ระยะเวลา | เป้าหมาย/วิธีการ | ผลการดำเนินงาน | ปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข | |||
---|---|---|---|---|---|---|
ตามแผน | ปฏิบัติจริง | ตามแผน | ปฏิบัติจริง | ตามแผน | ปฏิบัติจริง | |
1. ประชุมปฐมนิเทศโครงการปี 2558กิจกรรมหลัก : การประชุมร่วมกับ สสส. สจรส.ม.อ. และพี่เลี้ยงผู้ติดตาม |
||||||
จันทร์ 5 ต.ค. 58 - อังคาร 6 ต.ค. 58 | จันทร์ 5 ต.ค. 58 |
|
|
|
- ทุกกิจกรรมจะต้องมีการบันทึกรายละเอียดกิจกรรมและรายละเอียดทางการเงิน ในเว็ปไซต์ www.happynetwork.org
- การรายงานผลการจัดกิจกรรม และรายจ่ายในกิจกรรมและการจัดทำรายงาน |
|
2. ทำป้ายสัญลักษณ์เขตปลอดบุหรี่กิจกรรมหลัก : ทำป้ายสัญลักษณ์เขตปลอดบุหรี่ ถ่ายภาพกิจกรรม และจัดทำรายงาน |
||||||
จันทร์ 5 ต.ค. 58 | จันทร์ 5 ต.ค. 58 | ทำป้ายสัญลักษณ์ปลอดบุหรี่เพื่อประชาสัมพันธ์โครงการและสร้างความเข้าใจโครงการร่วมกัน |
ดำเนินการจัดทำป้ายและเตรียมข้อมูลเพื่อทำสื่อประชาสัมพันธ์โครงการ |
นายนที หลังเกต ประธานโครงการ นางสาวฝาตีม๊ะ ปะดุกา เหรัญญิก |
จัดทำป้ายสัญลักษณ์ปลอดบุหรี่และเตรียมจัดทำรายงาน |
- |
3. ปฐมนิเทศน์โครงการ ปี 58กิจกรรมหลัก : สร้างทีมงานสภาชุมชน |
||||||
จันทร์ 5 ต.ค. 58 - อังคาร 6 ต.ค. 58 | จันทร์ 5 ต.ค. 58 |
|
• ทราบแนวทางในการจัดทำรายงานผล และรายงานการเงิน โดยการทำรายงานการเงินแยกรายกิจกรรม/ครั้ง ดังนี้ -ใบลงทะเบียนต้องมีรายชื่อผู้ร่วมกิจกรรม • บันทึกการประชุม วาระการประชุม เอกสารประกอบการประชุมพร้อมภาพถ่ายกิจกรรม • กรณีมีค่าอาหาร ต้องมีหลักฐานทางการเงิน ได้แก่ใบสำคัญรับเงินหรือใบบิลเงินสด (ถ้าเกิน 5000 บาท ต้องแนบสำเนาบัตรประชาชนทุกครั้ง) • กรณีจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ (ค่าวัสดุ คือ ค่าใช้จ่ายเพื่อวัสดุสิ้นเปลืองในการทำกิจกรรม ได้แก่ วัสดุเครื่องเขียน วัสดุสำนักงาน วัสดุโฆษณาและเผยแพร่) ต้องมีหลักฐานทางการเงิน ได้แก่ใบสำคัญรับเงิน/บิลเงินสด โดยออกจากร้านมีชื่อที่อยู่ของร้านชัดเจน มีเลขกำกับภาษี/เลขบัตรประชาชน ของเจ้าของร้าน บิลออกในนามโครงการของพื้นที่ตนเอง • ค่าใช้สอย ได้แก่ ค่าพาหนะ ค่าที่พัก ค่าถ่ายเอกสาร ค่าอาหารและเครื่องดื่ม -ค่าตอบแทน ได้แก่ ค่าตอบแทนวิทยากร กรณีเป็นรายชั่วโมง ต้องมีความรู้ความชำนาญ กรณีเป็นปราญชชาวบ้าน หรือ เจ้าหน้าที่ รพ.สต. คิดเป็นรายชั่วโมง 600 บาท,กรณีเป็นคนต่างพื้นที่ สามารถเบิกได้ 1000 บาท/วัน • ใบสำคัญรับเงินจะต้องไม่มีรอยลบ รอยขูดหรือรอยขีดเขียน **ห้ามใช้ใบส่งของแทนบิลเงินสดหรือใบสำคัญรับเงิน |
นางธิดา เหมือนพะวงศ์ |
ดังนี้ -ใบลงทะเบียนต้องมีรายชื่อผู้ร่วมกิจกรรม o บันทึกการประชุม วาระการประชุม เอกสารประกอบการประชุมพร้อมภาพถ่ายกิจกรรม o กรณีมีค่าอาหาร ต้องมีหลักฐานทางการเงิน ได้แก่ใบสำคัญรับเงินหรือใบบิลเงินสด (ถ้าเกิน 5000 บาท ต้องแนบสำเนาบัตรประชาชนทุกครั้ง) o กรณีจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ (ค่าวัสดุ คือ ค่าใช้จ่ายเพื่อวัสดุสิ้นเปลืองในการทำกิจกรรม ได้แก่ วัสดุเครื่องเขียน วัสดุสำนักงาน วัสดุโฆษณาและเผยแพร่) ต้องมีหลักฐานทางการเงิน ได้แก่ใบสำคัญรับเงิน/บิลเงินสด โดยออกจากร้านมีชื่อที่อยู่ของร้านชัดเจน มีเลขกำกับภาษี/เลขบัตรประชาชน ของเจ้าของร้าน บิลออกในนามโครงการของพื้นที่ตนเอง o ค่าใช้สอย ได้แก่ ค่าพาหนะ ค่าที่พัก ค่าถ่ายเอกสาร ค่าอาหารและเครื่องดื่ม o ค่าตอบแทน ได้แก่ ค่าตอบแทนวิทยากร กรณีเป็นรายชั่วโมง ต้องมีความรู้ความชำนาญ กรณีเป็นปราญชชาวบ้าน หรือ เจ้าหน้าที่ รพ.สต. คิดเป็นรายชั่วโมง 600 บาท,กรณีเป็นคนต่างพื้นที่ สามารถเบิกได้ 1000 บาท/วัน o ใบสำคัญรับเงินจะต้องไม่มีรอยลบ รอยขูดหรือรอยขีดเขียน **ห้ามใช้ใบส่งของแทนบิลเงินสดหรือใบสำคัญรับเงิน 2. รายชื่อผู้เข้าร่วมกิจกรรม จะต้องมีผู้เข้าร่วมกิจกรรมอย่างน้อย มากกว่า หรือเท่ากับ 5-10 % ของเป้าหมายที่วางไว้ 3. รับรู้การบริหารจัดการโครงการ (ทีมงาน/ชุมชน) และวิธีการจัดการปัญหา การทำรายงานโครงการ และ รายงานการเงิน การป้อนข้อมูลรายละเอียดโครงการในเว็บไซต์ - ทุกกิจกรรมจะต้องมีการบันทึกรายละเอียดกิจกรรมและรายละเอียดทางการเงิน ในเว็ปไซต์ www.happynetwork.org 1. สามารถรับรู้ถึงกระบวนการและระบบการติดตามประเมินผล เพื่อการหนุนเสริมโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่พื้นที่ภาคใต้ ทบทวนและออกแบบเชิงระบบของโครงการ 2. การวางแผนการดำเนินงาน และการป้อนแผนการดำเนินงานในปฏิทินโครงการ - การรายงานผลการจัดกิจกรรม และรายจ่ายในกิจกรรมและการจัดทำรายงาน |
- |
4. จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์สสส.กิจกรรมหลัก : เปิดตัวโครงการและประชาสัมพันธ์สสส. |
||||||
อังคาร 6 ต.ค. 58 | อังคาร 6 ต.ค. 58 |
|
|
ทีมประสานงานอสม. ตัวแทนครัวเรือน 141 ครัวเรือน รพ.สต.ควนโดน อบต. กศน. พัฒนาชุมชน |
ชุมชนเกิดความรู้ความเข้าใจโครงการและซักถามที่มาของโครงการจากพี่เลี้ยง แสดงให้เห็นถึงความสนใจและเห็นความสำคัญของโครงการนี้ได้เป็นอย่างดีและเห็นความสำคัญของการรักษาสุขภาพตัวเองพร้อมทั้งเรียนรู้หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบเพื่อนำมาปรับใช้กับชุมชนต่อไป พร้อมกันนั้นยังช่วยให้มีพื้นที่ปลอดบุหรี่เพิ่มขึ้น เพื่อลดปัญหาการสูบบุหรี่ในชุมชน |
- |
5. สร้างทีมงานสภาชุมชนกิจกรรมหลัก : สร้างทีมงานสภาชุมชน |
||||||
อาทิตย์ 18 ต.ค. 58 - จันทร์ 19 ต.ค. 58 | อาทิตย์ 18 ต.ค. 58 |
|
|
คณะกรรมการหมู่บ้าน กลุ่มเยาวชน อสม. ผู้มีจิตอาสา |
ทีมคณะกรรมการหมู่บ้านและคัดเลือกแบบไม่เป็นทางการที่มีความหลากหลายของกลุ่ม มีทีมโครงการ กลุ่มเยาวชนอสม. และผู้มีจิตอาสาทำงานเพื่อชุมชน จำนวน 30 คน และประสานตัวบุคคลด้วยวาจา เข้าร่วมเป็นทีมก่อนเบื้องต้น และทำคำสั่งแต่งตั้งโดยท่านผู้ใหญ่บ้านและการมอบหมายความรับผิดชอบอย่างชัดเจน จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ จำนวน 2 วัน เรื่องการกำหนดบทบาทหน้าที่ของสภาผู้นำชุมชน หลักการเศรษฐกิจพอเพียงกำหนดบทบาทหน้าที่ ที่ชัดเจนและความรับผิดชอบในแต่ละด้านเพื่อการขับเคลื่อนงานในชุมชนพร้อมทั้งทบทวนทรัพยากรเพื่อการระดมทุนและการเชือมโยงการทำงานร่วมกับภาคีเครือข่าย ร่วมศึกษาดูงาน พื้นที่ภายในอำเภอ คือ หมู่ที่ 4บ้านกลาง ตำบลควนสตอ อำเภอควนโดน เพื่อเสริมพลัง ไอเดีย และเรียนรู้รูปแบบการทำงาน |
- |
6. เปิดตัวโครงการและประชาสัมพันธ์สสส.กิจกรรมหลัก : เปิดตัวโครงการและประชาสัมพันธ์สสส. |
||||||
จันทร์ 9 พ.ย. 58 | จันทร์ 9 พ.ย. 58 |
|
|
อสม. ตัวแทนครัวเรือน ภาคีที่เกี่ยวข้อง อาทิ อบต.ควนโดน รพ.สต.ควนโดน กศน. พัฒนาชุมชน เกษตรตำบล |
|
- |
7. เปิดตัวโครงการกิจกรรมหลัก : เปิดตัวโครงการและประชาสัมพันธ์สสส. |
||||||
จันทร์ 9 พ.ย. 58 | จันทร์ 9 พ.ย. 58 |
|
|
อสม. ตัวแทนครัวเรือน ภาคีที่เกี่ยวข้อง อาทิ อบต.ควนโดน รพ.สต.ควนโดน กศน. พัฒนาชุมชน เกษตรตำบล บัณฑิตอาสา |
|
- |
8. ศึกษาข้อมูลพื้นฐาน ออกแบบเครื่องมือกิจกรรมหลัก : ศึกษาข้อมูลพื้นฐานหมู่บ้าน ออกแบบเครื่องมือ |
||||||
ศุกร์ 27 พ.ย. 58 - อาทิตย์ 29 พ.ย. 58 | ศุกร์ 20 พ.ย. 58 |
วันที่1 เรื่องหลักการเศรษฐกิจพอเพียงและ การวิเคราะห์ชุมชน อดีต สภาพความเป็นจริง ณ ปัจจุบัน และความคาดหวังในอนาคต วันที่2 ทำความเข้าใจกับทีมเยาวชนและการพัฒนาออกแบบเครื่องมือในการเก็บข้อมูลที่ตรงกับสภาพความเป็นชุมชนและทบทวนให้เป็นปัจจุบันโดยจัดเก็บ ข้อมูล ด้านเศรษฐกิจรายรับรายจ่าย หนี้ การดำรงชีวิตด้านสถานะสุขภาพและด้านสิ่งแวดล้อมในชุมชน วันที่3 พัฒนาเครื่องมือ/บัญชีครัวเรือน และทดลองฝึกปฏิบัติการเก็บข้อมูล 4. จัดทำเสื้อทีม เยาวชนนักจัดเก็บข้อมูล เพื่อการทำงานเป็นทีม เชิงสัญลักษณ์พร้อมประชาสัมพันธ์ สสส. 5. ประเมินผลการทำงาน |
|
เยาวชนที่มีความสนใจ อสม. บัณฑิตอาสา |
|
- |
9. การทำรายงานและการเงินกิจกรรมหลัก : การประชุมร่วมกับ สสส. สจรส.ม.อ. และพี่เลี้ยงผู้ติดตาม |
||||||
ศุกร์ 4 ธ.ค. 58 | ศุกร์ 4 ธ.ค. 58 |
|
เข้าร่วมรับฟังบรรยายการคีย์ระบบติดตามและการเงิน เป็นขั้นตอนตั้งแต่ติดตามกิจกรรมที่บันทึกไว้ในปฏิทินที่ดำเนินการไว้ก่อนแล้ว ทำการบันทึกรายละเอียดกิจกรรมให้ครบถ้วน เพื่อให้ระบบบันทึกการทำรายงานเสร็จสมบูรณ์ |
นายนที หลังเกต ประธานโครงการ นางสาวเจนวลี ปะดุกา บันทึกข้อมูล |
ผู้เข้าร่วมกิจกรรมวันนี้ จำนวน 3 คน ทั้งประธานโครงการ การเงินและบันทึกข้อมูลเพื่อมารับรู้การทำงานร่วมกันและเข้าใจการทำงานในระบบผ่านเว็ปและติดตามการดำเนินโครงการให้เสร็จสมบูรณ์พร้อมทั้งเป็นไปในรูปแบบเดียวกัน |
- |
10. กิจกรรมการเขียนรายงานการเงินกิจกรรมหลัก : การประชุมร่วมกับ สสส. สจรส.ม.อ. และพี่เลี้ยงผู้ติดตาม |
||||||
ศุกร์ 4 ธ.ค. 58 | ศุกร์ 4 ธ.ค. 58 |
|
|
พีเลี้ยงโครงการ |
|
- |
11. ลงพื้นที่จัดเก็บข้อมูลกิจกรรมหลัก : กิจกรรมจัดเก็บข้อมูลในชุมชน |
||||||
ศุกร์ 18 ธ.ค. 58 - อังคาร 22 ธ.ค. 58 | ศุกร์ 18 ธ.ค. 58 |
|
|
เยาวชนที่สนใจและอสม. บัณฑิตอาสา |
|
- |
12. นำข้อมูลมาวิเคราะห์กิจกรรมหลัก : กิจกรรมการวิเคราะห์ข้อมูล |
||||||
เสาร์ 2 ม.ค. 59 | เสาร์ 16 ม.ค. 59 |
|
|
สภาผู้นำ ทีมเยาวชน อสม. บัณฑิตอาสา |
ข้อมูลที่ผ่านการวิเคราะห์ ดังนี้ ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป 1.1 ของครัวเรือนที่ทำแบบสอบถาม 141 ครัวเรือน 1.2 สมาชิกในครัวเรือน 635 คน ชาย 343 หญิง 292 คน 1.3 อาชีพหลักของครัวเรือน
-รับจ้าง 36 ครัวเรือน 1.4อาชีพรองของครัวเรือน
-ค้าขาย 20 ครัวเรือน 1.5 ลักษณะบ้าน
-ที่อยู่อาศัย 137 ครัวเรือน 1.6 รายได้ของครอบครัวต่อเดือน ตอนที่ 2ข้อมูลพื้นฐานด้านเศรษฐกิจพอเพียง 2.1 หลักการใช้ชีวิตตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง -ใช้จ่ายเฉพาะสิ่งที่จำเป็น -อยู่อย่างพอประมาณ -พึ่งพาตนเอง -ปลูกผักกินเอง -เก็บเงินใช้ยามจำเป็น 2.2 การปลูกผักปลอกสารพิษ
ปลูก 118 ครัวเรือนไม่ปลูก 23 ครัวเรือน 2.3 การปลูกสมุนไพร
ปลูก 128 ครัวเรือนไม่ปลูก 13 ครัวเรือน 2.4 การกำจัดศัตรูพืช
-น้ำหมักสมุนไพร 52 ครัวเรือน 2.5 วิธีการกำจัดวัชพืช
-ตัด/ถาง 118 ครัวเรือน 2.6 ผลิตของใช้ที่จำเป็น
-ทำเอง 25 ครัวเรือน 2.7 การจัดทำบัญชีครัวเรือน 2.8 รายรับรายจ่ายมีความสมดุลหรือเพียงพอหรือไม่
-เพียงพอไม่มีหนี้สิน 67 ครัวเรือน 2.9หนี้สินในระบบ 2.10 หนี้สินนอกระบบ 2.11 สาเหตุการมีภาระหนี้สิน
-ค่าเล่าเรียนบุตร 30 ครัวเรือน 2.12 ลักษณะของการเปลี่ยนแปลงของภาระหนี้สิน
-ลดลงเรื่อยๆ 35 ครัวเรือน 2.13 เริ่มลดค่าใช้จ่ายประเภทใดเป็นอันดับแรก -อาหารจุกจิก -เครื่องใช้ที่ไม่จำเป็น 2.14 วิธีการแก้ไขปัญหารายได้ไม่เพียงพอ -หารายได้เสริม -ปลูกผักสวนครัว -กินใช้อย่างประหยัด -ต้องขยัน 2.15 กรณีที่ไม่มีหนี้ -รู้จักออม -ใช้จ่ายอย่างเพียงพอ อยู่กินอย่างประหยัด ตอนที่ 3 ข้อมูลด้านพฤติกรรมสุขภาพ 3.1กินอาหารบรรจุสำเร็จมี อย.
-ทุกครั้ง 88ครัวเรือน 3.2กินอาหารสุกๆ ดิบๆ 3.3 ผักต้องเป็นผักปลอดสารพิษ 3.4 ล้างมือก่อนรับประทานอาหาร 3.5 ใช้ช้อนกลาง 3.6 รับประทานอาหารครบ 5 หมู่ใน 1 วัน
-ทุกครั้ง 57ครัวเรือน 3.7กินอาหารรสจัด
-ทุกครั้ง 18 ครัวเรือน 3.8 รับประทานผัก ผลไม้ 1 จาน/วัน
-ทุกครั้ง 69 ครัวเรือน 3.9 ใช้สารปรุงแต่งอาหาร 3.10 ดื่มน้ำอย่างน้อยวันละ 8 แก้ว
-ทุกครั้ง 98 ครัวเรือน 3.11 ดื่มน้ำอัดลม/น้ำหวานเป็นประจำ
-ทุกครั้ง 20 ครัวเรือน 3.12 เมื่อมีอาการเจ็บป่วย ซื่อยาชุดมารับประทานเอง
-ทุกครั้ง 20 ครัวเรือน 3.13 ใช้ยาสามัญ 3.14 ใช้สมุนไพร
-ทุกครั้ง 56 ครัวเรือน 3.15ปล่อยให้หายเอง 3.16 มีการออกกำลังกาย
-ได้ออกกำลังกาย 138 ครัวเรือน 3.17 ภาวะน้ำหนักเกิน
-มี 50 ครัวเรือน 3.18 ภาวะการณ์เจ็บป่วยด้วยโรคประจำตัว
-มี 51 ครัวเรือน 3.19 ตรวจสุขภาพประจำปี
-มี 87 ครัวเรือน 3.20 การสูบบุหรี่
-มี 70 ครัวเรือน 1.ความต้องการของคนในชุมชนในการแก้ปัญหา 1.1 ข้อเสนอแนะระดับครัวเรือน -ปรับปรุงความเป็นอยู่ -ปรึกษาการือกัน -ลดค่าใช้จ่าย -ทำบัญชีครัวเรือน -ส่งเสริมอาชีพ 1.2 ระดับครัวเรือน -อยากให้มีไฟฟ้าทางเข้าหมู่บ้าน -ทำถนนใหม่เพื่อการสัญจร -ลดช่องว่างระหว่างเด็กและผู้ใหญ่ 2.ข้อเสนอแนะในการทำโครงการ -ทำต่อเนื่อง -ทำแล้วให้เกิดผล 3.หิอจกรรมครัวเรือนต้นแบบตามแนวเศรฐกิจพอเพียง
-สนใจเข้าร่วมโครงการ 133ครัวเรือน |
- |
13. จัดทำเวทีคืนข้อมูลสู่ชุมชนกิจกรรมหลัก : จัดทำเวทีชุมชน/คืนข้อมูล |
||||||
เสาร์ 30 ม.ค. 59 | เสาร์ 30 ม.ค. 59 |
|
|
สภาผู้นำ อสม. อบต.ประชาชนในหมู่บ้าน |
นายอาหมาดซอและ หมันเล๊ะ ผู้ใหญ่บ้านและตัวแทนอสม. ประกาศหลังละหมาดวันศุกร์ให้ทุกครัวเรือนเข้าร่วมเวทีคืนข้อมูลสู่ชุมชน และให้ตัวแทนอสม.เดินบอกตามบ้านอีกครั้งก่อนวันทำเวทีคืนข้อมูลเพื่อป้องกันความผิดพลาดในการประสานงาน รวมทั้งบอกสำหรับครัวเรือนที่มีหญิงม่ายและคนชราด้วย พร้อมกันนั้นได้เชิญตัวแทนจากหน่วยงานต่างๆเข้าร่วมรับฟังด้วย โดยประธานโครงการกล่าวต้อนรับและชี้แจงกิจกรรมวันนี้ และวัตถุประสงค์ หลังจากนั้น นางสาวเจนวลี ปะดุกา ผู้บันทึกข้อมูลและเลขาฯทำหน้าที่นำเสนอข้อมูลที่ได้รับจากชุมชน ที่ผ่านการวิเคราะห์แล้วนำเสนอเพื่อคืนข้อมูลสู่ชุมชน หลังจากนั้นพี่เลี้ยงโครงการ คุณธิดา เหมือนพะวงค์ ได้พบปะพูดคุยกับพี่น้อง และกิจกรรมรำไม้กระบองเพื่อเป็นทางเลือกหนึ่งสำหรับการออกกำลังกายในชุมชนโดยสามารถทำได้ทุกเพศทุกวัยรวมถึงผู้สูงอายุที่สนใจด้วย ช่วยคลายกล้ามเนื้อได้เป็นอย่างดี และให้ทุกคนมีส่วนร่วมเสนอแนะและแจ้งข่าวสารอื่นๆต่อไป |
- |
14. พบพี่เลี้ยงทำรายงานการเงินโครงการ งวด 1กิจกรรมหลัก : การประชุมร่วมกับ สสส. สจรส.ม.อ. และพี่เลี้ยงผู้ติดตาม |
||||||
อังคาร 2 ก.พ. 59 | อังคาร 2 ก.พ. 59 | จัดทำรายงานตรวจผลการดำเนินงาน และเอกสารทาการเงิน |
พบพี่เลี้ยงโครงการ ตรวจสอบความเรียบร้อย ใบลงทะเบียน กำหนดการ ใบสำคัญรับเงินและ ใบจ่ายภาษี |
ผู้รัผิดชอบโครงการและคณะทำงาน |
ตรวจเอกสารการเงินโครงการงวดที่ 1 และจัดทำรายงานความก้าวหน้า |
- |
15. จัดทำแผนในการแก้ไขปัญหากิจกรรมหลัก : จัดทำแผนพัฒนาหมู่บ้าน โรดแมพเส้นทางสุขภาวะดี แนวทางวิถีพอเพียง |
||||||
พุธ 3 ก.พ. 59 - ศุกร์ 5 ก.พ. 59 | พุธ 3 ก.พ. 59 |
รวม 45คน จำนวน 3วัน |
1.ให้ทีมสภาผู้นำเสนอโรดแมพเส้นทางสุขภาวะดี วิสาหกิจชุมชนยั่งยืน ในการแก้ไขปัญหาของชุมชนโดยชุมชนจำนวน 1 แผ่น ซึ่งทุกคนให้ความร่วมมือในการคิดและวางแผนงานในอนาคตของชุมชนอย่างสนุกสนาน 2.เกิดแผนพัฒนาหมู่บ้านมีการนำสู่การปฏิบัติามแผนอย่างเป็นรูปธรรมและใช้งานได้จริงอย่างมีประสิทธิภาพ |
สภาผู้นำชุมชน ภาคีเครือข่ายจากอบต.ควนโดน กองทุนสุขภาพตำบล กศน. พัฒนาชุมชนและประชาชนในหมู่บ้าน |
ตัวแทนอสม.เดินประกาศให้ทีมสภาผู้นำเข้าร่วมจัดทำแผนหลังจากที่ได้ข้อมูลที่ผ่านการวิเคราะห์และคืนข้อมูลมาแล้ว นำมาจัดทำแผนทีละข้อดังนี้
- โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์ถนนทั้งสองข้างทาง
- โครงการตลาดน้ำคลองดุสน สรุปการจัดทำแผนพัฒนาชุมชนหมู่ที่ 7 ตำบลควนโดน ดังนี้ 1. โครงการต่อเติมอาคารเอนกประสงค์ประจำหมู่บ้าน 2. โครงการบุกเบิกถนนสายกุโบร์-ป่าโต๊ะเหรียม 3x400 เมตร 3. โครงการขยายเขตไฟฟ้าสาธารณะในหมู่บ้าน ซอยทอนเรือ ซอยต้นท้อน |
- |
16. ติดตามการดำเนินงาน กิจกรรมงวด 1กิจกรรมหลัก : สร้างทีมงานสภาชุมชน |
||||||
อาทิตย์ 7 ก.พ. 59 | อาทิตย์ 7 ก.พ. 59 | 1.ประสานพื้นที่/ผู้รับผิดชอบโครงการในการนัดหมายลงพื้นที่เยี่ยมเยียนการดำเนินงานแบบกัลยาณมิตร 2.พื้นที่นัดหมายจัดทำแผนร่วมกันในการติดตาม 3.ผู้รับผิดชอบโครงการ/เลขานุการ ชี้แจงกิจกรรมและผลการดำเนินงานที่ผ่านมาในงวด ที่ 1 4.คณะกรรมการหลักร่วมพูดคุย ประเมินผลการทำงาน 5.ร่วมพูดคุย สอบถาม การดำเนินงานในแต่ะกิจกรรมเพื่อประเมินเชิงคุณภาพ 6.ร่วมวิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ของงานที่ทำ ปัญหาอุปสรรค ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา 7.สอบถาม การลงรายงานผู้รับผิดชอบ ส1 ง1 และตรวจสอบเอกสารหลักฐานการเงิน 8.แนะนำการลงรายงาน เอกสารการเงิน 9.ประเมินความเสี่ยงในแต่ละด้านเพื่อหาแนวทางการแก้ไขปัญหา 10. จัดทำแผนในการดำเนินงาน |
1.ประสานพื้นที่/ผู้รับผิดชอบโครงการในการนัดหมายลงพื้นที่เยี่ยมเยียนการดำเนินงานแบบกัลยาณมิตร 2.พื้นที่นัดหมายจัดทำแผนร่วมกันในการติดตาม 3.ผู้รับผิดชอบโครงการ/เลขานุการ ชี้แจงกิจกรรมและผลการดำเนินงานที่ผ่านมาในงวด ที่ 1 4.คณะกรรมการหลักร่วมพูดคุย ประเมินผลการทำงาน 5.ร่วมพูดคุย สอบถาม การดำเนินงานในแต่ะกิจกรรมเพื่อประเมินเชิงคุณภาพ 6.ร่วมวิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ของงานที่ทำ ปัญหาอุปสรรค ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา 7.สอบถาม การลงรายงานผู้รับผิดชอบ ส1 ง1 และตรวจสอบเอกสารหลักฐานการเงิน 8.แนะนำการลงรายงาน เอกสารการเงิน 9.ประเมินความเสี่ยงในแต่ละด้านเพื่อหาแนวทางการแก้ไขปัญหา 10. จัดทำแผนในการดำเนินงาน |
ผู้รับผิดชอบโครงการ เลขานุการทีมคณะกรรมการและผู้ร่วมดำเนินงาน |
จากการติดตามการดำเนินงานใน ระยะที่ 1 ขอชื่นชมทีมงานที่มีความตั้งใจและมีความรับผิดชอบสูงในการทำงานและความมุ่งมั่นให้มีผลสัมฤทธิ์ของงานเกิดประโยชน์ต่อชุมชน โดยวัตถุประสงค์ เพื่อ1. เพื่อให้คนในชุมชนตระหนักเห็นความสำคัญต่อการ ใช้ชีวิตตามแนวทางแบบพอเพียง ลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ พึ่งพาตนเองได้ 2. เพื่อพัฒนาชุมชนสามารถบริหารจัดการสู่หมู่บ้านต้นแบบ ตามแนวทาง วิถีพอเพียง 3. ส่งเสริมการประกอบอาชีพเสริม จากภูมิปัญญาที่มีอยู่ในชุมชนสู่วิสาหกิจชุมชน 4.เพื่อมีสภาผู้นำเข้มแข็ง5. เพื่อให้คนชุมชนลดปัญหาหนี้สิน ลดรายจ่ายเพิ่มรายได้ ตามแนวทางวิถีพอเพียง6. เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบโครงการ และสนับสนุนการทำงานของโครงการ โดยในระยะที่ 1มีกลวิธี การสำคัญ:กลวิธีที่เกี่ยวข้องกับคน กลุ่มคน1. พัฒนา ฟื้นฟู การเรียนรู้หลักเศรษฐกิจพอเพียง 2. ส่งเสริมการเรียนรู้ การใช้ชีวิตแบบวิถีพอเพียง กลวิธีที่เกี่ยวข้องกับการปรับสภาพแวดล้อม-กลวิธีที่เกี่ยวข้องกับการสร้างและปรับปรุงกลไก1.. เปิดเวทีสาธารณะ ในการประชาสัมพันธ์2. พัฒนาศักยภาพทีมสภาชุมชนในการบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ โดยมีการดำเนินกืจกรรม ในระยะเวลา วันที่ 15 กันยายน2558 - 15 กุมภาพันธ์ 2559 ดังนี้ โดยจากการดำเนินงาน เกิดผลผลิต ผลลัพธ์ ดังนี้
1. มีสภาผู้นำผู้นำชุมชนจำนวน1 ชุดและมีการกำหนดบทบาทหน้าทีในการดำเนินงาน การประชุมมีผู้เข้าร่วม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 และมีการหารือปรึกษาโครงการและเรื่องอื่นๆของชุมชน ผลกระทบดังนี้เกิดการเปลี่ยนของคนและกลุ่มคนในชุมชน มีส่วนร่วมในการจัดการระบบสุขภาพในชุมชนเพิ่มมากขึ้นมีการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมในชุมชนที่เอื้อต่อชุมชนน่าอยู่มีการเปลี่ยนแปลงของกลไกในชุมชนมีคณะทำงานและกระบวนการทำงานในรูปแบบใหม่ๆ นวัตกรรม :อยู่ในระหว่างการประเมินและวิเคราะห์นวัตกรรม การลงรายงาน ง 1 ส1 ถูกต้อง |
- |
17. จัดทำรายงานปิดงวด1กิจกรรมหลัก : การประชุมร่วมกับ สสส. สจรส.ม.อ. และพี่เลี้ยงผู้ติดตาม |
||||||
ศุกร์ 12 ก.พ. 59 | ศุกร์ 12 ก.พ. 59 | เข้ารับการตรวจเอกสารการเงิน ปิดงวดโครงการ ในระยะที่ 1 ณสจรส.มอ |
เข้ารับการตรวจเอกสารการเงิน ปิดงวดโครงการ ในระยะที่ 1 ณ สจรส.มอ |
ผู้รับทุนเจ้าหน้าที่การเงินและผู้บันทึกข้อมูล |
เข้าร่วมประชุมปิดโครงการและสรุปผลการดำเนินงาน งวดที่1 ซึ่งกิจกรรมที่ดำเนินการไปแล้ว ได้แก่
|
- |
18. จัดทำสื่อเพลงพื้นบ้านและวิดีดทัศน์ชุมชนกิจกรรมหลัก : จัดทำเวทีชุมชน/คืนข้อมูล |
||||||
จันทร์ 14 มี.ค. 59 | จันทร์ 14 มี.ค. 59 | สภาผู้นำเตรียมความพร้อม ประชุม หารือ ประสานวิทยากร จัดทำแผนชุมชนประสานพี่เลี้ยงและทีมวิทยากรเพื่อเข้าร่วมกระบวนการทำแผน |
นำวีดีทัสน์และสื่อเพลงพื้นบ้านประกอบ เพื่อเป็นการสร้างความตระถหนักให้ชุมชน เกิดการเรียนรู้แลกเปลี่ยนเพื่อนำไปสู่การวางแผนปฏิบัติงาน สภาผู้นำเตรียมความพร้อม ประชุม หารือ ประสานวิทยากร จัดทำแผนชุมชนประสานพี่เลี้ยงและทีมวิทยากรเพื่อเข้าร่วมกระบวนการทำแผน |
มีสื่อเพลงพื้นบ้านที่เป็นของชุมชนเองจำนวน 1 ชุด |
นำวีดีทัสน์และสื่อเพลงพื้นบ้านประกอบ เพื่อเป็นการสร้างความตระถหนักให้ชุมชน เกิดการเรียนรู้แลกเปลี่ยนเพื่อนำไปสู่การวางแผนปฏิบัติงาน ผลสรุปที่สำคัญ
|
- |
19. สภาผู้นำชุมชน ประชุมเพื่อคลี่ผลลัพธ์โครงการกิจกรรมหลัก : สภาผู้นำชุมชน ประชุมเพื่อคลี่ผลลัพธ์โครงการ |
||||||
ศุกร์ 18 มี.ค. 59 | ศุกร์ 18 มี.ค. 59 |
|
|
คณะกรรมการ คณะทำงาน |
ผลสรุปที่สำคัญ มีบันทึกวาระการประชุม คณะทำงานเข้าร่วม ทุกคน |
- |
20. สร้างวิทยากรชุมชน จัดการเรัยนรู้ด้านการลดรายจ่ายเพิ่มรายได้และการออมกิจกรรมหลัก : สร้างวิทยากรชุมชน จัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้านการลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ และการออม |
||||||
เสาร์ 9 เม.ย. 59 - พุธ 13 เม.ย. 59 | จันทร์ 18 เม.ย. 59 |
|
1.คณะทำงานประสานงานเยาวชนให้เข้าร่วมและสร้างความเข้าใจกิจกรรม และบอกเล่าเป้าหมายและผลสัมฤทธิ์ของกิจกรรม 2.ประสานวิทยากรในชุมชน ปราชญ์ชาวบ้านที่มีความรู้ในเรื่องต่างๆ 3.สร้างวิทยากรชุมชนโดยเยาวชนที่เข้าร่วมโดยคัดเลือกจากความสนใจในกิจกรรมต่างๆของเยาวชน |
ทีมเยาวชน |
เกิดกระบวนการเรียนรู้จากชุมชนโดยใช้กระบวนการฐานการเรียนรู้จากชุมชน พร้อมเชิญวิทยาที่มีความรู้ความสามารถในด้านต่างๆ หลักสูตร 5 วัน ดังนี้
ผลสรุปที่สำคัญ
|
- |
21. พบพี่เลี้ยงกิจกรรมหลัก : การประชุมร่วมกับ สสส. สจรส.ม.อ. และพี่เลี้ยงผู้ติดตาม |
||||||
พฤหัสบดี 21 เม.ย. 59 | พฤหัสบดี 21 เม.ย. 59 | นำเอกสารการดำเนินโครงการมาปรึกษาพี่เลี้ยง |
นำเอกสารงานต่างๆที่ดำเนินการไปแล้วมาเรียบเรียงและจัดทำรายงานการเงิน |
ผู้บันทึกข้อมูลและฝ่ายการเงิน |
นำเอกสารงานต่างๆที่ดำเนินการไปแล้วมาเรียบเรียงและจัดทำรายงานการเงินเพื่อให้การดำเนินการผ่านไปได้ด้วยดี ผลสรุปที่สำคัญ นำเอกสารงานต่างๆที่ดำเนินการไปแล้วมาเรียบเรียงและจัดทำรายงานการเงิน |
- |
22. เปิดรับสมัครสมาชิกการทำบัญชีครัวเรือนกิจกรรมหลัก : จัดกิจกรรมการเรียนรู้สู่ชุมชนการทำบัญชีครัวเรือน |
||||||
ศุกร์ 6 พ.ค. 59 | ศุกร์ 6 พ.ค. 59 |
|
1.เปิดรับสมัครจากการที่อสม.เดินเคาะประตูทุกบ้าน 2.เชิญชวนจากการเข้าร่วมประชุม ประชาคมหมู่บบ้าน 3.เปิดรับสมัครโดยแบ่งงานให้คณะกรรมการช่วยกันเพื่อให้ครอบคลุมมากที่สุด |
คณะทำงาน ทีมเยาวชน |
1.มีการจับคู่บัดดี้เรียนรู้แลกเปลี่ยนการจัดทำบัญชี 2.มีการนำมาเปรียบเทียบกันทุกๆ 3 เดือน 3.มีการประเมินบัญชีครัวเรือน ที่สามารถเป็นแบบอย่างให้คนในชุมชนและมีเงินออม 4.มอบเกียรติบัตร ของที่ระลึกเพื่อเสริมพลังในเวทีชุมชน ผลสรุปที่สำคัญ ร้อยละ 80 มีการจัดทำบัญชีครัวเรือนถูกต้อง ครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการ มีการจัดทำบัญชีครัวเรือนอย่างต่อเนื่อง |
- |
23. จัดกิจกรรมการเรียนรู้สู่ชุมชนการทำบัญชีครัวเรือนกิจกรรมหลัก : จัดกิจกรรมการเรียนรู้สู่ชุมชนการทำบัญชีครัวเรือน |
||||||
เสาร์ 7 พ.ค. 59 | เสาร์ 7 พ.ค. 59 |
|
เปิดรับสมัครผู้ที่สนใจเข้าร่วมโครงการ โดยกำหนดให้ครัวเรือนที่มีรายได้น้อย จากการจัดเก็บข้อมูลครั้งก่อน แล้วมาร่วมกันทำบัญชีครัวเรือน แยกรายรับ รายจ่าย โดยมีวิทยากรเป็นเยาวชนที่ผ่านการฝึกทำบัญชีมาก่อนหน้านี้แล้ว |
คณะทำงาน สมาชิกในชุมชนที่เข้าร่วม เยาวชนนักคิด |
จับคู่บัดดี้ครัวเรือนเพื่อติดตามกสรจัดทำบัญชีครัวเรือนอย่างต่อเนื่องและมีการสรุปให้แต่ละบ้านนำมาเปรียบเทียบกันทุกๆ 3 เดือน |
- |
24. ติดตามการดำเนินงานกิจกรรม งวด 2กิจกรรมหลัก : สร้างทีมงานสภาชุมชน |
||||||
เสาร์ 7 พ.ค. 59 - อาทิตย์ 8 พ.ค. 59 | เสาร์ 7 พ.ค. 59 | 1.ประสานพื้นที่/ผู้รับผิดชอบโครงการในการนัดหมายลงพื้นที่เยี่ยมเยียนการดำเนินงานแบบกัลยาณมิตร 2.พื้นที่นัดหมายจัดทำแผนร่วมกันในการติดตาม 3.ผู้รับผิดชอบโครงการ/เลขานุการ ชี้แจงกิจกรรมในงวด ที่ 2 4. สอบถามปัญหาอุปสรรค ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา 5.สอบถาม การลงรายงานผู้รับผิดชอบและตรวจสอบเอกสารหลักฐานการเงิน 6.แนะนำการลงรายงาน เอกสารการเงิน 7.ประเมินความเสี่ยงในแต่ละด้านเพื่อหาแนวทางการแก้ไขปัญหา 8. จัดทำแผนในการดำเนินงาน |
1.ประสานพื้นที่/ผู้รับผิดชอบโครงการในการนัดหมายลงพื้นที่เยี่ยมเยียนการดำเนินงานแบบกัลยาณมิตร 2.พื้นที่นัดหมายจัดทำแผนร่วมกันในการติดตาม 3.ผู้รับผิดชอบโครงการ/เลขานุการ ชี้แจงกิจกรรมในงวด ที่ 2 4. สอบถามปัญหาอุปสรรค ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา 5.สอบถาม การลงรายงานผู้รับผิดชอบและตรวจสอบเอกสารหลักฐานการเงิน 6.แนะนำการลงรายงาน เอกสารการเงิน 7.ประเมินความเสี่ยงในแต่ละด้านเพื่อหาแนวทางการแก้ไขปัญหา 8. จัดทำแผนในการดำเนินงาน |
ผู้รับผิดชอบโครงการเลขานุการทีมคณะกรรมการและผู้ร่วมดำเนินงาน |
จากการติดตามการดำเนินงานในขอชื่นชมทีมงานที่มีความตั้งใจและมีความรับผิดชอบสูงในการทำงานและความมุ่งมั่นให้มีผลสัมฤทธิ์ของงานเกิดประโยชน์ต่อชุมชนและมีการให้ความสำคัญของผู้นำชุมชนและคณะกรรมการหมู่บ้าน ซึ่งการดำเนินกิจกรรมในโครงการ จะเป็นวาระการประชุมของหมู่บ้านร่วมด้วย เพื่อร่วมปรึกษาหารือและติดตามความก้าวหน้าของโครงการ และการทำกิจกรรมทีมงานจะมีความพร้อมเข้าร่วมและช่วยเหลือกันเป็นอย่างดีซึ่งการดำเนินงานมีวัตถุประสงค์ เพื่อ1. เพื่อให้คนในชุมชนตระหนักเห็นความสำคัญต่อการ ใช้ชีวิตตามแนวทางแบบพอเพียง ลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ พึ่งพาตนเองได้ 2. เพื่อพัฒนาชุมชนสามารถบริหารจัดการสู่หมู่บ้านต้นแบบ ตามแนวทาง วิถีพอเพียง 3. ส่งเสริมการประกอบอาชีพเสริม จากภูมิปัญญาที่มีอยู่ในชุมชนสู่วิสาหกิจชุมชน 4.เพื่อมีสภาผู้นำเข้มแข็ง5. เพื่อให้คนชุมชนลดปัญหาหนี้สิน ลดรายจ่ายเพิ่มรายได้ ตามแนวทางวิถีพอเพียง6. เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบโครงการ และสนับสนุนการทำงานของโครงการ
โดยในระยะที่ 1มีกลวิธี การสำคัญ:กลวิธีที่เกี่ยวข้องกับคน กลุ่มคน1. พัฒนา ฟื้นฟู การเรียนรู้หลักเศรษฐกิจพอเพียง 2. ส่งเสริมการเรียนรู้ การใช้ชีวิตแบบวิถีพอเพียง กลวิธีที่เกี่ยวข้องกับการปรับสภาพแวดล้อม-กลวิธีที่เกี่ยวข้องกับการสร้างและปรับปรุงกลไก1.. เปิดเวทีสาธารณะ ในการประชาสัมพันธ์2. พัฒนาศักยภาพทีมสภาชุมชนในการบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ 3.พัฒนาศูนย์เรียนรู้ชุมชนโดยมีการดำเนินกิจกอรรม ต่อจากงวด ที่ 1 ดังนี้ 1. ประชุมเพื่อคลี่ผลลัพธ์โครงการ2. สร้างวิทยากรชุมชน 3. จัดกิจกรรมการเรียนรู้สู่ชุมชนารทำบัญชีครัวเรือน4. จัดกิจกรรมการเรียนรู้สู่ชุมชนแนวทางพอเพียง. 5. จัดตั้งศูนย์เรียนรู้บูเกตยามูโมเดล ุ6. กิจกรรมถอดบทเรียน
โดยจากการดำเนินงาน เกิดผลผลิต ผลลัพธ์ ดังนี้ 1.ชมชนมีฐานข้อมูลในการจัดทำแผนพัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง ด้านรายรับ รายจ่าย หนี้สินชุมชน 2.มีทีมวิทยากรชุมชน "เยาวชนนักคิด นักพัฒนาเพื่อชุมชน"จำนวน 1 ชุด 3.ร้อยละ 80 ประชาชนในชุมชน มีความรู้ในการจัดทำบัญชีครัวเรือน
4.ร้อยละ 80 ครัวเรือนสามารถลดรายจ่าย และเพิ่มรายได้จากการเข้าร่วมทำบัญชีครัวเรือน 5.ครัวเรือนต้นแบบแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง จำนวน 50 ครัวเรือน 6. มีวิสาหกิจชุมชน จำนวน 2 วิสาหกิจ และ 7.มีศูนย์เรียนรู้ชุมชน บูเกตยามู โมเดล ผลกระทบ ดังนี้เกิดการเปลี่ยนของคนและกลุ่มคนในชุมชน มีส่วนร่วมในการจัดการระบบสุขภาพในชุมชนเพิ่มมากขึ้นมีการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมในชุมชนที่เอื้อต่อชุมชนน่าอยู่จากพื้นทีว่างเปล่ามีการจัดทำให้เกิดประโยชน์ต่อการเรียนรู้ของชุมชนโดยเป็นศูนย์เรียนเศรษฐกิจพอเพียง ที่มีการนำพืชผัก ผลไม้ ของชุมชน มารวมกัน แลกเปลี่ยนกัน และการต่อยอด ขยายพันธ์ ต้นกล้าสุขภาพ เพื่อแบ่งปันเกิดการปลูกผักเพิ่มขึ้นในระดับครัวเรือนละมีการเปลี่ยนแปลงของกลไกในชุมชนมีคณะทำงานและกระบวนการทำงานในรูปแบบใหม่ๆ จากความตั้งใจของคณะทำงานและงานที่ออกมามีคุณภาพและประสิทธิภาพ เป็นไปตามแผนจึงดำเนินการต่อให้เสร็จสิ้นโครงการและให้ติดตามต่อเนื่องเพื่อการขยาผลต่อไป |
- |
25. พบพี่เลี้ยงกิจกรรมหลัก : การประชุมร่วมกับ สสส. สจรส.ม.อ. และพี่เลี้ยงผู้ติดตาม |
||||||
อังคาร 7 มิ.ย. 59 | อังคาร 7 มิ.ย. 59 | พบพี่เลี้ยงปรึกษาการดำเนินโครงการประชุมเพื่อสรุปการทำกิจกรรม/แผนการเงิน เพื่อจะนำไปเป็นข้อมูลเพื่อต่อยอดโครงการในปีต่อไป โดยมีพี่เลี้ยงให้คำแนะนำ |
คณะทำงานโครงการ สสส. จากการทำงานร่วมกัน ปัญหา อุปสรรคในการทำงาน การทำงานร่วมกันของทีมงาน ความร่วมมือของชาวบ้านในชุมชนซึ่งถือว่าการให้ความร่วมมือของชาวบ้านอยู่ในระดับดีมาก เพราะทุกครั้งที่มีกิจกรรมจะได้รับความสนใจในการเข้าร่วม และจากการทำกิจกรรมครั้งที่ผ่านมา ได้เปิดโอกาสในการซักถามถึงความต้องการต่อโครงการในปีต่อไป ได้รับการตอบรับที่ดี |
ผู้บันทึกข้อมูลและฝ่ายการเงิน |
คณะทำงานโครงการ สสส. จากการทำงานร่วมกัน ปัญหา อุปสรรคในการทำงาน การทำงานร่วมกันของทีมงาน ความร่วมมือของชาวบ้านในชุมชนซึ่งถือว่าการให้ความร่วมมือของชาวบ้านอยู่ในระดับดีมาก เพราะทุกครั้งที่มีกิจกรรมจะได้รับความสนใจในการเข้าร่วม และจากการทำกิจกรรมครั้งที่ผ่านมา ได้เปิดโอกาสในการซักถามถึงความต้องการต่อโครงการในปีต่อไป ได้รับการตอบรับที่ดี |
- |
26. จัดกิจกรรมการเรียนรู้สู่ชุมชนแนวทางวิถีพอเพียง การจัดทำวัสดุ ใช้เพื่อการอุปโภค บริโภค ลดรายจ่าย เพิ่มรายได้กิจกรรมหลัก : จัดกิจกรรมการเรียนรู้สู่ชุมชนแนวทางวิถีพอเพียง การจัดทำวัสดุ ใช้เพื่อการอุปโภค บริโภค ลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ |
||||||
เสาร์ 18 มิ.ย. 59 - พุธ 22 มิ.ย. 59 | เสาร์ 18 มิ.ย. 59 |
|
การเชิญกลุ่มเป้าหมายโดยการให้ทีมคณะทำงาน อสม.ปั่นจักรยานบอกตามบ้าน ให้มาเข้าร่วมอย่างพร้อมเพรียง 1. คณะทำงานร่วม จัดตั้งกลุ่มร่วมเรียนรู้ จำนวน 70 ครัวเรือนต้นแบบ การจัดทำวัสดุ อุปกรณ์การใช้ในครัวเรือน 2. จัดทำฐาน การเรียนรู้ แบ่งกลุ่มสมาชิก เรียนรู้และฝึกปฏิบัติตามฐานใชุมชน
|
คณะทำงาน ครัวเรือนต้นแบบ |
เกิดกระบวนการเรียนรู้ ในชุมชนเพื่อสานต่อเรื่อง
-น้ำยาล้างจานน้ำยาเอนกประสงค์
- การปลูกผักเกษตรอินทรีย์
- การทำปุ๋ยหมักชีวภาพ
- การเพาะเห็ดและการทำหัวเชื้อ |
- |
27. จับบ้านเกลอเพื่อแบ่งปันกิจกรรมหลัก : จัดกิจกรรมการเรียนรู้สู่ชุมชนแนวทางวิถีพอเพียง การจัดทำวัสดุ ใช้เพื่อการอุปโภค บริโภค ลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ |
||||||
อาทิตย์ 19 มิ.ย. 59 | อาทิตย์ 19 มิ.ย. 59 | จับบ้านเกลอ เพื่อเป็นระะบบการแบ่งปัน เอื้อาทร และการติดตามความรู้สู่การปฏิบัติ คณะทำงาน ติดตาม ประเมินผลบัญชีครัวเรือน เปรียบเทียบก่อน-หลัง เข้าร่วมโครงการ เพื่อหาข้อสรุป รายจ่ายลด รายได้เพิ่มขึ้นของครัวเรือน |
คณะทำงานมาปรึกษาและคัดเลือกครัวเรือนต้นแบบที่ผ่านการคัดเลือกมีดังนี้ 1.ครอบครัวปลอดยาเสพติด 2.มีรายได้น้อย 3.มีส่วนร่วมกับกิจกรรมในชุมชน และการจับคู่ให้อยู่บริเวณใกล้เคียงกันเพื่อปรึกษาหารือร่ววมกันในการทำบัญชีครัวเรือนด้วย |
ครัวเรือนต้นแบบที่ทำกิจกรรมร่วมกับสังคมบ่อยครั้งและมีส่วนร่วมและกระตือรือร้นในการพัฒนาหมู่บ้าน |
คณะทำงานมาปรึกษาและคัดเลือกครัวเรือนต้นแบบที่ผ่านการคัดเลือกมี ดังนี้
ผลสรุปที่สำคัญ 1. ครัวเรือนต้นแบบแนวทางเศรษฐกิพอเพียง จำนวน 70 ครัวเรือน 2. ครัวเรือนมีการนำไปใช้ ทำให้ลดรายจ่ายในครัวเรือน ลดลงร้อยละ 10 3. ร้อยละ 50 ครัวเรือนที่เข้าร่วมกิจกรรมมีการประกอบอาชีพเสริม มีรายได้เพิ่มขึ้น |
- |
28. ถอดบทเรียน ทีมสื่อ สจรส.มอกิจกรรมหลัก : การประชุมร่วมกับ สสส. สจรส.ม.อ. และพี่เลี้ยงผู้ติดตาม |
||||||
พุธ 29 มิ.ย. 59 | พุธ 29 มิ.ย. 59 | มาเล่าการดำเนินโครงการฯตั้งแต่เริ่มต้นและทำไมถึงทำโครงการนี้และผลลัพธ์ของโครงการฯเป็นที่น่าพอใจมากน้อยเพียงใด |
1.ประธานโครงการฯมอบหมายให้ฝ่ายการเงินและเลขาโครงการเข้าร่วมให้ข้อมูลโครงการฯและบอกกล่าวถึงที่มาของโครงการและเมื่อทำโครงการเสร็จแล้วจะเห็นเป็นรูปธรรมโดยมีศูนย์เรียนรู้บูเกตยามูโมเดล เพื่อเป็นศูนย์เรียนรู้ให้เยาวชนในหมู่บ้านที่สนใจมาเรียนรู้และทำให้เยาวชนในหมู่บ้านณุ้จักหมู่บ้านตัวเองมากขึ้นและสำนึกรักบ้านเกิดมากขึ้น และหวงแหนชุมชนมากขึ้น |
ประธานโครงการและผู้บันทึกข้อมูลหรือเลขาหรือฝ่ายการเงิน |
1.เกิดโครงการฯนี้จากความต้องการของชุมชน 2.รวบรวมอาชีพเสริมของคนในชุมชนไว้ในที่เดียวกัน 3.เกิดศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงในชุมชน 4.เป็นการติดตามการดำเนินงานของชุมชน ทำให้การบอกเล่าสิ่งที่ชุมชนทำนั้นมีความหมายและสำคัญกับพื้นที่มากมาย ทำให้เกิดเรื่องเล่าจากชุมชนสู่คนภายนอกได้อย่างดี |
- |
29. ร่วมจัดสถานที่ " บูเกตยามูโมเดล"กิจกรรมหลัก : จัดตั้งศูนย์เรียนรู้ เศรษฐกิจพอเพียง " บูเกตยามูโมเดล" |
||||||
เสาร์ 9 ก.ค. 59 | เสาร์ 9 ก.ค. 59 | 1.สภาผู้นำชุมชน ทีมเยาวชน มาสรุป ข้อค้นพบ ของชุมชน สิ่งดีดี รูปแบบกระบวนการต่างๆของชุมชน
2. ร่วมหารือ กับผู้ทรงคุณวุฒิ ปราชญ์ชาวบ้าน ในการคัดเลือก เตรียมสถานที่ ที่จะจัดตั้งเป็นศูนยืเรียนรู้ชุมชน เศรษฐกิจพอเพียง
3. นำเข้าสู่เวทีประชาคม เพื่อรว่มกระบวนการ ร่วมคิด ร่วมวางแผน ร่วมทำ แบบมีส่วนร่วมขอวชุมชน
4. ชุมชนร่วมจัดสถานที่ ศูนย์เรียนรู้เศรฐกิจพอเพียง ที่เป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชน ตั้งแต่กลุ่มเด้กนักเรียนศูนย์เด็กเล็กโรงเรียนประถม และคนในชุมชน เพื่อการเรียนรู้ |
เตรียมสถานที่เพื่อให้เกิดศูนย์เรียนรู้ โดยการช่วยกับเก็บกวาดใบไม้ ถากถางเถาวัลย์ เตรียมป้ายและเสา พร้อมทาสี |
ทีมเยาวชน คณะทำงาน |
ทุกคนต่างช่วยกันเตรียมสถานที่เพื่อให้เกิดศูนย์เรียนรู้บูเกตยามู โมเดล เป็นศูนย์เรียนรู้ตามแนวพระราชดำริ วิถีชีวิตของคนในชุมชน ผลสรุปที่สำคัญ 1.มีศูนย์เรียนรู้ชุมชน บูเกตยามู โมเดล |
- |
30. เปิดตัวศูนย์เรียนรู้ เศรษฐกิจพอเพียง " บูเกตยามูโมเดล"กิจกรรมหลัก : จัดตั้งศูนย์เรียนรู้ เศรษฐกิจพอเพียง " บูเกตยามูโมเดล" |
||||||
อาทิตย์ 10 ก.ค. 59 | อาทิตย์ 10 ก.ค. 59 | 1.สภาผู้นำชุมชน ทีมเยาวชน มาสรุป ข้อค้นพบ ของชุมชน สิ่งดีดี รูปแบบกระบวนการต่างๆของชุมชน
2. ร่วมหารือ กับผู้ทรงคุณวุฒิ ปราชญ์ชาวบ้าน ในการคัดเลือก เตรียมสถานที่ ที่จะจัดตั้งเป็นศูนยืเรียนรู้ชุมชน เศรษฐกิจพอเพียง
3. นำเข้าสู่เวทีประชาคม เพื่อรว่มกระบวนการ ร่วมคิด ร่วมวางแผน ร่วมทำ แบบมีส่วนร่วมขอวชุมชน
4. ชุมชนร่วมจัดสถานที่ ศูนย์เรียนรู้เศรฐกิจพอเพียง ที่เป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชน ตั้งแต่กลุ่มเด้กนักเรียนศูนย์เด็กเล็กโรงเรียนประถม และคนในชุมชน เพื่อการเรียนรู้ |
1.สภาผู้นำชุมชน ทีมเยาวชน มาสรุป ข้อค้นพบ ของชุมชน สิ่งดีดี รูปแบบกระบวนการต่างๆของชุมชน
2. ร่วมหารือ กับผู้ทรงคุณวุฒิ ปราชญ์ชาวบ้าน ในการคัดเลือก เตรียมสถานที่ ที่จะจัดตั้งเป็นศูนยืเรียนรู้ชุมชน เศรษฐกิจพอเพียง
3. นำเข้าสู่เวทีประชาคม เพื่อรว่มกระบวนการ ร่วมคิด ร่วมวางแผน ร่วมทำ แบบมีส่วนร่วมขอวชุมชน
4. ชุมชนร่วมจัดสถานที่ ศูนย์เรียนรู้เศรฐกิจพอเพียง ที่เป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชน ตั้งแต่กลุ่มเด้กนักเรียนศูนย์เด็กเล็กโรงเรียนประถม และคนในชุมชน เพื่อการเรียนรู้ |
คณะทำงาน ทีมเยาวชน ปราชญ์ชาวบ้าน ผู้ทรงคุณวุฒิ |
1.สภาผู้นำชุมชน ทีมเยาวชน มาสรุป ข้อค้นพบ ของชุมชน สิ่งดีดี รูปแบบกระบวนการต่างๆของชุมชน
2. ร่วมหารือ กับผู้ทรงคุณวุฒิ ปราชญ์ชาวบ้าน ในการคัดเลือก เตรียมสถานที่ ที่จะจัดตั้งเป็นศูนยืเรียนรู้ชุมชน เศรษฐกิจพอเพียง
3. นำเข้าสู่เวทีประชาคม เพื่อรว่มกระบวนการ ร่วมคิด ร่วมวางแผน ร่วมทำ แบบมีส่วนร่วมขอวชุมชน
4. ชุมชนร่วมจัดสถานที่ ศูนย์เรียนรู้เศรฐกิจพอเพียง ที่เป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชน ตั้งแต่กลุ่มเด้กนักเรียนศูนย์เด็กเล็กโรงเรียนประถม และคนในชุมชน เพื่อการเรียนรู้ |
- |
31. พบพี่เลี้ยงปรึกษาการดำเนินงานกิจกรรมหลัก : การประชุมร่วมกับ สสส. สจรส.ม.อ. และพี่เลี้ยงผู้ติดตาม |
||||||
พุธ 10 ส.ค. 59 | พุธ 10 ส.ค. 59 | ประชุมเพื่อสรุปการทำกิจกรรม/แผนการเงิน เพื่อจะนำไปเป็นข้อมูลเพื่อต่อยอดโครงการในปีต่อไป โดยมีพี่เลี้ยงให้คำแนะนำ |
คณะทำงานโครงการ สสส. จากการทำงานร่วมกัน ปัญหา อุปสรรคในการทำงาน การทำงานร่วมกันของทีมงาน ความร่วมมือของชาวบ้านในชุมชนซึ่งถือว่าการให้ความร่วมมือของชาวบ้านอยู่ในระดับดีมาก เพราะทุกครั้งที่มีกิจกรรมจะได้รับความสนใจในการเข้าร่วม และจากการทำกิจกรรมครั้งที่ผ่านมา ได้เปิดโอกาสในการซักถามถึงความต้องการต่อโครงการในปีต่อไป ได้รับการตอบรับที่ดี |
ผู้บันทึกข้อมูลและฝ่ายการเงิน |
คณะทำงานโครงการ สสส. จากการทำงานร่วมกัน ปัญหา อุปสรรคในการทำงาน การทำงานร่วมกันของทีมงาน ความร่วมมือของชาวบ้านในชุมชนซึ่งถือว่าการให้ความร่วมมือของชาวบ้านอยู่ในระดับดีมาก เพราะทุกครั้งที่มีกิจกรรมจะได้รับความสนใจในการเข้าร่วม และจากการทำกิจกรรมครั้งที่ผ่านมา ได้เปิดโอกาสในการซักถามถึงความต้องการต่อโครงการในปีต่อไป ได้รับการตอบรับที่ดี |
- |
32. กิจกรรมถอดบทเรียนและชี้แจงปิดโครงการกิจกรรมหลัก : กิจกรรมถอดบทเรียน/ประเมินผลการทำงาน |
||||||
เสาร์ 20 ส.ค. 59 - อาทิตย์ 21 ส.ค. 59 | เสาร์ 20 ส.ค. 59 |
|
ทำหนังสือเชิญเข้าร่วมเวทีถอดบทเรียนโดยให้อสม.แบ่งงานกันรับผิดชอบแจกจ่ายหนังสือเชิญแบบแบ่งโซน นำข้อมูลที่ได้ในกิจกรรมนี้ทั้งหมดมาประมวลให้ที่ประชุมรับทราบ |
สภาผู้นำ ทีมเยาวชน |
|
- |
33. ติดตามการดำเนินงาน ปิดโครงการกิจกรรมหลัก : สร้างทีมงานสภาชุมชน |
||||||
เสาร์ 20 ส.ค. 59 - อาทิตย์ 21 ส.ค. 59 | เสาร์ 20 ส.ค. 59 |
|
|
ผู้รับผิดชอบ คณะทำงานและประชาชนทั่วไป |
กิจกรรมการดำเนินงาน :มีการจัดกิจกรรมและการใช้จ่ายงบประมาณเป็นไปตามแผนที่กำหนดไว้ในโครงการ ตั้งแต่ระยะที่ 1 2 และ 3 โดยในแต่ละระยะมีการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น มีทีมงานที่มีกลุ่มหลากหลายมากขึ้น โดยเฉพาะกลุ่มเยาวชนที่ให้ความสนในในการเข้าร่วมกิ จกรรม เกิดกระบวนการมีส่วนร่วมและเครือข่ายและมีนวัตกรรมการสร้างเสริมสุขภาพและดำเนินงานตามวัตถุประสงค์ ที่วางไว้ และตัวชี้วัดที่กำหนดทางทีมงานมีความเข้มแข็ง และจากการพูดคุย มีความต้องการ การดำเนินงานต่อ เพื่อเสริมสร้างสุขภาวะมีความต่อเนื่องและยั่งยืน โดยนำทุนทางสังคมของชุมชนที่เกิดจากผลผลิตของโครงการมาต่อยอด โดยเฉพาะศูนย์เรียนแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงสู่ความมั่นคงทางด้านอาหาร เพื่อเพิ่มรายได้ และสร้างความมั่นคงด้านวิสาหกิจชุมชนให้เกิดโรงเรียนชีวิต ด้านการบริหารจัดการตรวจสอบเอกสารรายงานการเงิน มีความเรียบร้อยและเบิกจ่ายตามกิจกรรมในแผน มีงบประมาณคงเหลือส่งคืน สสส.ในหมวดเงินค่าเดินทางและค่าที่พัก กรณีเข้าร่วมประชุมกับ สสส . มีการจัดทำรายงานฉบับสมบูรณ์และปิดโครงการ |
- |
34. ถ่ายภาพกิจกรรมกิจกรรมหลัก : ทำป้ายสัญลักษณ์เขตปลอดบุหรี่ ถ่ายภาพกิจกรรม และจัดทำรายงาน |
||||||
เสาร์ 1 ต.ค. 59 | อาทิตย์ 21 ส.ค. 59 | • เลือกรูปถ่ายที่ต้องการ • พาไปที่ร้านเพือล้างรูป ให้ทำรูปในกระดาษโฟโต้และทำลงซีดี • จ่ายเงินค่ามัดจำ • นัดวันรับรูปถ่าย • ไปรับรูปถ่านตามวันที่ตกลงกัน |
• เลือกรูปถ่ายที่ต้องการ • พาไปที่ร้านเพือล้างรูป ให้ทำรูปในกระดาษโฟโต้และทำลงซีดี • จ่ายเงินค่ามัดจำ • นัดวันรับรูปถ่าย • ไปรับรูปถ่านตามวันที่ตกลงกัน |
เลขาฯโครงการฯ ผู้บันทึกข้อมูล |
ได้รูปถ่ายตรงตามความต้องการ จำนวน 1 ชุด |
- |
35. งานสร้างสุขภาคใต้กิจกรรมหลัก : การประชุมร่วมกับ สสส. สจรส.ม.อ. และพี่เลี้ยงผู้ติดตาม |
||||||
จันทร์ 3 ต.ค. 59 - พุธ 5 ต.ค. 59 | จันทร์ 3 ต.ค. 59 | ร่วมจัดนิทรรศกาลและเข้าร่วมงานคนใต้สร้างสุข |
เตรียมความพร้อมทั้งบุคคลและสิ่งที่จัดนิทรรศการและวางแผนการทำงานเพื่อวางนิทรรศการให้น่าสนใจและดึงดูดผู้คนที่เดินผ่านให้มาศึกษาและเรียนรู้นิทรรศการของตำบลควนโดนแต่ละพื้นที่ได้ไปจัดนิทรรศการ ความสำเร็จของโครงการร่วมกัน โดยนำผลงานจากกิจกรรมที่เกิดขึ้นในชุมชน ความเข้มแข็งของชุมชน ในด้านเศรษฐกิจพอเพียง และเกษตรอินทรีย์ มีการนำผลไม้ และผักพื้นบ้านไปจำหน่าย และร่วมตกแต่งบูธให้ดูเป็นธรรมชาติเสมือนภาพจำลอง มีการนำผลผลิตของชุมชน เช่น ก้อนเชื้อเห็ด ผลไม้ จำพวกลองกอง จำปะดะ ไปจัดกิจกรรมในครั้งนี้ด้วย |
ประธานโครงการ คนบันทึกข้อมูล การเงิน |
แต่ละพื้นที่ได้ไปจัดนิทรรศการ ความสำเร็จของโครงการร่วมกัน โดยนำผลงานจากกิจกรรมที่เกิดขึ้นในชุมชน ความเข้มแข็งของชุมชน ในด้านเศรษฐกิจพอเพียง และเกษตรอินทรีย์ มีการนำผลไม้ และผักพื้นบ้านไปจำหน่าย และร่วมตกแต่งบูธให้ดูเป็นธรรมชาติเสมือนภาพจำลอง มีการนำผลผลิตของชุมชน เช่น ก้อนเชื้อเห็ด ผลไม้ จำพวกลองกอง จำปะดะ ไปจัดกิจกรรมในครั้งนี้ด้วย |
- |
36. จัดทำรายงานกิจกรรมหลัก : ทำป้ายสัญลักษณ์เขตปลอดบุหรี่ ถ่ายภาพกิจกรรม และจัดทำรายงาน |
||||||
จันทร์ 3 ต.ค. 59 | จันทร์ 3 ต.ค. 59 | รวบรวมเอกสารทั้งหมดของโครงการ |
เตรียมเอกสารตั้งแต่ดำเนินการหลังจากปิดงวด 1 เพื่อเตรียมเอกสารปิดงวด 2 ให้มีความเรียบร้อยและง่ายต่อการตรวจสอบก่อนปิดโครงการโดยพี่เลี้ยงดูแลอย่างใกล้ชิด รวบรวมเอกสารทั้งหมดของโครงการและรายงานผลการดำเนินโครงการ |
ผู้บันทึกข้อมูลและฝ่ายการเงิน |
• ตรวจสอบเอกสารของแต่ละกิจกรรรมให้ครบถ้วน • ปรับปรุงแก้ไขให้สมบูรณ์ • เมื่อเอกสารเรียบร้อยก็จัดทำเป็นรูปเล่ม ผลสรุปที่สำคัญ เตรียมเอกสารตั้งแต่ดำเนินการหลังจากปิดงวด 1 เพื่อเตรียมเอกสารปิดงวด 2 ให้มีความเรียบร้อยและง่ายต่อการตรวจสอบก่อนปิดโครงการโดยพี่เลี้ยงดูแลอย่างใกล้ชิด รวบรวมเอกสารทั้งหมดของโครงการและรายงานผลการดำเนินโครงการ |
- |
37. พบพี่เลี้ยงเพื่อปิดโครงการกิจกรรมหลัก : การประชุมร่วมกับ สสส. สจรส.ม.อ. และพี่เลี้ยงผู้ติดตาม |
||||||
พฤหัสบดี 13 ต.ค. 59 | พฤหัสบดี 13 ต.ค. 59 | เรียบเรียงเอกสารเพื่อปิดโครงการ |
รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง ตรวจสอบความถูกต้อง ทั้งในตัวเอกสาร และในเว็ป |
ผู้บันทึกข้อมูลและฝ่ายการเงิน |
รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง ตรวจสอบความถูกต้อง ทั้งในตัวเอกสาร และในเว็ป |
- |
38. สรุปผลการดำเนินงานและปิดโครงการกิจกรรมหลัก : การประชุมร่วมกับ สสส. สจรส.ม.อ. และพี่เลี้ยงผู้ติดตาม |
||||||
ศุกร์ 14 ต.ค. 59 - เสาร์ 15 ต.ค. 59 | ศุกร์ 14 ต.ค. 59 | • ตรวจสอบความเรียบร้อยของเอกสารการเงินและหน้าเว็บไซต์โดยเจ้าหน้าที่ สจสร. • ทำ ง1. ง2. ส3. ส4. บนหน้าเว็บไซต์ Happynetwork.org • ส่งเอกสารทำการปิดงวด 2 ส่งให้เจ้าหน้าที่ สจรส. • เจ้าหน้าที่สจรส. ตรวจสอบความเรียบร้อยของเอกสารการเงินและเอกสารอื่นๆ • เจ้าหน้าที่สจรส. ตรวจสอบการรายงานหน้าเวปไซต์ • เจ้าหน้าที่สจรส. ให้คำแนะนำเพิ่มเติม |
• ตรวจสอบความเรียบร้อยของเอกสารการเงินและหน้าเว็บไซต์โดยเจ้าหน้าที่ สจสร. • ทำ ง1. ง2. ส3. ส4. บนหน้าเว็บไซต์ Happynetwork.org • ส่งเอกสารทำการปิดงวด 2 ส่งให้เจ้าหน้าที่ สจรส. • เจ้าหน้าที่สจรส. ตรวจสอบความเรียบร้อยของเอกสารการเงินและเอกสารอื่นๆ • เจ้าหน้าที่สจรส. ตรวจสอบการรายงานหน้าเวปไซต์ • เจ้าหน้าที่สจรส. ให้คำแนะนำเพิ่มเติม |
ผู้รับผิดชอบโครงการและเจ้าหน้าที่การเงิน |
• ตรวจสอบความเรียบร้อยของเอกสารการเงินและหน้าเว็บไซต์โดยเจ้าหน้าที่ สจสร. • ทำ ง1. ง2. ส3. ส4. บนหน้าเว็บไซต์ Happynetwork.org • ส่งเอกสารทำการปิดงวด 2 ส่งให้เจ้าหน้าที่ สจรส. • เจ้าหน้าที่สจรส. ตรวจสอบความเรียบร้อยของเอกสารการเงินและเอกสารอื่นๆ • เจ้าหน้าที่สจรส. ตรวจสอบการรายงานหน้าเวปไซต์ • เจ้าหน้าที่สจรส. ให้คำแนะนำเพิ่มเติม ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม มีการสรุปปิดโครงการและรายงานฉบับสมบูรณ์จำนวน1 เล่ม |
- |