คนสร้างสุข

directions_run

นำร่องฟาร์มตัวอย่างตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อสุขภาวะคนปุลากง

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ นำร่องฟาร์มตัวอย่างตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อสุขภาวะคนปุลากง
ภายใต้โครงการ ขับเคลื่อนการมีส่วนร่วมประชาภาคสังคม ในการแก้ไขปัญหาและพัฒนาจังหวัดชายแดนใต้
ภายใต้องค์กร องค์กร???
รหัสโครงการ
วันที่อนุมัติ 17 กันยายน 2560
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 15 กันยายน 2560 - 29 ธันวาคม 2560
งบประมาณ 250,000.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ สภาองค์กรชุมชนต.ปุลากง
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายสมาน กาแลซา
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ 27ม.1ต.ปุลากงอ.ยะหริ่งจ.ปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 15 ก.ย. 2560 29 ธ.ค. 2560 250,000.00
รวมงบประมาณ 250,000.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

สภาองค์กรชุมชนตำบลปุลากงอำเภอยะหริ่งจังหวัดปัตตานีก่อตั้งเมื่อวันที่4สิงหาคม พ.ศ. 2553 ตาม พรบ. สภาองค์กรชุมชนพ.ศ. 2551 เนื่องจากพื้นที่ตำบลปุลากงเป็นพื้นที่ราบลุ่มเหมาะแก่การทำเกษตรแต่ประชาชนส่วนใหญ่ในพื้นที่ขาดความรู้ด้านการเกษตร ยุทธศาสตร์การเกษตร ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมฯ ที่ผ่านมาส่งผลกระทบต่อวิถีชีวิตเกษตรกรหลายด้าน เช่นไม่สามารถพึ่งพาตนเองได้ หนี้สินมากมาย ครอบครัวเป็นทุกข์ คุณภาพของดินและระบบนิเวศเสื่อมโทรม สุขภาพของผู้ผลิตและผู้บริโภคป่วยไข้ด้วยพิษภัยจากสารเคมีที่ปนเปื้อนอยู่ในกระบวนการผลิตนับวันปัญหา สุขภาพและปัญหาสิ่งแวดล้อมจะทวีความรุนแรงยิ่งขึ้น แม้ในอดีตที่ผ่านมามีหน่วยงานภาครัฐเข้ามาส่งเสริมเกษตรกรรวมทั้งให้คำแนะนำในเรื่องต่างๆแต่ก็ไม่สามารถทำให้เกษตรกรเข้าใจและตระหนักถึงปัญหาด้านการเกษตร แต่เมื่อรัฐบาลได้มีโครงการเพื่อขอรับเงินอุดหนุนจากแผนบูรณาการขับเคลื่อนการแก้ปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ ได้เปิดโอกาสให้กลุ่มเกษตรกรที่มีความสนใจและพร้อมที่จะพัฒนาศักยภาพของตนเองเกิดการพัฒนาเป็นโครงการนำร่องฟาร์มตัวอย่างตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อสุขภาวะคนปุลากงเป็นโครงการริเริ่มเพื่อให้เกษตรกรตระหนักถึงภัยร้ายในระบบการผลิตที่เน้นการใช้ปุ๋ยเคมีและสารเคมีโดยให้เกษตรกรหันมาใช้ศีลธรรมในการประกอบอาชีพด้านการเกษตรเพื่อให้เกษตรกรมีจิตสำนึกตระหนักรู้ถึงมหันตภัยจากสารเคมี ให้เกษตรเกิดการรวมกลุ่มเป็นเครือข่ายเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ จนเกิดภูมิปัญญาเกิดเป็นเครือข่ายที่ต้องการขับเคลื่อนเรื่องเกษตรที่เอื้อต่อสุขภาพของตนเองผู้บริโภคและชุมชนแม้การดำเนินโครงการที่ผ่านมาจะประสบปัญหาบ้างในการขยายเครือข่ายแต่ก็เป็นโอกาสอันดีให้เกษตรกรได้มีการคิดเองทำเองเกิดเป็นกระบวนการเรียนรู้ซึ่งสามารถนำไปปรับปรุงการทำงานต่อไปในอนาคต

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 207.00 7 250,000.00
15 ก.ย. 60 - 15 ก.ค. 61 การประชุมคณะทำงานและจัดทำรายงานผลการดำเนินงาน 4 เดือนๆละครั้ง 0 50.00 50,000.00
20 ก.ย. 60 - 20 ก.ค. 61 กิจกรรมที่ 1 เวทีชี้แจงประชาสัมพันธ์โครงการ 0 0.00 41,423.00
22 ก.ย. 60 - 22 ก.ค. 61 กิจกรรมที่ 2 อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการปลูกผักและการทำปุ๋ยหมัก/ปุ๋ยชีวภาพ 0 17.00 17,600.00
5 ต.ค. 60 - 5 ก.ค. 61 กิจกรรมที่ 3 กลุ่มเป้าหมายร่วมกันทำปุ๋ยหมักและปุ๋ยชีวภาพ เพื่อใช้ในการเพาะปลูก 0 93.00 93,177.00
17 ต.ค. 60 กิจกรรมที่ 4 กลุ่มเป้าหมายร่วมกันปลูกผักในโครงการนำร่องฟาร์มตัวอย่าง 0 7.00 7,800.00
29 ธ.ค. 60 กิจกรรมที่ 5 เวทีสรุปผลการดำเนินงานโครงการและนำเสนอสู่สาธารณชน 0 40.00 40,000.00
14 ก.ค. 61 การอบรมบันทึกข้อมูล โครงการขับเคลื่อนการมีส่วนร่วมของภาคประชาสังคมในการแก้ไขปัญหาและพัฒนา จชต. 0 0.00 0.00

 

stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 9 เม.ย. 2561 17:09 น.