คนสร้างสุข

พลังเยาวชนสร้างเครือข่ายต่อต้านและป้องกันการแพร่ระบาดของยาเสพติด

รายละเอียดโครงการ
รหัสโครงการ
ชื่อโครงการ พลังเยาวชนสร้างเครือข่ายต่อต้านและป้องกันการแพร่ระบาดของยาเสพติด
ประเภทโครงการ/ประเด็นงาน ประเด็นที่ 9 งานป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรมเยาวชนมัสยิดโกตาบารู
วันที่อนุมัติโครงการ 17 กันยายน 2560
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 กันยายน 2560 - 30 พฤศจิกายน 2560
งบประมาณโครงการ 170,825.00 บาท
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย 100 คน
กลุ่มเป้าหมายหลักในโครงการ

นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6

ผู้รับผิดชอบโครงการ อับดุลวาริส โลงซา
รายชื่อคณะทำงาน ? นายอับดุลวาริส​ โลงซา/ นายซูกอรนัย ดีแม/ นายนุสลัน แซซู /นายมุดดัซซิร ลูแม/นายอัยฎีล สะซีลอ/นาย อัยมัน ยามูสะนอ/นาย อารีฟีน โต๊ะกาพอ/นาย อาลีย๊ะ ปอโต๊ะซิ/นาย บะฮ์รี อีแมดะซอ/นาย มุนตาซีร หะยีกิจิ/นาย มูฮัมหมัดฟัรกีย์ อีแมดะซอ /นาย อเรส บากา/นายบาซีร ดามาเ
พื้นที่ดำเนินการ โรงเรียนพัฒนศาสน์วิทยาโกตาบารู 59 หมู่ 2 ตำบล บาโงย อำเภอ รามัน จังหวัด ยะลา 95140
ผู้ดำเนินการติดตามสนับสนุนโครงการ
  • ชมรมเยาวชนมัสยิดโกตาบารูชมรมเยาวชนมัสยิดโกตาบารู (Owner)  
งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 0.00
2 0.00
รวมงบประมาณ 0.00

คำเตือน : รวมงบประมาณของทุกงวด (0.00 บาท) ไม่เท่ากับ งบประมาณโครงการ (170,825.00 บาท)

รายละเอียดโครงการ

หลักการและเหตุผล

การพัฒนาชุมชนที่ผ่านมาได้รับการให้ความสําคัญเป็นอย่างมากจะเห็นได้จากแผนพัฒนาประเทศฉบับต่างๆประชาชนเป็นกลุ่มเป้าหมายสำหรับการพัฒนาเป็นอันดับแรกการส่งเสริมและการประสานกิจกรรมด้านการพัฒนาของหน่วยงานต่างๆทั้งภาครัฐและภาคเอกชนเป็นไปอย่างกว้างขวางรวมทั้งส่งเสริมให้มีการพัฒนาให้ประชาชนในแต่ละกลุ่มและองค์กรต่างๆในชุมชน การพัฒนาไม่ได้เป็นกิจกรรมเพื่อการสังคมสงเคราะห์อีกต่อไปแต่เป็นการพัฒนาที่ให้ความสำคัญกับประชาชนโดยให้ประชาชนเข้ามาร่วมรับรู้ปัญหาและแก้ไขปัญหาด้วยตนเองแต่ที่ผ่านมาแม้ว่าการกำหนดนโยบายการตัดสินใจการสั่งการในที่สุดประชาชนก็เป็นฝ่ายตอบสนองและปฏิบัติตามการให้ความร่วมมือในกิจกรรมหรือโครงการที่รัฐกำหนดไว้มากกว่าจะเป็นการมีส่วนร่วมตามความหมายที่แท้จริง (ยงยุทธบุราสิทธิ์,2533หน้า41) ทำให้องค์กรภายนอกภาครัฐส่วนใหญ่รวมทั้งประชาชนทั่วไปไม่ถือว่าเป็นปัญหาที่พลังของตนจะต้องเข้าไปร่วมแก้ไข เมื่อพลังทางสังคมส่วนใหญ่รวมทั้งวางเฉยทำให้กลไกรัฐอยู่ในสภาพที่ต้องแก้ไขปัญหาอย่างโดดเดี่ยวขาดพลังสร้างสรรค์ในการดำเนินการขาดระบบการประสานงานที่ดี ทำให้กลไกรัฐเพิ่มข้อจำกัดมากยิ่งขึ้นจนไม่อาจแก้ไขปัญหาด้วยพลังของตนเองได้โดยลำพัง หากกล่าวในด้านแนวทางการแก้ไขปัญหายาเสพติดในอดีตที่ผ่านมาก็มีแนวความคิดทำนองเดียวกันแนวคิดของระบบใหญ่ กล่าวคือปัญหายาเสพติดเป็นปัญหาที่รัฐและกลไกรัฐเป็นเจ้าของปัญหาและต้องมีบทบาทหนาที่แกไขปญหานี้โดยตรงดังจะเห็นไดจาก มีการออกกฎหมายระบุโทษมาตรการทางกฎหมายและบังคับใชกฎหมายจึงเปนหลักสําคัญในการแกไขปญหายาเสพติดแม้ว่าในระยะหลังพัฒนาการของการแก้ไขปัญหายาเสพติดเริ่มมีมากขึ้นพรอมๆไปกับความซับซอนของตัวปญหายาเสพติดเอง แตบทบาทของรัฐก็ยังเปนสวนหลักในกลไกการแกไขปัญหาเชนการใชมาตรการทางกฎหมายการสงเสริมการปฏิบัติการจิตวิทยา การพัฒนาต่อกลุ่มประชาชนเพื่อมุ้งเน้นมาตรการป้องกันยาเสพติด โดยอาศัยศักยภาพของรัฐเปนตัวกลางในการเผยแพรความรูตางๆ ซึ่งแนวความคิดและการแก้ไขปัญหายาเสพติดตามกรอบดังกล่าวแม้จะมีส่วนถูกต้องสอดคล้องกับบางกลุ่มเป้าหมายแต่หากล่าวโดยภาพรวมการระดมสรรพกำลังเฉพาภาครัฐยอมไมอาจแกไขปญหาใหลุลวงไปไดมูลเหตุสําคัญอยูที่ขอจํากัดของกลไกรัฐดังกลาว มาแลวนั้นโดยเฉพาะอยางยิ่งปญหาการแพรระบาดของยาเสพติดซึ่งเป็นปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของประชาชนมากที่สุดกลับมีความสลับซับซ้อนมากที่สุดในบรรดาวงจรของปัญหายาเสพติดมิติต่างๆและเป็นปัญหาที่แก้ไขได้ยากลำบากที่สุดเนื่องเพราะตัวมันเองเปนทั้งตนเหตุ และปลายเหตุของปญหาในหวงเวลาเดียวกันอีกทั้งยังเชื่อมโยงเกี่ยวข้องกับปัจจัยหลายๆด้าน ครอบคลุมไปถึงบุคคล ครอบครัว ชุมชนและสังคม จากบทเรียนดังกล่าวทำให้หลายฝ่ายเริ่มมองกับมามองที่ประชาชน โดยมุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพของ “คน”อย่างจริงจังเพื่อให้สามารถกำหนดและตัดสินใจอนาคตของตนเอง ในขณะที่บทบาทของรัฐต้องปรับบทบาทและทัศนะในการทำงาน โดยเรียนรู้ร่วมกับประชาชนโดยเชื่อว่าคนเป็นทรัพยากรที่มีความหมายและสำคัญที่สุด คนทุกคนมีความสามารถที่จะพัฒนาตนเองให้ดีขึ้นถ้ามีโอกาส ดังนั้นการให้โอกาสจะช่วยให้พลังอันซ่อนเร้นในตัวคนออกมาใช้ประโยชน์ต่อส่วนรวมและการพัฒนาจะมีประสิทธิภาพต้องยึดหลักการรวมตัวและทำงานร่วมกัน(สนธยา พลศรี,2553,หน้า47) การส่งเสริมและพัฒนาดังกล่าวทำให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมทำให้ประชาชนมีส่วนร่วม ร่วมทำให้เกิดกลุ่มพลังและองค์กรประชาชนต่างๆทั้งในรูปแบบการเข้าไปส่งเสริมจากองค์กร พัฒนาภาครัฐภาคเอกชนและเกิดการรวมตัวของประชาชนตามธรรมชาติในชุมชน เช่น กลุ่ม อสม. กลุ่มหมอพื้นบ้าน กลุ่มสตรี กลุ่มเยาวชน กลุ่มเศรษฐกิจชุมชนและอื่นๆ ซึ่งส่งผลให้การพัฒนาได้สร้างโอกาสหรือช่องทางสำหรับประชาชนให้สามารถพัฒนาศักยภาพหรือสะท้อนปัญหาที่แท้จริงมากขึ้น ดังนั้นสภาเด็กและเยาวชนเทศบาลตำบลโกตาบารู ได้เล็งเห็นถึงปัญหาดังกล่าว และเห็นความสำคัญในการส่งเสริมให้เยาวชนในพื้นที่ได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์สูงสุดและส่งเสริมการศึกษาและเรียนรู้ เรื่องยาเสพติดท้ายที่สุดเพื่อสร้างแกนนำเครือข่ายการต่อต้านยาเสพติดทุกรูปแบบ จึงได้จัดโครงการต้นกล้าพันธุ์ใหม่สานฝันอนาคตไม่ยุ่งเกี่ยวยาเสพติด ขึ้น ณ โรงเรียนศรีฟารีดาบารูวิทยาโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้เยาวชน มีความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักถึงพิษภัยของยาเสพติด เพื่อสร้างเครือข่ายผู้นำเยาวชนในการป้องกันต่อต้านและป้องกันการแพร่ระบาดของยาเสพติดในสถานศึกษา และชุมชน และเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต ทักษะทางความคิด สร้างภูมิคุ้มกันทางด้านร่างกายจิตใจให้กับนักเรียน ไม่ตกเป็นทาสของยาเสพติด

วัตถุประสงค์

1.เพื่อให้เยาวชน มีความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักถึงพิษภัยของงยาเสพติด 2.เพื่อสร้างเครืองข่ายผู้นำเยาวชนในการป้องกันต่อต้านและป้องกันการแพร่ระบาดของยาเสพติด 3.เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต ทักษะทางความคิด สร้างภูมิคุ้มกันทางด้านร่างกายและจิตใจให้เยาวชน ไม่ตกเป็นทาสของยาเสพติด

การดำเนินงาน/กิจกรรม

วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย (คน)งบกิจกรรม (บาท)ทำแล้วใช้จ่ายแล้ว (บาท)
25 ก.ย. 60 ประชุมคณะกรรมการ ครั้งที่ 1 30 3,400.00 - more_vert
5 ต.ค. 60 อบรมเรื่องการบริหารจัดการ 30 4,000.00 - more_vert
12 ต.ค. 60 ประชุมคณะกรรมการ ครั้งที่ 2 30 2,050.00 - more_vert
13 ต.ค. 60 จัดกิจกรรมส่งเสริมการใช้เครื่องมือในการทำงาน 30 4,950.00 - more_vert
14 - 17 ต.ค. 60 โครงการพลังเยาวชนสร้างเครื่อข่ายต่อต้านและป้องกันการระบาดของยาเสพติด 120 138,000.00 - more_vert
18 พ.ย. 60 เวทีสรุปผลการดำเนินงานโครงการและนำเสนอสู่สาธารณชน 120 15,600.00 - more_vert
30 พ.ย. 60 ประชุมคณะกรรมการ ครั้งที่ 3 30 2,050.00 - more_vert
30 พ.ย. 60 สรุปงานและกิจกรรม 30 775.00 - more_vert
14 ก.ค. 61 20.การอบรมบันทึกข้อมูล โครงการขับเคลื่อนการมีส่วนร่วมของภาคประชาสังคมในการแก้ไขปัญหาและพํฒนา จชต. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ 2560 (งบ50ล้านบาท) 111 0.00 0.00 more_vert
รวม 531 170,825.00 1 0.00

โครงการเข้าสู่ระบบโดย เมื่อวันที่ 28 มี.ค. 2567 น.