stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ ข้าวพื้นเมืองคืนชีวิตชาวนาปะขอ
ภายใต้โครงการ โครงการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่
รหัสโครงการ 57-01429
วันที่อนุมัติ
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 20 พฤษภาคม 2557 - 19 มิถุนายน 2558
งบประมาณ 212,325.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวธิดา คงอาษา
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ นางสาวจุฑาธิป ชูสง
พื้นที่ดำเนินการ บ้านนาปะขอ ตำบลนาปะขอ อำเภอบางแก้ว
ละติจูด-ลองจิจูด 7.4569007809,100.196084976place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 20 พ.ค. 2557 15 ต.ค. 2557 20 พ.ค. 2557 7 พ.ย. 2557 84,930.00
2 16 ต.ค. 2557 15 พ.ค. 2558 8 พ.ย. 2557 12 ก.ค. 2558 106,163.00
3 16 พ.ค. 2558 19 มิ.ย. 2557 21,232.00
รวมงบประมาณ 212,325.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อสร้างกระบวนการเรียนรู้ให้คนในชุมชนตระหนักและจิตสำนึกในการลดต้นทุนการผลิตและลด ละ เลิกการใช้สารเคมีการเกษตรด้วยวิถีนาอินทรีย์

เชิงปริมาณ
    1. มีเวทีเรียนรู้ มีคนเข้าร่วมเวทีจำนวน 50 มีครัวเรือนตัวแทนของคน 3 วัย ที่ตัดสินเข้าร่วมเป็นครัวเรือนนำร่องจำนวน 20 ครัวเรือน
    2. มีชุดข้อมูลผลกระบทของการทำนาเคมีหรือการทำนาต้นทุนสูงเปรียบเทียบกับการกับวิถีนาอินทรีย์ที่สามารถลดต้นทุน พึ่งตนเองในการทำนาและเอื้อต่อสุขภาวะของชุมชน 1 ชด
เชิงคุณภาพ
    1. มีการสำรวจข้อมูล มีข้อมูลต้นทุนการทำนาเคมีและผลกระทบ คืนข้อมูลต่อชุมชน
    2. ชาวนามีความตระหนักและจิตสำนึกนำความรู้ไปปรับใช้และเป็นกลไกในการขับเคลื่อนสร้างชุมชนน่าอยู่ได้อย่างน้อย 20 ครัวเรือน
    3.มีชุดความรู้เรื่อง การทำนาอินทรีย์อย่างยั่งยืน ที่สามารถนำไปใช้เป็นคู่มือในการสร้างกระบวนการเรียนรู้ในการขยายการทำนาอินทรีย์

2 เพื่อสนับสนุนปฏิบัติการลดต้นทุนการทำนาด้วยทำนาอินทรีย์อย่างยั่งยืน

เชิงปริมาณ

  1. มีห้องเรียนท้องนาแปลงเรียนรู้การผลิตข้าวอินทรีย์ 20 ไร่
  2. มีแปลงนารวมการทำนาอินทรีย์ลดต้นทุนจำนวน 5 ไร่
  3. มีกลุ่มผลิตปุ๋ยชีวภาพจำนวน 30 คน
  4. มีกิจกรรมเรียนรู้การทำและใช้อินทรีย์ชีวภาพในนาข้าวที่มีผู้ร่วมกิจกรรมจำนวน 20 คน
  5. มีชาวนาและเยาวชนที่มีความรู้และสามารถในการทำปุ๋ยชีวภาพ/จัดการแปลงนา/วิธีการบำรุงรักษาข้าว/การป้องกันและกำจัดศัตรูพืช/การคัดพันธ์ข้าว/การเก็บเกี่ยวข้าว

เชิงคุณภาพ

  1. ได้ครัวเรื่อนเป้าหมาย 20 ครัวเรือนที่ปรับเปลี่ยนมาทำนาอินทรีย์ ที่สามารถลดต้นทุนการลิต ไม่ใช้สารเคมีในกระบวนการผลิตอย่างน้อยครัวเรือนละ 1 ไร่
  2. มีแปลงนาอินทรีย์ของครอบครัวต้นแบบอย่างน้อย 20 แปลง และแปลงรวมอย่างน้อย 1 ไร่ ที่สามารถลดต้นทุนการผลิตได้และเป็นแบบอย่าง
  3. เยาวชนได้มีภูมิคุ้มกันและร่วมสืบสานวิถีนา รักษาข้าวพื้นบ้าน
  4. เกิดแหล่งเรียนรู้การอนุรักษ์พันธุ์ข้าวและวิถีชาวนาอินทรีย์
3 เพื่อให้เกิดกระบวนการมีส่วนร่วมในเครือข่ายและกลไก มาตรการ ระเบียบ ส่งเสริมและสนับสนุนการขับเคลื่อนวิถีนาอินทรีย์

เชิงปริมาณ
  1.  เกิดคณะทำงานร่วมระหว่างชุมชนและภาคี 1 คณะ มีสมาชิกอย่างน้อย 11คนเป็น กลไกในการขับเคลื่อนขบวนการพัฒนาชุมชนน่าอยู่
  2.  มีธนาคารเมล็ดพันธุ์ข้าวพื้นบ้านชุมชนพร้อมทั้งข้อตกลงและระเบียบ
  3.  เกิดสภาชุมชนบ้านนาปะขอ
  4. เกิดแผนความร่วมมือกับภาคีในการพัฒนา 1 แผนงาน
เชิงคุณภาพ
  1.  คณะทำงานสามารถขับเคลื่อนงานและกำหนดแนวทางการดำเนินงานโครงการสำเร็จตามที่กำหนด และร่วมสร้างการขับเคลื่อนสร้างชุมชนน่าอยู่อย่างต่อเนื่อง
  2.  ชุมชนมีกองทุน/ธนาคารเมล็ดพันธุ์มีกลไกหนุนเสริมชุมชนมีเมล็ดพันธุ์เป็นของชุมชน ลดต้นทุนการผลิตได้ มีหมุนเวียนอย่างต่อเนื่อง
  3. สภาชุมชนบ้านนาปะขอกำหนดทิศทางการขับเคลื่อนขบวนองค์กรชุมชน กลไกติดตามประเมินผล
  4. เกิดแผนความร่วมมือที่เกิดจากกระบวนการมีส่วนร่วม ร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมรับผลประโยชน์ ที่หนุนเสริมให้ชุมชนเข้มแข็ง พึ่งตนเองได้ ชุมชนมีสุขภาวะ ชุมชนน่าอยู่

4 บริหารจัดการและติดตามประเมินผลโครงการ

จำนวนครั้งในการเข้าร่วมกิจกรรมกับ สจรส และ สสส

stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 11 มิ.ย. 2557 16:58 น.