directions_run

พัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่าย สสส. ระดับกลุ่มพื้นที่ภาคใต้

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ พัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่าย สสส. ระดับกลุ่มพื้นที่ภาคใต้
ภายใต้โครงการ โครงการหลักของ สจรส.ม.อ.
รหัสโครงการ 59-01612
วันที่อนุมัติ
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2560 - 31 ตุลาคม 2561
งบประมาณ 5,000,000.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ
ผู้รับผิดชอบโครงการ ดร.เพ็ญ สุขมาก
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ
ละติจูด-ลองจิจูด 8.7982254590163,98.382568359375place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 15 ต.ค. 2559 30 มี.ค. 2560 15 ต.ค. 2559 30 มี.ค. 2560 947,896.00
2 1 เม.ย. 2560 31 ก.ค. 2560 1 เม.ย. 2560 31 ก.ค. 2560 1,034,828.00
3 1 ส.ค. 2560 31 ม.ค. 2561 1 ส.ค. 2560 31 ม.ค. 2561 1,517,448.00
4 683,100.00
รวมงบประมาณ 4,183,272.00

คำเตือน : รวมงบประมาณของทุกงวด (4,183,272.00 บาท) ไม่เท่ากับ งบประมาณโครงการ (5,000,000.00 บาท)

stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

สำนักพัฒนาภาคีสัมพันธ์และวิเทศสัมพันธ์ (สภส) สำนักงานสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)ร่วมกับสถาบันการจัดการระบบสุขภาพภาคใต้มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สจรส.ม.อ.) จัดทำหลักสูตรพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่าย สสส.ระดับกลุ่มพื้นที่ภาคใต้ ในการออกแบบพัฒนาหลักสูตรและรูปแบบการเรียนรู้ โดยยึดหลัก Core competency for skills set เพื่อเสริมสร้างทักษะความรู้ สมรรถนะ และความสามารถที่เกิดขึ้นจากกระบวนการทำงานมาแลกเปลี่ยน ถ่ายทอดเกิดการเชื่อมต่อความรู้ ขยายผลต่อยอดให้เกิดประโยชน์ และเกิดประสิทธิผลในการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาพทั้งในระดับชุมชน ท้องถิ่น องค์กร และนโยบาย ทั้งในภาคีเครือข่ายเองหรือข้ามภาคีเครือข่าย ตลอดจนสามารถขับเคลื่อนงานทางสังคม และสร้างพลังเครือข่ายได้อย่างยั่งยืน และมีกระบวนการพัฒนาทักษะให้แก่ภาคีเครือข่าย สสส. ได้นำไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนางานให้บรรลุตามเป้าหมายที่ตั้งไว้จนนำไปสู่สังคมสุขภาวะ

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

หลักกรอบแนวคิดการสร้างเสริมสุขภาพตามกฎบัตรออตตาวา (Ottawa Charter) ที่เน้นกระบวนการสร้างเสริมสุขภาพ ๕ ประการ คือ

๑) การกำหนดนโยบายสาธารณะเพื่อการมีสุขภาพที่ดี (Build Healthy Public Policy)

๒) การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (Create Supportive Environment)
๓) การสร้างเสริมความเข้มแข็งของชุมชน (Strengthen Community Action)

๔) การพัฒนาศักยภาพของคน (Develop Personal Skill)

๕) ปรับระบบบริการสุขภาพ (Reorient Healthy Services)

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อพัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการโครงการของภาคีเครือข่าย

 

stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 12 ต.ค. 2560 17:01 น.