directions_run

โครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่บ้านศาลาคงจันทร์ ปี2

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่บ้านศาลาคงจันทร์ ปี2
ภายใต้โครงการ โครงการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่
รหัสโครงการ 56-00393
วันที่อนุมัติ
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 15 พฤษภาคม 2556 - 15 มิถุนายน 2557
งบประมาณ 207,450.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายธีรวิชญ์ จันทกูล 086-7472427
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ นางสาวอารีย์ สุวรรณชาตรี
พื้นที่ดำเนินการ บ้านศาลาคงจันทร์หมู่ที่ 2 ตำบลควนรู อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 7.0354756524291,100.28869628919place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 15 พ.ค. 2556 15 ต.ค. 2556 15 พ.ค. 2556 31 ต.ค. 2556 82,000.00
2 16 ต.ค. 2556 15 เม.ย. 2557 1 พ.ย. 2556 15 มิ.ย. 2557 105,450.00
3 16 เม.ย. 2557 15 มิ.ย. 2557 20,000.00
รวมงบประมาณ 207,450.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อเสริมสร้างทักษะและพฤติกรรมการจัดการขยะแก่ประชาชนในชุมชนศาลาคงจันทร์แบบมีส่วนร่วม

1.1 ร้อยละ 80 คน ศาลาคงจันทร์ปรับพฤติกรรมลดการก่อขยะ เช่น นำถุงผ้า หรือ ตะกร้าไปจับจ่ายของในตลาดนัด เป็นต้น

1.2 ร้อยละ 80 คน ศาลาคงจันทร์ปรับพฤติกรรมแยกขยะ นำมาฝากสะสมกับธนาคารขยะเพื่อสวัสดิการ หรือ แลกเป็นสินค้าสิ่งของเครื่องใช้ในชีวิตประจำวัน

1.3 ร้อยละ 80 คน ศาลาคงจันทร์เข้าร่วมเป็นสมาชิกของร้านค้าเพื่อสวัสดิการคนศาลาคงจันทร์

1.4 เกิดครอบครัวต้นแบบด้านการจัดการขยะ 100 ครัวเรือน

1.5 แผนพัฒนาหมู่บ้านมียุทธศาสตร์ด้านจัดการขยะ

2 2. เพื่อพัฒนารูปแบบการจัดสวัสดิการชุมชนจากการบริหารจัดการขยะของคนศาลาคงจันทร์

2.1 มีคณะทำงานเพื่อสวัสดิการชุมชนโดยของ คนบ้านศาลาคงจันทร์

2.2 มีสื่อประชาสัมพันธ์ด้านจัดการขยะ 3 ชุด

2.3 มีกลุ่มเยาวชนทำหน้าที่สื่อสารประชาสัมพันธ์ เรื่อง การจัดการขยะให้กับชุมชนทำหน้าที่สัปดาห์ละ 1 ครั้ง

2.4 มีระบบข้อมูลชุมชนในการจัดการขยะ ของชุมชนเอง

2.5 มีแหล่งเรียนรู้เรื่องการจัดการขยะโดยชุมชนขึ้นในตำบล

2.6 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น นำแนวทางร้านค้าเพื่อสวัสดิการชุมชน คนศาลาคงจันทร์ประกาศเป็นนโยบายท้องถิ่น ตลอดจนการร่วมสมทบเงินเพื่อสวัสดิการชุมชน

3 ติดตามและสนับสนุนการดำเนินงานโครงการ โดยทีมสสส.และ สจรส.มอ.หาดใหญ่

1.การจัดทำรายงานส่ง เช่น ส1,ส.2,ส.3 และเอกสารการเงิน ง.1,ง.2 ในแต่ละงวด

2.การเข้าร่วมประชุม ร่วมกับ สสส.และสจรส.มอ.หาดใหญ่ ร้อยละ 75  ในการประชุม

stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม

1.การเตรียมความพร้อมของร้านค้าเพื่อสวัสดิการชุมชน จากขยะ
2.ประชุมระดมความคิคทบทวนข้อมูลการจัดการขยะในชุมชน
3 กิจกรรมชีวิตที่ดีขึ้นจากขยะ
4.ปฏิบัติชุมชนจัดการขยะในชุมชน
5.กิจกรรมพัฒนาระบบสื่อสารประชาสัมพันธ์ ลดขยะในชุมชน
6.ฝึกปฎิบัติทำสารคดีหรือหนังสั้นการจัดการขยะในชุมชน
7.จัดทำข้อมูลสถานการณ์ขยะ/พฤติกรรด้านการจัดการขยะในชุมชน
8.ประมวลผลข้อมูลการจัดการขยะในชุมชน
9.เวทีชุมชน การจัดการขยะรูปแบบพลังงานทางเลือก
10.เวทีถอดบทเรียน พัฒนาชุดความรู้การจัดการขยะในชุมชน

stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 19 มิ.ย. 2556 15:19 น.