แบบฟอร์มการเก็บข้อมูลเพื่อการประเมินแบบมีโครงสร้าง
ชื่อโครงการ เปลี่ยนชีวิต ปรับวิถี เพื่อชีวีที่พอเพียง บ้านห้วยน้ำดำ
รหัสโครงการ 58-03929 รหัสสัญญา 58-00-2186 ระยะเวลาโครงการ 15 กันยายน 2558 - 15 ตุลาคม 2559
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ
เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้
- ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
- การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
- การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
- ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
- กระบวนการชุมชน
- มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | ||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
มี | ไม่มี | |||||||||
1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน |
|
|
|
|||||||
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่ |
|
|
|
|||||||
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่ |
|
|
|
|||||||
3. กระบวนการใหม่ |
|
|
|
|||||||
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่ |
|
|
|
|||||||
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่ | สภากาแฟห้วยน้ำดำ |
รายงานกิจกรรม ภาพกิจกรรม คำสั่งแต่งตั้งสภาฯ |
หนุนเสริมให้ผู้ใหญ่บ้านดำเนินงานในรูปแบบสภาต่อ |
|||||||
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่ | ป่าชุมชน |
ภาพกิจกรรม รายงานกิจกรรม |
ให้จัดแบ่งหน้าที่ดูแลป่าชุมชน หากิจกรรมมาทำเพิ่มเช่นการปลูกผัก เพื่อไม่ให้เป็นพื้นที่รกกลับอีก |
|||||||
7. อื่นๆ |
|
|
|
|||||||
2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ |
|
|
|
|||||||
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล |
|
|
|
|||||||
2. การบริโภค |
|
|
|
|||||||
3. การออกกำลังกาย |
|
|
|
|||||||
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่ | เกิดอาคารอเนกประสงค์ปลอดบุหรี่ |
ภาพกิจกรรม |
หาวิธีเพิ่มสถานที่ปลอดบุหรี่ในชุมชน |
|||||||
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท |
|
|
|
|||||||
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด |
|
|
|
|||||||
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง | การเรียนรู้การทำปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพ เกิดการขยายผลให้ครัวเรือนอืได้ทำไปใช้เพิ่มในชุมชน |
ภาพกิจกรรม รายงานกิจกรรม |
ควรออกแบบให้มีการทำกิจกรรมนี้ต่อเนื่องเพื่อขยายผลให้เต็มทุกครัวเรือนในชุมชน |
|||||||
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน | เกิดการจัดระบบระเบียบเก็ยของเหลือใช้ในครัวเรือนเพื่อเตรียมมาขายขยะ ทำให้ครัวเรือนสะอาด สวยงาม |
รายงานกิจกรรม |
ให้ขยายผลนำครัวเรือนที่ยังไม่ได้ทำไปเรียนรู้จากครัวเรือนที่ทำได้ดี |
|||||||
9. อื่นๆ |
|
|
|
|||||||
3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ) |
|
|
|
|||||||
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ |
|
|
|
|||||||
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา |
|
|
|
|||||||
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้ | การสร้างตลาดนัดสีเขียว โดยมีการรวบรวมผักจากครัวเรือนไปจำหน่ายตามที่ต่างๆ เช่น ตลาดสด และเวทีการรับเบี้ยประชุม |
ภาพกิจกรรม รายงานกิจกรรม |
หนุนเสริมให้ดำเนินกิจกรรมต่อ |
|||||||
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ |
|
|
|
|||||||
5. อื่นๆ |
|
|
|
|||||||
4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ |
|
|
|
|||||||
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน |
|
|
|
|||||||
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน |
|
|
|
|||||||
3. มีธรรมนูญของชุมชน |
|
|
|
|||||||
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ |
|
|
|
|||||||
5. เกิดกระบวนการชุมชน |
|
|
|
|||||||
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน) | มีการดึงความร่วมมือจากอำเภอควนกาหลงในการปรับพื้นที่ก่อนปลูกป่าชุมชน |
ภาพกิจกรรม รายงานกิจกรรม |
ชื่นชมในความสามารถในการดึงความร่วมมือ |
|||||||
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน) |
|
|
|
|||||||
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน |
|
|
|
|||||||
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง |
|
|
|
|||||||
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน |
|
|
|
|||||||
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ |
|
|
|
|||||||
7. อื่นๆ |
|
|
|
|||||||
6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ |
|
|
|
|||||||
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน |
|
|
|
|||||||
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล |
|
|
|
|||||||
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง |
|
|
|
|||||||
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร |
|
|
|
|||||||
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา |
|
|
|
|||||||
6. อื่นๆ |
|
|
|
|||||||
7. บทคัดย่อ |
|
|
|
|||||||
1. บทคัดย่อ | บ้านห้วยน้ำดำเป็นชุมชนชนบท มีไทยพุทธ ไทยมุสลิมอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข ทำงานร่วมกันเป็นอย่างดี การวิเคราะห์ชุมชนเมื่อได้รับทุนจากสสส.ชุมชนมีความเห็นตรงกันว่ามีปัญหาทางเศรษฐกิจปากท้อง เนื่องจากกระทบกับครัวเรือนส่วนใหญ่ มีการตระหนักถึงปัญหามากและสามารถแก้ได้ง่าย ที่มาของปัญหาเนื่องมาจากปัจจุบันมีราคาผลผลิตตกต่ำ ยาง ปาล์มน้ำมัน ผลไม้ ขายไม่ได้ราคา แต่สินค้าที่ใช้ในครัวเรือนมีราคาสูงขึ้น อยากมีรถยนต์ใช้เพื่อความสะดวก บางครัวเรือนประสบปัญหาหนี้สินจนต้องขาย จำนองที่ดินทำกิน ประกอบกับคนมีนิสัยใช้จ่ายฟุ่มเฟือย ไม่รู้จักประหยัดและออม ไม่รู้จักใช้สิ่งที่มีรอบตัวให้เกิดประโยชน์ หรือรายได้ และขาดการรวมตัวกันเพื่อแก้ปัญหานี้มาก่อน จึงมีความเห็นตรงกันว่าจะน้อมนำหลักเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับเปลี่ยนวิธีการดำเนินชีวิตพร้อมๆกันทั้งหมู่บ้าน จะทำให้คนห้วยน้ำดำมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น กิจกรรมหลักที่จัดทำได้แก่ สร้างกลไกสภาผู้นำชุมชนเพื่อการดำเนินงานโครงการ การเก็บข้อมูลสถานการณ์ด้านเศรษฐกิจเพื่อทำแผนชุมชน ชวนการหาวิธีการลดรายจ่ายค่าไฟฟ้า เพิ่มรายได้จากการขายขยะ จัดตลาดนัดสีเขียวเพื่อรวมรวมผลผลิตในชุมชนไปจำหน่าย ฝึกเยาวชนแสดงลิเกฮูลูเพื่อสืบทอดวัฒนธรรมท้องถิ่น และการฟื้นฟูที่รักร้างสาธารณให้เป็นป่าชุมชน ผลการดำเนินงานครบถ้วนทุกกิจกรรม ทำให้เกิดผลลัพธ์ที่ดีแก่ชุมชน ได้แก่ 1) เกิดกลไลการทำงานขับเคลื่อนงานของหมู่บ้าน คือทีมสภาฯควบคุมกำกับในภาพรวม 2)เกิดกลไกขับเคลื่อนรายประเด็น ได้แก่ การจัดการขยะ เกษตรอินทรีย์ การลดรายจ่ายเพิ่มรายได้ และการเรียนรู้ลิเกฮูลูของเยาวชน 3) ครัวเรือนมีรายได้เพิ่ม ลดรายจ่ายลง 4) เกิดบรรยากาศการมีส่วนร่วมที่ดีใชุมชน 5) เป็นที่ยอมรับของภาครัฐ(นายอำเภอ)ที่ไปเสนอขอปลูกป่าชุมชน |