำและการบริหารเครือข่ายด้านสุขภาวะ |
||
ไม่มีกิจกรรม | ||
5. Module 4 การสื่อสารและการบริหารจัดการความยั่งยืน |
||
ไม่มีกิจกรรม | ||
6. ลงพื้นที่ รุ่นที่ 1 |
||
ไม่มีกิจกรรม | ||
7. ลงพื้นที่ รุ่นที่ 2 |
||
ไม่มีกิจกรรม |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพท์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการและปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินโครงการ
ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ
การดำเนินงานเมื่อเทียบกับการดำเนินงานทั้งโครงการ | ทั้งหมด | ทำแล้ว | 10% | 20% | 30% | 40% | 50% | 60% | 70% | 80% | 90% | 100% |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
การทำกิจกรรม | 21 | 9 | ✔ | |||||||||
การใช้จ่ายงบประมาณ | 5,000,000.00 | 195,066.00 | ✔ | |||||||||
คุณภาพกิจกรรม | 36 | 33 | ✔ |
ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานโครงการ (สรุปเป็นข้อ ๆ)
ประเด็นปัญหา/อุปสรรค | สาเหตุเพราะ | แนวทางการแก้ไขของผู้รับทุน |
---|---|---|
|
|
|
ส่วนที่ 3 ผลลัพท์ของโครงการที่สอดคล้องกับเป้าหมายตัวชี้วัดของแผนสร้างสรรค์โอกาสและนวัตกรรมสุขภาวะ
แกนนำด้านการสร้างเสริมสุขภาพในประเด็นต่าง ๆ
(แกนนำด้านการสร้างเสริมสุขภาพ หมายถึง ผู้ผลักดันหรือผู้ทำให้เกิดการสร้างเสริมสุขภาพ ชักชวนผู้อื่นมาร่วมทำกิจกรรมที่ทำให้มีสุสภาพที่ดีขึ้น เช่น แกนนำเลิกเหล้า บุหรี่)
เกิดแกนนำ จำนวน คน โปรดระบุข้อมูลของแกนนำ ตามตัวอย่างตารางด้านล่าง พร้อมแนบมากับรายงาน
ชื่อ-สกุล | ที่อยู่ติดต่อได้สะดวก | บทบาทแกนนำ |
---|
นวัตกรรมสร้างเสริมสุขภาพระดับพื้นที่
นวัตกรรมสร้างเสริมสุขภาพระดับพื้นที่ หมายถึง การจัดการความคิด กลไก หรือกระบวนการ และ/หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสม นำมาใช้ในการดำเนินงานโครงการหรือใช้ในการจัดการปัญหาสุขภาพของพื้นที่แล้วได้ผลดีกว่าเดิม
ชื่อนวัตกรรม | การพัฒนาความรู้ใหม่จากการวิจัยและพัฒนา | การนำสิ่งที่มีอยู่ในชุมชนอื่นมาปรับใช้ในชุมชนตนเอง | การนำสิ่งที่มีอยู่มาปรับกระบวนทัศน์ใหม่หรือทำด้วยวิธีใหม่ | การรื้อฟื้นสิ่งดีๆ ที่เคยมีในชุมชนมาปรับให้สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน | การนำนวัตกรรมไปใช้ประโยชน์ (แสดงให้เห็นว่านวัตกรรมตามที่ระบุมานั้นได้นำไปใช้ในการดำเนินงานโครงการแล้วทำให้เกิดการจัดการปัญหาของพื้นที่แล้วได้ผลดีกว่าเดิมอย่างไร) |
---|
แผนงาน/กิจกรรม ที่จะดำเนินการในงวดต่อไป
- ประชุมคณะทำงานออกแบบหลักสูตรฯ (เตรียมความพร้อมการจัดการความรู้) วันที่ 17 กุมภาพันธ์ 60 ( 17 กุมภาพันธ์ 2560 )
- ประชุมเชิงปฏิบัติการหลักสูตรฯ (การจัดการความรู้) รุ่นที่ 1 ( 22 กุมภาพันธ์ 2560 - 24 กุมภาพันธ์ 2560 )
- จัดทำแผ่นพับประชาสัมพันธ์หลักสูตร ( 1 มีนาคม 2560 )
- ประชุมคณะทำงานเตรียมการประชุมเชิงปฏิบัติการหลักสูตรการสร้างเสริมสังคมสุขภาวะ และการบริหารจัดการโครงการสุขภาวะ ( 8 มีนาคม 2560 )
- ประชุมคณะทำงานเตรียมการประชุมเชิงปฏิบัติการหลักสูตรการสร้างเสริมสังคมสุขภาวะ และการบริหารจัดการโครงการสุขภาวะ วันที่ 17 มีนาคม 2560 ( 17 มีนาคม 2560 )
- การประชุมเชิงปฏิบัติการหลักสูตรฯ (การสร้างเสริมสุขภาวะและการบริหารโครงการสุขภาวะ) รุ่นที่ 1 ( 27 มีนาคม 2560 - 30 มีนาคม 2560 )
(................................)
ดร.เพ็ญ สุขมาก
ผู้รับผิดชอบโครงการ
(................................)
ทีมสนับสนุนวิชาการ ส.น. 6
......./............/.......