directions_run

ศูนย์การเรียนรู้การผลิตข้าวสังหยดอินทรีชีวภาพครบวงจรเพื่อขับเคลื่อนชุมชนท้องถิ่นให้น่าอยู่ที่บ้านควนพัง (ต่อเนื่องปี2)

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ ศูนย์การเรียนรู้การผลิตข้าวสังหยดอินทรีชีวภาพครบวงจรเพื่อขับเคลื่อนชุมชนท้องถิ่นให้น่าอยู่ที่บ้านควนพัง (ต่อเนื่องปี2)
ภายใต้โครงการ โครงการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่
รหัสโครงการ 58-03879
วันที่อนุมัติ
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 15 กันยายน 2558 - 15 ตุลาคม 2559
งบประมาณ 212,100.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ
ผู้รับผิดชอบโครงการ นาง วิมล ส้มนิ่ม
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ 0872782885
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ ไพฑูรย์ (พัทลุง)
พื้นที่ดำเนินการ บ้านควนพัง หมู่ที่ 2 ตำบลควนพัง อ.ร่อนพิบูลย์ จ.นครศรีธรรมราช
ละติจูด-ลองจิจูด 8.1593271631256,99.95499227196place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 15 ก.ย. 2558 15 ก.พ. 2559 15 ก.ย. 2558 21 ก.พ. 2559 84,840.00
2 16 ก.พ. 2559 15 ส.ค. 2559 22 ก.พ. 2559 15 ต.ค. 2559 106,050.00
3 16 ส.ค. 2559 15 ต.ค. 2559 21,210.00
รวมงบประมาณ 212,100.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของคนในชุมชนให้มีเศรษฐกิจครัวเรือนดีขึ้นด้วยวิถีการผลิตข้าวสังข์หยดอินทรีย์ชีวภาพครบวงจร
  1. จำนวนครัวเรือนที่ปรับเปลี่ยนจากการทำสวยยาง สวนปาล์ม มาทำนาอินทรีย์ชีวภาพ ไม่น้อยกว่า 30 ครัวเรือน
  2. รายได้เฉลี่ยของครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 ของรายได้เฉลี่ยนก่อนเข้าร่วมโครงการ(ประมาณ 3,000 บาทต่อเดือนต่อครัวเรือน)
  3. เกิดศูนย์เรียนรู้การผลิตข้าวสังข์หยดอินทรีย์ชีวภาพครบวงจร 1 ศูนย์
2 เพื่อพัฒนากระบวนการเรียนรู้สู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการผลิตข้าวสังข์หยดอินทรีย์ชีวภาพครบวงจร
  1. จำนวนจำนวนสมาชิกสภาผู้นำที่มาจากกรรมการหมู่บ้าน และสมาชิก อบต. และตัวแทนชาวนา ร้อยละ 80
  2. จำนวนหลักสูตรการเรียนรู้ที่พัฒนาขึ้นเพื่อใช้ในการจัดกระบวนการถ่ายทอดความรู้ไม่น้อยกว่า 3 หลักสูตร
  3. จำนวนครัวเรือนในชุมชนไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ปรับพฤติกรรมโดยใช้สารเคมมีในการเกษตร (ประเมินโดยการสังเกตโดยคณะทำงานโครงการ ร่วมกับการสำรวจปริมาณการขายสารเคมีเพื่อการเกษตรของร้านค้าในชุมชน)
3 เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบโครงการ และสนับสนุนการทำงานของโครงการ
  1. มีการเข้าร่วมการประชุมกับ สสส. สจรส.ม.อ. ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 ของจำนวนครั้งที่จัด
  2. มีการจัดทำป้าย "สถานที่นี้ปลอดบุหรี่" ติดตั้งในสถานที่จัดกิจกรรม
  3. มีการถ่ายภาพการดำเนินงานทุกกิจกรรม
  4. มีการจัดทำรายงานส่ง สสส. ตามระยะเวลาที่กำหนด
4 เพื่อปรับสภาพแวดล้อนในชุมชนให้เอื้อต่อการส่ง้สริมการผลิตและการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ที่เกิดจากการแปรรูปข้าวสังข์หยดอินทรีย์ชีวภาพ
  1. เกิดพื้นที่การผลิตข้าวสังข์หยดอินทรีย์รวมของชุมชนเพื่อใช้เป็ยฐานในการสร้างธนาคารเมล็ดพันธุ์และการส่งเสริมการบริโภค ไม่น้อยกว่า 10 ไร่
  2. มีการจัดตลาดนัดชุมชนเพื่อการจำหน่ายผลผลิตและผลิตภัณฑ์ที่แปรรูปจากข้าวสังข์ยหดอินทรีย์ อย่างน้อย เดือนละ 1 ครั้ง
  3. เกิดศูนย์เรียนรู้การผลิตข้าวสังข์หยดอินทรย์ชีวภาพครบวงจร 1 ศูนย์
5 เพื่อส่งเสริมและผลักดันให้เกิดกลไกการขับเคลื่อนศูนย์การเรียนรู้และกระบวนการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนอย่างต่อเนื่อง
  1. เกิดสภาผู้นำร่วม 3 ฝ่ายประกอบด้วยภาครัฐภาคท้องถิ่น และตัวแทนจากหมู่บ้าน ในการบริหารจัดการศูนย์เรียนรู้ตลาดกลาง และพื้นที่สาธารณะเพื่อการผลิตเมล็ดพันธ์
  2. เกิดข้อตกลงร่วมภายในหมู่บ้านเกี่ยวกับการร่วมกลุ่มการผลิตและการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ข้าวสังข์หยดอินทรีย์ชีวภาพ
stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 24 มิ.ย. 2558 10:26 น.