stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ กองปังสร้างสุขบ้านกะลาพอตก
ภายใต้โครงการ โครงการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่
รหัสโครงการ 58-03798
วันที่อนุมัติ
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 15 กันยายน 2558 - 15 ตุลาคม 2559
งบประมาณ 186,975.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ
ผู้รับผิดชอบโครงการ นาย มะรอบี ยามิง
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ 0883431567,0883431567
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ กัลยา เอี่ยวสกุล
พื้นที่ดำเนินการ บ้านกะลาพอตก ม. 8 ต.เตราะบอน อ.สายบุรี จ.ปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด 6.7960747694769,101.33976930287place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 15 ก.ย. 2558 15 ก.พ. 2559 15 ก.ย. 2558 15 ก.พ. 2559 74,790.00
2 16 ก.พ. 2559 15 ส.ค. 2559 16 ก.พ. 2559 15 ต.ค. 2559 93,490.00
3 16 ส.ค. 2559 15 ต.ค. 2559 18,695.00
รวมงบประมาณ 186,975.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อพัฒนาให้เกิดกลไกการมีส่วนร่วมในรูปแบบของสภาผู้นำ (สภากองปังสร้างสุข)

1.เกิดสภาผู้นำ(สภากองปังสร้างสุข)จำนวน 44 คน

  1. สภาผู้นำ(สภากองปังสร้างสุข)ขับเคลื่อนประเมินผล โดยผ่านที่ประชุมหมู่บ้าน และมีการประชุมอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง
2 เพื่อพัฒนาศักยภาพชุมชนในการจัดทำข้อมูลด้านความสัมพันธ์ระหว่างเยาวชนกับคนในครอบครัว
  1. ชุมชนมีข้อมูลด้านความสัมพันธ์ระหว่างเยาวชนกับคนในครอบครัว
  2. เกิด 1กลุ่มสภาผู้นำ(สภากองปังสร้างสุข)จำนวน 44 คน
3 เพื่อการวางแผนด้านความสัมพันธ์ระหว่างเยาวชนกับคนในครอบครัวและจัดทำแผนปฏิบัติการ
  1. เกิดแผนปฏิบัติการของเด็กเยาชนและครอบครัวนำไปสู่การสร้างความสัมพันธ์ระหว่างเยาวชนกับคนในครอบครัว
4 เพืื่อสร้างความสัมพันธ์ระหว่างเยาวชนกับคนในครอบครัวโดยใช้ศิลปะกองปังชุมชน
  1. เกิดกลุ่มเยาวชนสืบทอดวัฒนธรรมศิลปะกอปังจำนวน 1 กลุ่ม จำนวน 60 คน
  2. กลุ่มสภาชุมชน จำนวน 20คนในการจัดการแผนสร้างความสัมพันธ์ระหว่างเยาวชนกับคนในครอบครัว
5 เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบโครงการ และสนับสนุนการทำงานของโครงการ
  1. มีการเข้าร่วมการประชุมกับ สสส. สจรส.ม.อ. ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 ของจำนวนครั้งที่จัด
  2. มีการจัดทำป้าย "สถานที่นี้ปลอดบุหรี่" ติดตั้งในสถานที่จัดกิจกรรม
  3. มีการถ่ายภาพการดำเนินงานทุกกิจกรรม
  4. มีการจัดทำรายงานส่ง สสส. ตามระยะเวลาที่กำหนด
stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 30 พ.ค. 2558 23:33 น.