directions_run

ข้าวสังหยดขับเคลื่อนชุมชนท้องถิ่นให้น่าอยู่ที่บ้านควนพัง

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ ข้าวสังหยดขับเคลื่อนชุมชนท้องถิ่นให้น่าอยู่ที่บ้านควนพัง ”

บ้านห้วยข่อย หมู่ที่ 2 ตำบลควนพัง อำเภอร่อนพิบูลย์ จังหวัดนครศรีธรรมราช

หัวหน้าโครงการ
นางวิมล ส้มนิ่ม

ชื่อโครงการ ข้าวสังหยดขับเคลื่อนชุมชนท้องถิ่นให้น่าอยู่ที่บ้านควนพัง

ที่อยู่ บ้านห้วยข่อย หมู่ที่ 2 ตำบลควนพัง อำเภอร่อนพิบูลย์ จังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวัด นครศรีธรรมราช

รหัสโครงการ 57-01470 เลขที่ข้อตกลง 57-00-1079

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 10 มิถุนายน 2557 ถึง 10 กรกฎาคม 2558


กิตติกรรมประกาศ

"ข้าวสังหยดขับเคลื่อนชุมชนท้องถิ่นให้น่าอยู่ที่บ้านควนพัง จังหวัดนครศรีธรรมราช" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน บ้านห้วยข่อย หมู่ที่ 2 ตำบลควนพัง อำเภอร่อนพิบูลย์ จังหวัดนครศรีธรรมราช

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ข้าวสังหยดขับเคลื่อนชุมชนท้องถิ่นให้น่าอยู่ที่บ้านควนพัง



บทคัดย่อ

โครงการ " ข้าวสังหยดขับเคลื่อนชุมชนท้องถิ่นให้น่าอยู่ที่บ้านควนพัง " ดำเนินการในพื้นที่ บ้านห้วยข่อย หมู่ที่ 2 ตำบลควนพัง อำเภอร่อนพิบูลย์ จังหวัดนครศรีธรรมราช รหัสโครงการ 57-01470 ระยะเวลาการดำเนินงาน 10 มิถุนายน 2557 - 10 กรกฎาคม 2558 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 201,550.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 145 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชนในการเพิ่มพื้นที่การผลิตข้าวสังหยดอินทรีย์ของชุมชน
  2. ส่งเสริมสุขภาพคนในชุมชนด้วยการออกกำลังกายแบบใหม่
  3. เพื่อสร้างกระบวนการกลุ่มในการลดรายจ่าย-เพิ่มรายได้ให้กับคนในชุมชน
  4. เพื่อการบริหารจัดการและการติดตามประเมินผลโครงการ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. เข้าร่วมกิจกรรมปฐมนิเทศโครงการโดย สจรส มอ

    วันที่ 14 มิถุนายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    รับฟังแนวทางการบริหารจัดการโครงการจาก ผศ.ดร.พงเทพษ์ และทีมงานของ สจรส.มอ ลงมือปฏิบัติการเกี่ยวกับการรายงานผลต่างๆ ผ่านเว็บไซด์คนใต้สร้างสุข

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้รับความรู้เกี่ยวกับการบริหารจัดการโครงการ และการจัดทำรายงานต่างๆ ผ่านระบบเว็บไซด์ คนใต้สร้างสุข ซึ่งสามารถนำไปขยายผลและนำไปใช้ในการดำเนินโครงการได้เป็นอย่างดี

     

    2 2

    2. การประชุมชี้แจงรายละเอียดโครงการ

    วันที่ 4 กรกฎาคม 2557 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มาฟังคำชี้แจงรายละเอียดเกี่ยวการปลูกข้าวสังหยดและเรียนรู้เกี่ยวกับการยืนอยู่ได้โดยพอเพียงในการดำรงชีวิตในปัจจุบัน 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    แนะแนวทางให้ประชาชนในการปลูกข้าวสังหยด เพื่อให้ได้ผลผลิตที่มีประสิทธิภาพ และปลอดภัย ซึ่งคณะผู้จัดทำโครงการได้ให้บุคคลเหล่านี้ได้ลงทะเบียนไว้ เพื่อรับพันธ์ข้าวสังหยดไปปลูก และได้ให้ประชาชนร่วมกันจัดทำการเก็บข้อมูลสถานการณ์รายรับ - รายจ่ายของครัวเรือน เป็นไปอย่างมีระบบ

     

    100 70

    3. จัดทำป้ายเขตปลอดบุหรี่

    วันที่ 13 กรกฎาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดทำป้ายเขตปลอดบุหรี่ จำนวน 2 ป้าย

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีการติดตั้งป้ายเขตปลอดบุหรี่ในศาลาหมู่บ้านซึ่งเป็นสถานที่ในการจัดประชุมกิจกรรมต่าง ๆ ของโครงการ และประชุมหมู่บ้าน ส่วนอีกป้ายนำไปติดตั้งไว้หน้าโรงเรียน

     

    15 30

    4. ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนและติดตามผลการดำเนินโครงการ

    วันที่ 25 กรกฎาคม 2557 เวลา 15:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ชี้แจงเรื่องสภาพดิน ให้ทราบว่าควรปรับสภาพดินในลักษณะแบบไหนที่เหมาะกับสภาพของดินนั้นๆ 2.วิธีใช้ปุ๋ยชีวภาพว่าใน 1 ไร่ ใช้ปุ๋ยในปริมาณเท่าไหร ให้เหมาะกับดิน 3.หลังจากการใช้ปุ๋ยชีวภาพต้องนำดินมาเปรียบเทียบว่าดินต่างกันหรือไม่

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ประชุมชี้แจงเรื่องดิน วิธีการปรับสภาพดินให้เหมาะสม วิธีการใชปุ๋ยให้เหมาะสมกับดิน

     

    15 15

    5. ครัวเรือน ร่วมเรียนรู้จัดทำและเก็บข้อมูลสถานการณ์รายรับ-รายจ่ายของครัวเรือน โดยมีวิทยากรให้ความรู้

    วันที่ 2 สิงหาคม 2557 เวลา 10:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    แนะนำให้นักเรียนและผู้ปกครองบันทึกรายรับ-รายจ่ายในแต่ละวัน ว่าใช้จ่ายอะไรบ้าง  ต่อวัน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้นำเอกสารแจกให้กับผู้ปกครองนักเรียนจำนวน 100 ชุด เพื่อบันทึกรายรับ - รายจ่ายในแต่ละวัน และนำมาสรุปว่ารายรับ -รายจ่าย ของครัวเรือน ต่อวัน นั้นเป็นอย่างไรบ้าง

     

    155 122

    6. ปฏิบัติการให้ครัวเรือนต้นแบบดำเนินการทำปุ๋ยหมักและเริ่มทำแปลงต้นแบบนาข้าวสังข์หยดอินทรีย์

    วันที่ 10 สิงหาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.นำมูลสัตว์มา 2 ชนิด คือมูลวัวและมูลไก่ 2. รำข้าว 3.กากน้ำตาล 4.นมหมัก 5.หัวเชื้อ 6.น้ำ7.อาหารลูกไก่ **ขั้นตอนในการผสมคือ นำถัง 200 ลิตรมา 1 ถัง บรรจุน้ำให้เต็มแล้วตามด้วยน้ำตาล 20 กิโล นมหมัก 50 ลิตร เอามาคนให้เข้ากัน นำหัวเชื้อนาโน 1 ถุง คนให้เข้ากัน แล้วเก็บไว้ 5 วัน พอเชื้อเดินเต็มถังเปิดฝาออกมาดู นำมูลสัตว์ทั้งหลายมาชั้่งกิโล และนำน้ำเชื้อมาใส่ในมูลสัตว์ทั้งหลายให้เข้ากันโดยการใช้กำลังคนในการคลุกเคล้าให้เข้ากัน หลังจากนั้นนำปุ๋ยที่เสร็จแล้วมาบรรจุลงกระสอบ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สมาชิกในกลุ่มได้รู้วิธีการ และเทคนิคการทำปุ๋ยหมักให้มีคุณภาพและเป็นสูตรที่มีความเหมาะสำหรับการนำไปใช้ในนาข้าว

     

    15 30

    7. ปรชุมทีมคณะกรรมการประชุมเพื่อการขับเคลื่อนที่มีองค์ประกอบจาก 3 ภาคส่วน คือ ภาคประชาชน ท้องถิ่นและหน่วยงานรัฐในพื้นที่

    วันที่ 29 สิงหาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. มีวิทยากรจากธนาคาร ธกส. ให้คำแนะนำ
    2. เปิดให้สมาชิกลงชื่อเพื่อเก็บข้อมูลต่างๆ เกี่ยวกับคนในชุมชน
    3. แนะนำให้สมาชิกเรียนรู้เกี่ยวกับอาหารที่ปลอดสารพิษ อย่างเช่น บริโภคข้าวสังหยดเพื่อสุขภาพของคนในชุมชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สนับสนุนให้สมาชิกบริโภคข้าวสังหยดเพื่อสุขภาพและให้รู้จักการเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย

     

    15 15

    8. ลงพื้นที่เก็บข้อมูลการผลิตข้าวของครัวเรือน และเศรษฐกิจของครัวเรือน รายรับ-รายจ่ายของครัวเรือน

    วันที่ 14 กันยายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. จ้ดเตรียมความพร้อมเกี่ยวกับเอกสารรายรับ-รายจ่าย
    2. ชี้แจงให้สมาชิกเข้าใจในเรื่องของการบันทึกเอกสารรายรับ-รายจ่าย
    3. แนะนำให้สมาชิกรู้จักใช้จ่ายอย่างพอเพียงกับรายรับที่ได้มา

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สามารถทำให้สมาชิกในกลุ่มรู้จักการใช้จ่ายอย่างประหยัดและรู้จักออม และได้บันทึกข้อมูลเอาไว้เพื่อมาเปรียบเทียบรายรับ-รายจ่ายว่าเป็นอย่างไรบ้าง

     

    45 150

    9. เวทีคืนข้อมูลเศรษฐกิจชุมชนบ้านควนพัง

    วันที่ 21 กันยายน 2557 เวลา 10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. จัดเวทีเพื่อคืนข้อมูลต่างๆให้กับคนในชุมชน
    2. สามารถทำให้ประชาชนตระหนักถึงสภาพปัจจุบันว่าเป็นอย่างไร
    3. เปิดรับสมัครประชาชนในพื้นที่เพื่อเข้าร่วมโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ประชาชนได้รู้ถึงข้อมูลสถานการณ์เศรษฐกิจของคนในชุมชน
    2. สามารถนำข้อปฏิบัติต่างๆไปใช้ให้เกิดประโยชน์
    3. ประชาชนได้เข้ามาเป็นสมาชิกของโครงการ และพร้อมที่จะร่วมมือกับโครงการเพื่อให้ได้ประสิทธิภาพสูงสุด

     

    155 140

    10. ประชุมคณะทำงานโครงการ

    วันที่ 26 กันยายน 2557 เวลา 15:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. วางแผนการดำเนินงานให้เป็นไปตามระบบ
    2. กำหนดขั้นตอนและการรวมกลุ่มของคนในชุมชนเพื่อเข้าร่วมโครงการ
    3. ตั้งกลไกในการติดตามผลการดำเนินงาน
    4. ประเมินและให้กำลังใจ และความช่วยเหลือให้กับสมชิกในโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สมาชิกในกลุ่มได้รู้ถึงข้อตกลงต่างๆเกี่ยวกับโครงการ และมีการกำหนดขั้นตอนและการติดตามผลการดำเนินงาน รวมทั้งประเมินผล  ชี้แนะ ให้กำลังใจและความช่วยเหลือให้กับสมาชิกในโครงการ

     

    15 15

    11. เปิดเวทีพูดคุยเพื่อระดมความคิดเกี่ยวกับการออกแบบท่าออกกำลังกายจากเครื่องมือแปรรูปข้าวสังข์หยด

    วันที่ 13 ตุลาคม 2557 เวลา 10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มีกิจกรรมการแสดงกลองยาวโดยมีท่าเกึ่ยวกับการสีข้าวสังหยดและท่าอื่นๆร่วมเพื่อใช้ออกกำลังกาย

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สร้างความสนุกให้เกิดในชุมชนและทำให้คนในชุมชนรู้จักใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ทำให้มีสุขภาพที่ดีขึ้นมีความปรองดองกันมากขึ้น

     

    40 40

    12. ประชุมคณะทำงานเพื่อติดตามผลการดำเนินโครงการ

    วันที่ 24 ตุลาคม 2557 เวลา 15:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.มีการชี้แจงผลการดำเนินโครงการ 2.วางแผนการทำงานในขั้นตอนต่อไป 3.แบ่งกลุ่มสมาชิกเพื่อแยกกันทำงานอย่างมีขั้นตอน
    4.ระบุเวลาในการประเมินผลการทำงานให้กับสมาชิกในกลุ่มได้ทราบ
    5.ให้สมาชิกแสดงความคิดเห็นเพิ่มเติ่มและให้กำลังใจซึ่งกันและกันในการทำงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ในการประชุมคณะการทำงานในครั้งนี้ ได้มี ภาคองค์กร 3 ภาคส่วน คือ ประชาชน ท้องถิ่น และหน่วยงานของรัฐ ได้เข้ามาให้ความร่วมมือในด้านความรู้ และการปฏิบ้ติงานให้เป็นไปอย่างมีระบบ ทำให้สมาชิกในกลุ่มได้รู้ถึง การวางแผนการทำงาน และได้แบ่งสมาชิกทำงานเป็นกลุ่มตามความถน้ดของแต่ละคน ทำให้ผลงานที่ได้ปฏิบัตินั้นมีประสิทธิภาพ  และสามารถสร้างความสามัคคีภายในโครงการได้เป็นอย่างดี

     

    15 15

    13. ประชุมเพื่อเตรียมการจัดทำรายงานกิจกรรมงวดที่ 1

    วันที่ 5 พฤศจิกายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.คณะทำงานทำการเก็บข้อมูลเกี่ยวกับโครงการ 2.เตรียมเอกสารการประกอบการทำรายงาน 3.ร่วมกันใช้ความคิดในการรายงานกิจกรรมงวดที่1

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้จัดทำรายงานกิจกรรมกิจกรรมงวดที่ 1 ตามข้อมูลที่จัดทำโครงการโดยการลงมือปฏิบัติจริงและดำเนินการได้อย่างเป็นขั้นตอน โดยร่วมทำรายงานกับพี่เลี้ยงกับ สจรส. มอ และได้ชี้แนะข้อมูลในการทำรายงานและขั้นตอนในการทำรายงานของกิจกรรมงวดที่ 1 ได้อย่างถูกต้อง

     

    3 3

    14. จัดกิจกรรมรณรงค์การใช้ท่าออกกำลังกายเพื่อแปรรูปข้าวสังข์หยด

    วันที่ 15 พฤศจิกายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.รวบรวมสมาชิกในการออกกำลังกาย 2.เตรียมความพร้อมในการทำกิจกรรม 3.ดำเนินกิจกรรมตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้ 4 ให้สมาชิกในกลุ่มแสดงความคิดเห็นในกิจกรรมนี้ว่าได้ประโยชน์อย่างไรบ้าง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ทำให้สมาชิกในกลุ่มได้ช่วยกันสีข้าวด้วยท่าออกกำลังกายที่แตกต่างกันไป ซึ่งแต่คนสามาถคิดท่าในการสีข้าวด้วยครกสีได้ตามความชอบของตน และสร้างมิตรภาพที่ดีต่อกันของคนในกลุ่ม ทำให้มีความสนุกสนาน รื่นเริ่ง ส่งผลให้มีสุขภาพร่างกายและสุขภาพจิตที่ดีขึ้น และที่สำคัญคือ คนในชุมชนได้นำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ในการสีข้าวด้วยครกสี สามารถสร้างแรงบันดาลใจให้กับคนรุ่นใหม่ได้หันมาออกกำลังกายแบบนี้มากขึ้น

     

    100 70

    15. ประชุมคณะทำงานเพื่อติดตามผลการดำเนินโครงการ

    วันที่ 28 พฤศจิกายน 2557 เวลา 15:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.แจ้งรายละเอียดของโครงการที่ทำ 2.รับฟังข้อคิดเห็นของคณะกรรมการการทำงาน เพื่อนำมาทำรายงาน 3.ประเมินผลการดำเนินงาน 4.จัดทำรายงานผลการดำเนินงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ในการประชุมคณะการทำงานในครั้งนี้ ได้มี ภาคองค์กร 3 ภาคส่วน คือ ประชาชน ท้องถิ่น และหน่วยงานของรัฐ ได้เข้ามาให้ความร่วมมือในด้านความรู้ ประเมินผลการดำเนินงาน และการปฏิบ้ติงานให้เป็นไปอย่างมีระบบ ให้ผลงานที่ได้ปฏิบัตินั้นมีประสิทธิภาพ  และสามารถสร้างความสามัคคีภายในโครงการได้เป็นอย่างดี คณะการทำงานจึงได้จัดทำรายงานตามผลที่ดำเนินงานไว้ได้อย่างถูกต้อง

     

    15 15

    16. ประชุมเพื่อจัดตั้งกลุ่มแปรรูปพร้อมทั้งกำหนดกติกาของกลุ่ม

    วันที่ 13 ธันวาคม 2557 เวลา 10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ทำการแบ่งกลุ่มเพื่อทำการแปรรูปข้าวสังหยดจากสุขภาพสู่สุขภาพ 2.สมาชิกของแต่ละกลุ่มกำหนดกติกาในการทำการแปรรูป 3เปิดโอกาสให้สมาชิกแต่ละกลุ่มแสดงความคิดเห็นต่อกิจกรรมการแปรรูป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ทำให้เกษตรกรภายในชุมชนมีความปรองดอง รู้จักช่วยเหลือและแก้ไขปัญหาต่างๆได้เป็นอย่างดี และทำให้เกษตรกรมีความรู้เกี่ยวกับกิจกรรมการแปรรูปข้าวสังหยดจากสุขภาพสู่สุขภาพดีที่มากขึ้น

     

    40 40

    17. ประชุมคณะทำงานเพื่อติดตามผลการดำเนินโครงการ

    วันที่ 26 ธันวาคม 2557 เวลา 15:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.มีการชี้แจงผลการดำเนินโครงการ 2.วางแผนการทำงานในขั้นตอนต่อไป 3.แบ่งกลุ่มสมาชิกเพื่อแยกกันทำงานอย่างมีขั้นตอน
    4.ระบุเวลาในการประเมินผลการทำงาน 5.ให้สมาชิกแสดงความคิดเห็น

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ในการประชุมคณะการทำงานในครั้งนี้ ได้มี ภาคองค์กร 3 ภาคส่วน คือ ประชาชน ท้องถิ่น และหน่วยงานของรัฐ ได้เข้ามาให้ความร่วมมือในด้านความรู้ และการปฏิบ้ติงานให้เป็นไปอย่างมีระบบ ทำให้สมาชิกในกลุ่มได้รู้ถึง การวางแผนการทำงาน ทำให้ผลงานที่ได้ปฏิบัตินั้นมีประสิทธิภาพ  และสามารถสร้างความสามัคคีภายในโครงการ

     

    15 15

    18. ประชุมคณะทำงานและตัวแทนกลุ่มต่าง ๆ เพื่อยกร่างการจัดตั้งกองทุนข้าวสังข์หยดบ้านควนพัง

    วันที่ 10 มกราคม 2558 เวลา 10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ชี้แจงข้อมูลเพื่อยกร่างการจัดตั้งกองทุนข้าวสังหยด 2.แจ้งวัตถุประสงค์ในการจัดตั้งกองทุนข้าวสังหยด 3.วางแผนงานการจัดตั้งกองทุน 4 เปิดโอกาสให้ สมาชิกทุกกลุ่มได้แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดตั้งกองทุนข้างสังหยด

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ชี้แจงให้สมาชิกทุกคน ทุกกลุ่ม ทราบถึงการยกร่างการจัดตั้งกองทุนข้าวสังหยด ว่าต้องมีระเบียบการเป็นอย่างไร จะปฏิบัติกันอย่างไร ได้เปิดโอกาสให้แสดงความคิดเห็นร่วมกัน เพื่อให้การจัดตั้งกองทุนข้าวสังหยดเป็นกลุ่มที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น

     

    40 40

    19. ประชุมคณะทำงานเพื่อตอดตามผลการดำเนินโครงการ

    วันที่ 23 มกราคม 2558 เวลา 15:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.มีการชี้แจงผลการดำเนินโครงการ 2.วางแผนการทำงานในขั้นตอนต่อไป
    3.ระบุเวลาในการประเมินผลการทำงาน 4.ให้สมาชิกแสดงความคิดเห็น

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ในการประชุมคณะการทำงานในครั้งนี้ ได้มี ภาคองค์กร 3 ภาคส่วน คือ ประชาชน ท้องถิ่น และหน่วยงานของรัฐ ได้เข้ามาให้ความร่วมมือในด้านความรู้ ประเมินผลการดำเนินงาน และการปฏิบ้ติงานให้เป็นไปอย่างมีระบบ ให้ผลงานที่ได้ปฏิบัตินั้นมีประสิทธิภาพ  และสามารถสร้างความสามัคคีภายในโครงการได้เป็นอย่างดี คณะการทำงานจึงได้จัดทำรายงานตามผลที่ดำเนินงานไว้ได้อย่างถูกต้อง

     

    15 15

    20. เปิดเวทีสาธารณะในหมู่บ้านเพื่อรับฟังข้อเสนอแนะต่อร่างแนวทางการจัดตั้งกองทุนข้าวสังข์หยดบ้านควนพัง

    วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา 10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ชี้แจงการนำเสนอแนวทางในการจัดตั้งกองทุน 2.เปิดเวทีให้ประชาชนได้สอบถามข้อมูลของกองทุน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ในการเปิดเวทีสาธารณะในหมู่บ้านครั้งนี้ เพื่อที่จะให้ประชาชนรับฟังข้อเสนอแนะต่อร่างแนวทางการจัดตั้งกองทุนข้าวสังหยด และได้เปิดโอกาสให้ประชาชนได้สอบถามข้อมูลเกี่ยวกับกองทุน

     

    100 100

    21. ประชุมติดตามการจัดทำรายงานงวด

    วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.จัดทำเอกสารเพื่อทำรายงานงวด 2.แสดงข้อมูลรายงานให้กับพี่เลี้ยงรับทราบ 3.แก้ใขข้อบกพร่องที่เกิดจากการทำรายงานให้ถูกต้อง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้มีความรู้เพิ่มเติมในการทำรายงานงวดโดยมีพี่เลี้ยงคอยช่วยเหลือและให้คำแนะนำแก้ไขข้อมูลให้ถูกต้อง 

     

    3 3

    22. ประชุมคณะทำงานโครงการเพื่อติดตามผลการดำเนินงาน

    วันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา 15:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.เตรียมข้อมูลเพื่อใช้ในการประชุมติดตามผลการดำเนินงาน 2.ชี้แจงข้อมูลให้กับคณะทำงานในโครงการทราบ 3. คณะทำงานร่วมกันเสนอข้อคิดเห็นในการทำโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ในการประชุมคณะทำงานครั้งนี้ เพื่อติดตามผลการดำเนินงาน ชี้แจงข้อมูลต่างๆ เกี่ยวกับการโครงการให้คณะทำงานรับทราบ และเปิดโอกาสให้คณะทำงานได้ร่วมกันเสนอข้อคิดเห็นต่างๆ ร่วมกัน  จึงทำให้เกิดสามัคคีกันในการทำงาน

     

    15 15

    23. จัดเวทียื่นข้อเสนอจากชุมชนต่อองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

    วันที่ 13 มีนาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    สรุปข้อมูลต่างๆ เกี่ยวกับโครงการยื่นข้อแนวทางและมาตราการการจัดตั้งกองทุนข้าวสังหยดชุมชนเพื่อสร้างอาชีพให้กับตำบลอื่นรับทราบ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ในการจัดเวทียื่นข้อเสนอชุมชนต่อองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในครั้งนี้ สามารถสร้างอาชีพให้กับหมู่บ้านอื่นได้เป็นอย่างดี สร้างมิตรภาพที่ดีต่อกัน และได้แลกเปลี่ยนความรู้ในการทำงานให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

     

    80 80

    24. ประชุมคณะทำงานโครงการเพื่อติดตามผลการดำเนินโครงการ

    วันที่ 27 มีนาคม 2558 เวลา 15:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.เตรียมเอกสารเพื่อใช้ชี้แจงในที่ประชุม 2.รวบรวมข้อมูลต่างๆ เพื่อแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับโครงการ 3.ระดมความคิดเห็นให้ที่ประชุมรับทราบ 4.สรุปและติดตามผลในการทำโครงการตามเป้าหมายที่ตั้งไว้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนการดำเนินงาน  สรุปและติดตามผลการดำเนินงานของโครงการให้บรรลุตามเป้าหมายที่ตั้งไว้

     

    15 15

    25. ประชุมคณะทำงานเพื่อติดตามผลการดำเนินโครงการ

    วันที่ 10 เมษายน 2558 เวลา 15:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.แนะนำและช่วยเหลือสมาชิกในการทำงานของโครงการ 2.ร่วมแสดงความคิดเห็นในการทำงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ในการประชุมครั้งนี้นั้น สามารถสร้างความสามัคคีของสมาชิกในกลุ่ม และได้แสดงความคิดเห็นร่วมกันในการทำงาน จึงทำให้การดำเนินงานของโครงการเป็นไปตามเป้าหมายที่วางไว้

     

    15 15

    26. ประชุมคณะทำงานโครงการเพื่อจัดทำรายงานสรุปปิดโครงการ

    วันที่ 26 เมษายน 2558 เวลา 14:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดเตรียมข้อมูลเพื่อสรุปผลการทำโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้จัดทำเอกสารต่างๆ เกี่ยวกับการทำรายงานปิดโครงการและสรุปผลการดำเนินงาน

     

    15 15

    27. ประชุมร่วมกับ สจรส. มอ.

    วันที่ 8 พฤษภาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    รับฟังข้อมูลเตรียมปิดสรุปโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้เข้าร่วมรับฟังขัอมูลในการติดตามผลงาน และวิเคราะห์นวัตกรรมเพื่อเตรียมปิดสรุปโครงการ

     

    2 2

    28. ประชุมคณะทำงานโครงการประจำเดือน

    วันที่ 22 พฤษภาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.จัดเตรียมข้อมูลในการประชุม 2.ชี้แจงรายละเอียดาของโครงการ 3.สรุปและติดตามผลการดำเนินโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ให้สมาชิกในกลุ่มรับทราบถึงข้อมูลรายละเอียดต่างๆ เกี่ยวกับโครงการเพื่อใช้ในการติดตามผลและสรุปปิดการทำโครงการ

     

    15 15

    29. ประชุมคณะทำงานเพื่อสรุปโครงการ

    วันที่ 26 มิถุนายน 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดทำรายงานเพื่อสรุปโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ในการทำกิจกรรมครั้งนี้ คณะการทำงานได้จัดทำรายงานเพื่อสรุปการทำโครงการของปีนี้ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

     

    15 15

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชนในการเพิ่มพื้นที่การผลิตข้าวสังหยดอินทรีย์ของชุมชน
    ตัวชี้วัด : 1. จำนวนหมู่บ้านที่มีผู้เข้าร่วมโครงการเพิ่มขึ้น จำนวนพื้นที่ปลูกข้าวสังหยดจำนวน 20 .ไร่ 2. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมการปลูกข้าวสังข์หยด ปรับพฤติกรรมการปลูกโดยใช้สารอินทริย์แทนสารเคมี
    1. เกิดการเรียนรู้ร่วมกันของคนในชุมชน เกิดการประสานการทำงานร่วมกันระหว่างกลุ่มองค์กรในชุมชนคือกลุ่มมั่งมีสังฆภัณฑ์ และผู้นำท้องถิ่นทั้งผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 2 และหมู่ที่ 4 รวมถึงองค์การบริหารส่วนตำบลควนพัง ที่มาร่วมกันทำงานภายในเป้าหมายเดียวกันคือการเพิ่มพื้นที่ผลิตข้าวสังข์หยดอินทรีย์ และการส่งเสริมสุขภาพตามวิถีภูมิปัญญาชุงคนในชุมชนโโยในส่วนพื้นที่ปลูกข้าวนั้นมีพื้นที่เพิ่มขึ้นจำนวน 160 ไร่ มีเกษตรเพิ่มขึ้น 16 ราย
    2. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมการปลูกข้าวสังข์หยด 145 คน ปรับพฤติกรรมการปลูกโดยใช้สารอินทรีย์แทนสารเคมี ประมาณ 90 ราย คิดเป็นร้อยละ 62
    2 ส่งเสริมสุขภาพคนในชุมชนด้วยการออกกำลังกายแบบใหม่
    ตัวชี้วัด : 1. จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมออกกำลังกายโดยการสีข้าวด้วยครกสี 2. ผู้เข้าร่วมโครงการมีสุขถาพดีขึ้นโดยพิจารณาจากผลการสำรวจค่า BMI ของผู้เข้าร่วมกิจกรรม
    1. เกิดกลุ่มออกกำลังกายโดยการแปรรูปข้าวสังข์หยด โดยการสีข้าวด้วยครกสี 1 กลุ่มมีสมาชิก 22 คน
    2. ผู้เข้าร่วมโครงการมีสุขภาพดีขึ้น คิดเป็นร้อยละ 70 โดยพิจารณาจากผลการสำรวจค่า BMI ของผู้เข้าร่วมกิจกรรม
    3 เพื่อสร้างกระบวนการกลุ่มในการลดรายจ่าย-เพิ่มรายได้ให้กับคนในชุมชน
    ตัวชี้วัด : 1. จำนวนสมาชิกในกลุ่มมีรายได้เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า 300 บาท/เดือน

    สมาชิกในกลุ่ม 40 ราย มีรายได้เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า 300 บาท/เดือน จำนวน 20 คน โดยมีรายได้มาจากแปรรูปข้าวสังข์หยดและการจำหน่ายผ่านทางกลุ่ม

    4 เพื่อการบริหารจัดการและการติดตามประเมินผลโครงการ
    ตัวชี้วัด : จำนวนครั้งในการเข้าร่วมกิจกรรมกับ สสส. และ สจรส.

    เข้าร่วมกิจกรรมกับ สสส. และ/หรือ สจรส.ม.อ. ทุกครั้งที่มีการจัดประชุม

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชนในการเพิ่มพื้นที่การผลิตข้าวสังหยดอินทรีย์ของชุมชน (2) ส่งเสริมสุขภาพคนในชุมชนด้วยการออกกำลังกายแบบใหม่ (3) เพื่อสร้างกระบวนการกลุ่มในการลดรายจ่าย-เพิ่มรายได้ให้กับคนในชุมชน (4) เพื่อการบริหารจัดการและการติดตามประเมินผลโครงการ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

    ชื่อโครงการ ข้าวสังหยดขับเคลื่อนชุมชนท้องถิ่นให้น่าอยู่ที่บ้านควนพัง

    รหัสโครงการ 57-01470 รหัสสัญญา 57-00-1079 ระยะเวลาโครงการ 10 มิถุนายน 2557 - 10 กรกฎาคม 2558

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

    • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
    • กระบวนการชุมชน
    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

    องค์ความรู้ใหม่ที่เกิดขึ้นในชุมชนคือองค์ความรู้เกี่ยวกับการผลิตปุ๋ยอนทรีย์ชีวภาพที่เหมาะสมกับการปลูกข้าวสังหยด ซึ่งได้รับการถ่ายทอดความรู้จาก อ.เลิศชาย จากมหาวิทยาลัยชีวิต ที่ได้ศึกษาสูตรการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ที่เหมาะสมกับการปลูกข้าวอินทรีย์มานานหลายปี มาสร้างเป็นสูตรปุ๋ยอินทรีที่หาวัตถุดิบได้ในชุมชน

    กิจกรรมการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ของชุมชน

    มีการร่วมกลุ่มกันของชาวบ้านเพื่อจัดตั้งเป็นกลุ่มปุ๋ยชุมชน ตามสูตรที่เป็นองค์ความรู้ใหม่ของชุมชน และได้รับการสนับสนุนให้ดำเนินการอย่างต่อเนื่องจากเกษตรอำเภอร่อนพิบูลย์

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. กระบวนการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

    เกิดวิธีการทำงานใหม่ในชุมชนคือการทำงานโดยใช้เครือข่ายชุมชนในนามกลุ่มมั่งมีสังฆภัณฑ์เป็นคนขับเคลื่อนงานต่าง ๆ แทนที่เดิมจะมีกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน แลั อบต. เป็นแกนนำคิดและทำกิจกรรมต่าง ๆในชุมชน แต่เมื่อดำเนินโครงการนี้ ผู้นำเป็นศักยภาพของคนตัวเล็กตัวน้อยในชุมชน จึงให้แกนนำสตีในชุมชนเป็นแกนนำ ผู้นำท้องถิ่นเป็นผู้หนุนเสริม

    หลักฐานจะเป็นได้จากรายงานการประชุมคณะทำงานโครงการที่มีประธานกลุ่มมั่งมีสังฆภัณฑ์เป็นแกนในการขับเคลื่อนงาน และเห็นได้จากข้อเสนอต่างๆในการจัดกิจกรรมที่มาจากกลุ่มเป้นหลัก

    ขยายความเข้มแข็งของกลุ่มโดยจะต้องมีกิจกรรมที่ดำเนินการอย่างต่อเนื่อง ซึ่งอาจได้รับการสนับสนุนจาก สสส. หรือ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

    เกิดกลุ่มใหม่ในชุมชนคือกลุ่มผลิตข้าวสังข์หยดอินทรีย์ชีวภาพ ซึ่งก่อนดำเนินโครงการมีผู้ผลิตเพียง 2-3 ราย แต่เมื่อดำเนินโครงการมีสมาชิกกลุ่มผู้ผลิตข้าวสังข์หยดอินทรีย์ชีวภาพมากถึง 40 ครัวเรือน ซึ่งทั้งหมดยินดีรวมตัวกันเป็นกลุ่มผู้ผลิตข้าวสังข์หยดอินทรีย์ชีวภาพบ้านควนพัง และดำเนินการผลิตตามกติกาของกลุ่ม

    รายชื่อสมาชิกกลุ่มผลิตข้าวสังข์หยดอินทรีย์ชีวภาพบ้านควนพัง

    ขยายสมาชิกกลุ่มและร่วมกันพัฒนาต่อยอดการแปรรูปผลผลิตเพื่อสร้างคุณค่าเพิ่มให้กับข้าวและสร้างรายได้เพิ่มให้กับสมาชิกของกลุ่มด้วย

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

    เกิดพื้นที่เรียนรู้ใหม่คือที่บ้าน นายมั่งส้มนิ่ม ซึ่งการเป็นแหล่งเรียนรู้ในการผลิตปุ๋ยหมักอินทรีย์ชีวภาพ และแหล่งเรียนรู้การแปรรูปข้าวสังข์หยดอินทรีย์ที่ส่งเสริมการออกกำลังกายของคนในชุมชน

    ภาพกิจกรรมในแหล่งเรียนรู้

    พัฒนาแหล่งเรียนรู้ให้เป็นศูนย์เรียนรู้การผลิตข้าวสังข์หยดอินทรีย์ชีวภาพครบวงจร

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การบริโภค

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การออกกำลังกาย

    มีการจัดกิจกรรมส่งเสริมการออกกำลังโดยการแปรรูปข้าวสังข์หยดด้วยการสีมือ คือให้กลุ่มที่เต้นแอร์โรบิคมาออกกำลังกายโดยการสีข้าวสังข์หยด และผู้ที่มาออกกำลังกายก็จะได้ข้าวสารกลับไปเป็นสิ่งติบแทนด้วย

    ภาพกิจกรรมการสีข้าวเพื่อออกกำลังกาย

    ควรมีการขยายรูปแบบ หรือท่าออกกำลังกายให้หลากหลายขึ้น เพื่อให้เหมาะกับการออกกำลังกายในทุกช่วงวัย

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

    มีการใช้ภูมิปัญญาในการปลูกข้าวสังข์หยดตามวิถีดั้งเดิมที่ใช้ปุ๋ยอินทรีย์ในการผลิต การกำจัดวัชพืชโดยวิถีธรรมชาติ การกำจัดหนูและหอยเชอร์รี่โดยใช้สารสนมุนไพร ตามภูมิปัญญาดั้งเดิมของชุมชนการเก็บเกี่ยวผลผลิตโดยการลงแขกใช้ แกราะ เกี่ยวข้าวทีละรวงเพื่อรักษาผลผลิตให้ได้สูงสุด

    ภาพวิถีการผลิตข้าวสังข์หยดอินทรีย์ที่ใช้ภูมิปัญญาดั้งเดิม

    นำเสนอแนวทางการใช้ภูมิปัญญาในการเก็ยข้าวต่อ อบต. เพื่อฟื้นฟูกิจกรรมเหล่านี้ให้เป็นกิจกรรมหลักของตำบล เป็นงานลงแขกเก็บข้าวของคนทั้งตำบล

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    9. อื่นๆ

     

     

     

    3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

    มีการปรับสภาพแวดล้อมในชุมชนโดยการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพในการทำนา ทำให้สภาพดินและน้ำในชุมชนดีขึ้น และที่สำคัญคือมีการเพิ่มพื้นที่นาอินทรีย์ในชุมชนจากเดิมมีเพียง 20 ไร่ ให้เพิ่มเป็นกว่า 200 ไร่ ในปัจจุบัน

    ภาพแปลงนาอินทรย์ และการจัดทำปุ๋ยอินทรีย์ของชุมชน

    ควรมีการพัฒนาให้เกิดเป็นโรงปุ๋ยอินทรีย์ชุมชน และร่วมกับ อบต. ในการจัดการขยะเปียกในชุมชนให้นำมาทำปุ๋ยอินทรีย์

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

    เกิดพื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาพ คือพื้นที่บ้านลุงมั่งส้มนิ่ม ซึ่งเป็นแหล่งเรียนรู้ที่เด็กๆ มักมารวมตัวกันในวันเสาร์ อาทิตย์ เพื่อเรียนรู้เรื่องเกษตรอินทรีย์ และเรื่องการส่งเสริมอาชีพ เด็กได้เรียนทำปุ๋ย ได้เรียนการทำดอกไม้ประดิษฐ์ ได้เก็บไข่ และได้เรียนรู้ชีวิตวิถีพอเพียงในแปลงนาอินทรีย์ใกล้บ้าน

    กิจกรรมต่าง ๆที่จัดในแหล่งเรียนรู้บ้านลุงมั่ง ส้มนิ่ม

    ควรมีการขยายผลพัฒนาแหล่งเรียนรู้ให้มีหลักสูตรการเรียนรู้ที่ชัดเจน และมีการพัฒนาให้เป็นแหล่งเรียนรู้การผลิตข้าวสังข์หยดอินทรีย์ชีวภาพครบวงจร

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

    ชาวบ้านมีรายได้เพิ่มขึ้นจากการผลิตข้าวสังข์หยดอินทรีย์ ซึ่งเมื่อผลิตตามวิธีที่คณะทำงานโครงการร่วมกันกำหนดผลผลิตที่ได้ต่อไร่จะสูงขึ้นมาก ทำให้ชาวนาทำงานงานน้อยลง แต่มีรายได้มากขึ้น สามารถสร้างรายได้ให้ผู้ที่เข้าร่วมโครงการเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าครัวเรือนละ 3000 บาทต่อเดือน

    บันทึกรายรับรายจ่ายของครัวเรือน

    ควรขยายผลการแปรรูปผลิตภัณฑ์ให้หลากหลายมากขึ้นเพื่อเพิ่มมูลค่าของข้าวสังข์หยด

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. อื่นๆ

     

     

     

    4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

    เกิดกติกาของชุมชนในการผลิตข้าวสังข์หยดอินทรีย์ชีวภาพว่าจะต้องผลิตตามกระบวนการที่กลุ่มกำหนด และเกิดกติการของกลุ่มแปรรูปข้าวสังข์หยดด้วยการออกกำลังกายว่าผู้ที่มาออกกำลังกายด้วยข้าวสังข์หยดจะได้ข้าวสารกลับไปคนละ ครึ่งกิโลต่อครั้ง และผู้ที่นำข้าวมาสีก็ไม่ต้องจ่ายค่าสีแต่จ่ายเป็นข้าวสารให้แก่ผู้มาออกกำลังกายแทน

    กติกากลุ่มผลิตข้าวสังข์หยดอินทรีย์ชีวภาพบ้านควนพัง และข้อตกลงร่วมการส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยการแปรรูปข้าว

    ควรเสนอกติกาเหล่านี้ต่อ อบต. เพื่อจัดทำเป็นข้อบัญญัติท้ิงถิ่น

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีธรรมนูญของชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

     

     

     

    5. เกิดกระบวนการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

    จากการดำเนินโครงการเกิดการเชื่อมโยงการทำงานจากเดิมที่เริ่มจากกลุ่มชาวบ้านในนามกลุ่มมั่งมีสังฆภัณฑ์เพียงกลุ่มเดียว ก็เริ่มมีผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 2 เข้าร่วม และเมื่อดำเนินการไปจนเสร็จสิ้นโครงการมีการทำงานร่วมกันของ ผู้ใหญ่อบต. และเกษตรอำเภอ ซึ่งเป็นการสร้างเครือข่ายใหม่ของชุมชนโดยใช้ประเด็นการผลิตข้าวอินทรีย์เป็นตัวเชื่อมให้องค์กรต่าง ๆมาทำงานร่วมกัน

    กิจกรรมการประชุมร่วมกันและทำกิจกรรมร่วมกันของภาคีต่างๆในชุมชน

    ควรพัฒนาต่อยอดประเด็นอื่น ๆในชุมชนให้เครือข่ายได้ทำงานร่วมกัน ร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมแก้ปัญหา ให้เกิดเป็นสภาผู้นำของชุมชนต่อไป

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

    มีการร่วมคิดร่วมคุยเพื่อดำเนินการโครงการอย่างต่อเนื่อง โดยในปีต่อไปได้เสนอโครงการเพื่อรับการสนับสนุนจาก สสส. ต่อในการสร้างศูนย์เรียนรู้การผลิตข้าวสังข์หยดอินทรีย์ชีวภาพครบวงจร และการสร้างปฏิบัติการการแปรรูปผลิตภัณฑ์ข้าวสังข์หยดให้มีมูลค่าสูงขึ้น

    ร่างข้อเสนอโครงการเพื่อการจัดตั้งศูนย์เรียนรู้การผลิตข้าวสังข์หยดอินทรีย์ชีวภาพครบวงจร

    ควรมีการเชื่อมโยงการทำงานกับ อบต. เพื่อหนุนเสริมการทำงานในพื้นที่อย่างต่อเนื่อง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

     

     

     

    6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

    ประชาชนในพื้นที่ที่เข้าร่วมโครงการมีความภูมิใจและปรับวิถีชีวิตมาใช้ชีวิตอย่างพอเพียง เปลี่ยนวิถีการผลิตจากการผลิตยางพาราเพียงอย่างเดียว มาเป็นการปลูกข้าว ปลูกยาง และสร้างสวนสมรม ที่เน้นปลูกทุกอย่างที่กิน กินทุกอย่างที่ปลูก ใช้ชีวิตอย่างพอเพียงภายในกระแสเศรษฐกิจที่ค่าครองชีพสูงขึ้นทุกวันได้อย่างเป็นสุข

    บันชีรายรับ รายจ่าย ของครัวเรือนที่เปลี่ยนวิถีการผลิตจากการปลูกยางพาราเพียงอย่างเดียวมาเป็นการปลูกข้าว ปลูกยาง เลี้ยงสัตว์

    ควรผลิตสื่อเพื่อขยายผลแนวคิดการปรับเปลี่ยนวิถีการผลิตสู่ชีวิตพอเพียงเพื่อขยายผลให้คนในชุมชนได้รับรู้และตระหนักถึงการเปลี่ยนแปลงนี้

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. อื่นๆ

     

     

     

    ข้าวสังหยดขับเคลื่อนชุมชนท้องถิ่นให้น่าอยู่ที่บ้านควนพัง จังหวัด นครศรีธรรมราช

    รหัสโครงการ 57-01470

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางวิมล ส้มนิ่ม )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด