directions_run

ชุมชนตันหยงโป หมู่ที่ 1 ร่วมใจ อนุรักษ์ ฟื้นฟู ทรัพยากรสัตว์น้ำ และทรัพยากรชายฝั่ง

assignment
บันทึกกิจกรรม
กิจกรรมเดินทางประชุมร่วมกับ สสส.และ สจรส.28 พฤศจิกายน 2558
28
พฤศจิกายน 2558รายงานจากพื้นที่ โดย taksina
circle
วัตถุประสงค์

กิจกรรมเดินทางประชุมร่วมกับ สจรส.ปิดรายงาน

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

กิจกรรมเดินทางประชุมร่วมกับ สสส.และ สจรส.

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ตรวจเอกสารทางการเงิน จัดทำรายงานฉบับสมบูรณ์ ปรับแก้ตามคำแนะนำ

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 1 คน จากที่ตั้งไว้ 1 คน
ประกอบด้วย

คณะทำงาน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

เข้าร่วมประชุมปิดโครงการกับพี่เลี้ยง26 พฤศจิกายน 2558
26
พฤศจิกายน 2558รายงานจากพื้นที่ โดย taksina
circle
วัตถุประสงค์

เข้าร่วมประชุมปิดโครงการกับพี่เลี้ยง

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

เข้าร่วมประชุมปิดโครงการกับพี่เลี้ยง

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เข้าร่วมประชุมปิดโครงการกับพี่เลี้ยง

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 1 คน จากที่ตั้งไว้ 2 คน
ประกอบด้วย

คณะทำงาน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

จัดทำรายงานสรุปปิดโครงการ4 ตุลาคม 2558
4
ตุลาคม 2558รายงานจากพื้นที่ โดย taksina
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อจัดทำรายงานสรุปปิดโครงการ

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

จัดทำสรุปปิดโครงการจำนวน 10 เล่ม

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ได้หนังสือสรุปปิดโครงการจำนวน 10 เล่ม

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 1 คน จากที่ตั้งไว้ 1 คน
ประกอบด้วย

นายสอาด กาดีโลน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นางสาวอนัญญา แสะอาหลี
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

ล้างอัดขยายภาพ4 ตุลาคม 2558
4
ตุลาคม 2558รายงานจากพื้นที่ โดย taksina
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อล้าง อัด และขยายภาพ กิจกรรมของโครงการทั้งหมด

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

ดำเนินการล้างอัด ขยาย ภาพทั้งหมด

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ได้ภาพกิจกรรมทั้งหมด 200 ภาพ

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 1 คน จากที่ตั้งไว้ 1 คน
ประกอบด้วย

นายสอาดกาดีโลน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นางสาวอนัญญา แสะอาหลี
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 12 เพื่อปิดโครงการและสรุปผลงาน3 ตุลาคม 2558
3
ตุลาคม 2558รายงานจากพื้นที่ โดย taksina
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อสรุปผลเวทีถอดบทเรียน

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

จัดประชุมคณะทำงาน เพื่อสรุปสรุปผลเวทีถอดบทเรียน และเพื่อปิดโครงการ

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

สุปผลข้อตกลง ระหว่าง ประชาชน ท้องถิ่น ท้องที่ และกลุ่มองค์กรต่างๆในพื้นที่ บ้่านตันหยงโป หมู่ที่ 1
1)กำหนดพื้นที่ทำประมงชายฝั่งได้รับการอนุรักษ์และสงวนไว้สำหรับคนในชุมชนห่างจากฝั่ง 1,000 เมตร ตลอดแนว เขต อ่าวตันหยงโป ความยาว 3,500 เมตร 2)กำหนดการตรวจตราไม่ให้เรือประมงพานิชย์ รุกล้ำเข้ามาทำการประมงในเขตอนุรักษ์ 3)กำหนดให้มีการตรวจตรา การใช้เครื่่องมือผิดกฎหมายในการประมง 4)กำหนดให้มีการปลูกป่าไม้ชายเลน เป็นประจำทุกปีๆละ 2 ครั้ง 5)กำหนดปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำปีละ 2 ครั้ง 6)จัดทำป้ายอนุรักษ์ทรัพยากรสัตว์น้ำ และทรัพยากรชายฝั่ง

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 30 คน จากที่ตั้งไว้ 30 คน
ประกอบด้วย

1) คณะกรรมการหมู่บ้าน 5 คน 2) สมาชิกศูนย์เรียนรู้ทรัพยากรทางทะเล 5 คน 3) เยาวชน 5 คน 4) สมาชิกสภา อบต.ตันหยงโป 2 คน 5) เจ้าหน้าที่ จาก อบต.จำนวน 3 คน
6) ผู้ประกอบอาชีพประมงพื้นบ้าน 9 คน 7) จนท.สภาเกษตรกรจังหวัดสตูล จำนวน 1 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

คนในท้องถิ่นบ้านตันหยงโปขาดความรู้ ความตระหนักถึงความสำคัญของทรัพยากรสัตว์น้ำ และทรัพยากรชายฝั่ง ซึ่งบางครั้งก็เกิดจากการใช้ทรัพยากรสัตว์น้ำ และทรัพยากรชายฝั่งอย่างไม่รู้ค่า มีความเคยชินกับความเชื่อเดิมๆว่า ใช้ไม่หมด และบางครั้งก็เห็นคนอื่นมาทำลายทรัพยากรสัตว์น้ำและทรัพยากรชายฝั่ง ก็ถือว่าไม่ใช่เรื่องของเราคนเดียว ดังนั้นจึงควรต่อโครงการให้ชุมชนบ้านตันหยงโป ดำเนินการต่อไป

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นางสาวอนัญญา แสะอาหลี
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

เห็นควรให้ชุมชนบ้านตันหยงโปดำเนินการโครงการต่อไปในระยะที่ 2

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ควรให้ความเห็นให้ชุมชนตำบลตันหยงโป ดำเนินการในปีที่ 2 ต่อไป เพื่อความต่อเนื่องของโครงการ

เวทีสรุปถอดบทเรียน29 กันยายน 2558
29
กันยายน 2558รายงานจากพื้นที่ โดย taksina
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อประชุมตรวจเช็คผลการดำเนินการว่าชุมชนได้อะไรบ้างจากการจัดทำโครงการ

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

ประชุมร่วมระหว่างคณะทำงาน ผู้บริหารองค์การบริหารส่วนตำบลตันหยงโป สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลตันหยงโป ฝ่ายปกครองตำบลตันหยงโป แกนนำนำชุมชน  และกลุ่มองค์กรในตำบลตันหยงโป จำนวน 50 คน

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

สรุปผล จากเวทีถอดบทเรียน ปัญหาอุปสรรคในการดำเนินกิจกรรม
1.การขาดความร่วมมือของชาวประมงบางส่วนในพื้นที่ 2.การขาดความร่วมมือของชาวประมงมาจากนอกพื้นที่ 3.การขาดงบประมาณในการจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ ในการดำเนินงาน ผลจากการดำเนินกิจกรรม 1.ทำให้ปริมาณทรัพยากรสัตว์น้ำเพิ่มขึ้น 2.ทำให้มีป่าชายเลนเพิ่มขึ้น 3.ทำให้เด็กและเยาวชนได้เรียนรู้ และมีจิตสำนึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม 3.ทำให้ชาวประมงมีรายได้เพิ่มขึ้น 4.ทำให้เศรษฐกิจภาพรวมของ ตำบลตันหยงโปดีขึ้น

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 50 คน จากที่ตั้งไว้ 50 คน
ประกอบด้วย

1) คณะกรรมการหมู่บ้าน 5 คน 2) สมาชิกศูนย์เรียนรู้ทรัพยากรทางทะเล 5 คน 3) เยาวชน 20 คน 4) สมาชิกสภา อบต.ตันหยงโป 2 คน 5) เจ้าหน้าที่ จาก อบต.จำนวน 6 คน
ุ6) ผู้ประกอบอาชีพประมงพื้นบ้าน 10 คน 7) จนท.สภาเกษตรกรจังหวัดสตูล จำนวน 2 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ควรมีการต่อโครงการในปีต่อไป

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นางสาวอนัญญา แสะอาหลี
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ควรมีการต่อเนื่องในปีต่อไป เพราะเป็นโครงการที่ดี ต่อชุมชน

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

สนับสนุนให้มีการต่อโครงการในปีต่อไป

ฟื้นฟู และอนุรักษ์ทรัพยากรสัตว์น้ำ และทรัพยากรชายฝั่ง ครั้งที่ 626 กันยายน 2558
26
กันยายน 2558รายงานจากพื้นที่ โดย taksina
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อวางแนวเขตห้ามทำการประมง

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

1.จัดกิจกรรมสร้างจิตสำนึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรทางทะเล และทรัพยากรสัตว์น้ำ 2.นำทุ่นที่จัดทำไว้เรียบร้อยแล้ว ไปวางแนวเขตห้ามทำการประมงต่อจากที่วางไว้ครั้งแรก เป็นระยะความยาว อีก 200เมตร รวมได้ 400 เมตร

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ได้แนวเขตห้ามทำการประมงโดยเด็ดขาด ระยะทาง 200 เมตร รวม ได้ 400 เมตร

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 50 คน จากที่ตั้งไว้ 50 คน
ประกอบด้วย

1) คณะกรรมการหมู่บ้าน 5 คน 2) สมาชิกศูนย์เรียนรู้ทรัพยากรทางทะเล 5 คน 3) เยาวชน 20 คน 4) สมาชิกสภา อบต.ตันหยงโป 2 คน 5) เจ้าหน้าที่ จาก อบต.จำนวน 6 คน
ุ6) ผู้ประกอบอาชีพประมงพื้นบ้าน 10 คน 7) จนท.สภาเกษตรกรจังหวัดสตูล จำนวน 2 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ขาดงบประมาณในการจัดชื้อวัสดุอุปกรณ์ในการทำทุ่นแนวเขต ซึ่งยังขาดอยู่อีก 3,000 เมตร

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นางสาวอนัญญา แสะอาหลี
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

ฟื้นฟู และอนุรักษ์ทรัพยากรสัตว์น้ำ และทรัพยากรชายฝั่ง ครั้งที่ 521 กันยายน 2558
21
กันยายน 2558รายงานจากพื้นที่ โดย taksina
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อเพิ่มปริมาณสัตว์น้ำ และเพิ่มที่อยู่อาศัยของสัตว์น้ำ

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

1.ระดมทุนหาเงินซื้อ เชือก 50 กิโลกรัม ทุ่น 600ลูก

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ได้แนวทุ่น พร้อมที่จะนำไปวางเพื่อกันแนวเขต มีความยาว 200 เมตร

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 50 คน จากที่ตั้งไว้ 50 คน
ประกอบด้วย

1) คณะกรรมการหมู่บ้าน 5 คน 2) สมาชิกศูนย์เรียนรู้ทรัพยากรทางทะเล 5 คน 3) เยาวชน 20 คน 4) สมาชิกสภา อบต.ตันหยงโป 2 คน 5) เจ้าหน้าที่ จาก อบต.จำนวน 6 คน
ุ6) ผู้ประกอบอาชีพประมงพื้นบ้าน 10 คน 7) จนท.สภาเกษตรกรจังหวัดสตูล จำนวน 2 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

การระดมทุนในการหาชื้อวัสดุมีราคาแพง

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นางสาวอนัญญา แสะอาหลี
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

เสนอของบประมาณในการจัดทำแนวทุ่น ซึ่งมีความยาว อีก 3,000

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

เสอความเห็นสนับสนุนในการเสนองบประมาณของกลุ่ม

เวทีบันทึกข้อตกลง ระหว่างประชาชนชุมชน และท้องถิ่น ท้องที (MOU) และรวมวางแผนชุมชนการดำเนินการในระยะต่อไป นำไปสู่ความยั่งยืน18 กันยายน 2558
18
กันยายน 2558รายงานจากพื้นที่ โดย taksina
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อจัดเวทีทำบันทึกข้อตกลง(mou) ระหว่าง ประชาชน ท้องถิ่น ท้องที่ และกลุ่มองค์กรต่างๆ

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

จัดประชุมเพื่อจัดเวทีทำบันทึกข้อตกลง(mou) ระหว่าง ประชาชน ท้องถิ่น ท้องที่ และกลุ่มองค์กรต่างๆ และร่วมวางแผนของชุมชนในการดูแลรักษาทรัพยากรสัตว์น้ำ และทรัพยากรชายฝั่ง

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ข้อสรุปในการจัดทำ (mou) ระหว่าง ประชาชน ท้องถิ่น ท้องที่ และกลุ่มองค์กรต่างๆ 1)กำหนดพื้นที่ทำประมงชายฝั่งได้รับการอนุรักษ์และสงวนไว้สำหรับคนในชุมชนห่างจากฝั่ง 1,000 เมตร ตลอดแนว เขต อ่าวตันหยงโป ความยาว 3,500 เมตร 2)กำหนดการตรวจตราไม่ให้เรือประมงพานิชย์รุกล้ำเข้ามาทำการประมงในเขตอนุรักษ์ 3)กำหนดให้มีการปลูกป่าไม้ชายเลน เป็นประจำทุกปีๆละ 2 ครั้ง 4)กำหนดปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำปีละ 2 ครั้ง 5)จัดทำป้ายอนุรักษ์ทรัพยากรสัตว์น้ำ และทรัพยากรชายฝั่ง

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

เกือบได้ตามเป้าหมาย (2)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 27 คน จากที่ตั้งไว้ 30 คน
ประกอบด้วย

1) คณะกรรมการหมู่บ้าน 5 คน 2) สมาชิกศูนย์เรียนรู้ทรัพยากรทางทะเล 5 คน 3) เยาวชน 5 คน 4) สมาชิกสภา อบต.ตันหยงโป 2 คน 5) เจ้าหน้าที่ จาก อบต.จำนวน 3 คน
6) ผู้ประกอบอาชีพประมงพื้นบ้าน 6 คน 7) จนท.สภาเกษตรกรจังหวัดสตูล จำนวน 1 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

การตรวจเฝ้าระวัง ไม่ให้เรืออวนรุน และเรือประมงพานิชย์ ต้องอาศัยความร่วมมือกันทุกๆฝ่ายไม่ว่าจะเป็น ชาวประมงพื้นบ้าน กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ผู้บริหารท้องถิ่น สมาชิกสภาท้องถิ่น กลุ่มองค์กรต่างๆในพื้นที่

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นางสาวอนัญญา แสะอาหลี
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ขอเสนองบประมาณในการออกตรวจตรา เรือประมงพานิชย์ เรืออวนรุน

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ให้การสนับสนุน กลุ่มตันหยงโปร่วมใจอนุรักษ์ทรัพยากรทางทะเล และทรัพยากรชายฝั่ง

ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 11 เพื่อสรุปผลการทำงานรอบ 1 ปีเพิ่อจัดทำเวทีสรุปถอดบทเรียน13 กันยายน 2558
13
กันยายน 2558รายงานจากพื้นที่ โดย taksina
circle
วัตถุประสงค์

  เพื่อสรุปผลการทำงานรอบ 1 ปีเพิ่อจัดทำเวทีสรุปถอดบทเรียน

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

จัดประชุมคณะทำงานเพื่อสรุปผลงานในรอบปีที่ผ่านมา เพื่อที่จะได้จัด ทำเวทีบันทึกข้อตกลง ระหว่างประชาชน ท้องถิ่น ท้องที่  และร่วมวางแผนในการดำเนินการระยะยาวต่อไป

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลการประชุม ให้ประชาชนทุกท่านปฏิบัติตาม ในมติที่ประชุมดังต่อไปนี้ 1)กำหนดพื้นที่ทำประมงชายฝั่งได้รับการอนุรักษ์และสงวนไว้สำหรับคนในชุมชนห่างจากฝั่ง 1,000 เมตร ตลอดแนว เขต อ่าวตันหยงโป ความยาว 3,500 เมตร 2)กำหนดการตรวจตราไม่ให้เรือประมงพานิชย์รุกล้ำเข้ามาทำการประมงในเขตอนุรักษ์ 3)กำหนดให้มีการปลูกป่าไม้ชายเลน เป็นประจำทุกปีๆละ 2 ครั้ง 4)กำหนดปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำปีละ 2 ครั้ง 5)จัดทำป้ายอนุรักษ์ทรัพยากรสัตว์น้ำ และทรัพยากรชายฝั่ง โดยให้นำเข้าเวทีบันทึกข้อตกลง ระหว่างประชาชนชุมชน ท้องถิ่น ท้องที่ (MOU)

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 30 คน จากที่ตั้งไว้ 30 คน
ประกอบด้วย

1) คณะกรรมการหมู่บ้าน 5 คน 2) สมาชิกศูนย์เรียนรู้ทรัพยากรทางทะเล 5 คน 3) เยาวชน 5 คน 4) สมาชิกสภา อบต.ตันหยงโป 2 คน 5) เจ้าหน้าที่ จาก อบต.จำนวน 3 คน
6) ผู้ประกอบอาชีพประมงพื้นบ้าน 9 คน 7) จนท.สภาเกษตรกรจังหวัดสตูล จำนวน 1 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

การกั้นเนวเขตตามโครงการ มีการวางทุ่นเป็นระยะห่างๆ แต่ละจุด บางครั้งก็ถูกผู้ไม่ประสงค์ดี ทำลาย หรือตัดลอยน้ำ ก่อให้เกิดความเสียหายต่อโครงการ ทางโครงการต้องการที่จะวางทุ่นเล็ก ตลอดแนวอ่าวตันหยงโป ความยาว ๔,๐๐๐ เมตร แต่ต้องใช้งบประมาณเป็นจำนวนมาก

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นางสาวอนัญญา แสะอาหลี
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

เสนอของบประมาณ

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

เพื่อพบพี่เลี้ยงโครงการ12 กันยายน 2558
12
กันยายน 2558รายงานจากพื้นที่ โดย taksina
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อตรวจรายละเอียดโครงการก่อนการปิดโครงการ

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

พบพี่เลี้ยงเพื่อตรวจรายละเอียด แต่ละกิจกรรม

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ปรับแก้กิจกรรมที่มีความผิดพลาด สามารถปิดโครงการได้ตามกำหนดระยะเวลา

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 2 คน จากที่ตั้งไว้ 2 คน
ประกอบด้วย
  1. นายสอาด กาดีโลน
  2. นางทักษิณา ส่องสว่าง
circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นางสาวอนัญญา แสะอาหลี
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

เพื่อติดตามหนุนเสริมการทำงานของพื้นที่12 กันยายน 2558
12
กันยายน 2558รายงานจากพี่เลี้ยง โดย อนัญญา แสะหลี
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อติดตามและหนุนเสริมการทำงานของพื้นที่

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ
  • ปรับปฏิทินโครงการ
  • รายงานข้อมูลการประชุมลงเวบไซค์
  • ชี้แจงทำความเข้าใจการทำงานของพื้นที่
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ปรับปฏิทินโครงการ
  • รายงานข้อมูลการประชุมลงเวบไซค์
  • ชี้แจงทำความเข้าใจการทำงานของพื้นที่
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 2 คน จากที่ตั้งไว้ 2 คน
ประกอบด้วย
  • นางกัลยทรรศน์  ติ้งหวัง
  • นางสาวอนัญญา  แสะหลี
circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข
  • ไม่มี
circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ
  • ไม่มี
circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่
  • ปรับปฏิทินโครงการ
  • รายงานข้อมูลการประชุมลงเวบไซค์
  • ชี้แจงทำความเข้าใจการทำงานของพื้นที่
ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 10 เพื่อวางแผนการเวทีประชุม4 กันยายน 2558
4
กันยายน 2558รายงานจากพื้นที่ โดย taksina
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อผล การสร้างกลไกเป็นเครื่องมือในการกำหนดข้อตกลงร่วมกันให้คนในพื้นที่ได้ปฏิบัติร่วมกันในการอนุรักษ์ทรัพยากรสัตว์น้ำ และทรัพยากรชายฝั่ง

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

ที่ประชุมคณะทำงานเห็นชอบ ข้อตกลงร่วมกันดังนี้ 1)กำหนดพื้นที่ทำประมงชายฝั่งได้รับการอนุรักษ์และสงวนไว้สำหรับคนในชุมชนห่างจากฝั่ง 1,000 เมตร ตลอดแนว เขต อ่าวตันหยงโป ความยาว 3,500 เมตร 2)กำหนดการตรวจตราไม่ให้เรือประมงพานิชย์รุกล้ำเข้ามาทำการประมงในเขตอนุรักษ์ 3)กำหนดให้มีการปลูกป่าไม้ชายเลน เป็นประจำทุกปีๆละ 2 ครั้ง

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ที่ประชุมคณะทำงานเห็นชอบ ข้อตกลงร่วมกันดังนี้ 1)กำหนดพื้นที่ทำประมงชายฝั่งได้รับการอนุรักษ์และสงวนไว้สำหรับคนในชุมชนห่างจากฝั่ง 1,000 เมตร ตลอดแนว เขต อ่าวตันหยงโป ความยาว 3,500 เมตร 2)กำหนดการตรวจตราไม่ให้เรือประมงพานิชย์รุกล้ำเข้ามาทำการประมงในเขตอนุรักษ์ 3)กำหนดให้มีการปลูกป่าไม้ชายเลน เป็นประจำทุกปีๆละ 2 ครั้ง และกำหนดประชาสัมพันธ์ให้ประชาชน ชาวประมงได้รับทราบก่อน โดยประกาศที่มัสยิด หรือ เสียงตามสาย ขององค์การบริหารส่วนตำบล

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 30 คน จากที่ตั้งไว้ 30 คน
ประกอบด้วย

1) คณะกรรมการหมู่บ้าน 5 คน 2) สมาชิกศูนย์เรียนรู้ทรัพยากรทางทะเล 5 คน 3) เยาวชน 5 คน 4) สมาชิกสภา อบต.ตันหยงโป 2 คน 5) เจ้าหน้าที่ จาก อบต.จำนวน 3 คน
6) ผู้ประกอบอาชีพประมงพื้นบ้าน 9 คน 7) จนท.สภาเกษตรกรจังหวัดสตูล จำนวน 1 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ที่ประชุมคณะทำงานเห็นว่า การกั้นเนวเขตตามโครงการ มีการวางทุ่นเป็นระยะห่างๆ แต่ละจุด บางครั้งก็ถูกผู้ไม่ประสงค์ดี ทำลาย หรือตัดลอยน้ำ ก่อให้เกิดความเสียหายต่อโครงการ ทางโครงการต้องการที่จะวางทุ่นเล็ก ตลอดแนวอ่าวตันหยงโป ความยาว ๔,๐๐๐ เมตร แต่ต้องใช้งบประมาณเป็นจำนวนมาก

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นางสาวอนัญญา แสะอาหลี
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ที่ประชุมคณะทำงาน มีความเห็น ว่าควรเสนองบประมาณ สสส. ในการจัดแนวทุนเขตห้ามทำการประมงโดยเด็ดขาด โดยการปิดอ่าวตันหยงโปไปเลย

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

เห็นควรเสนอพี่เลี้ยง ทำความเห็นต่อ สจรส.มอ เพื่อสนับสนุนงบประมาณ จำนวน ๒๐๐,๐๐๐ บาท ในการจัดทำแนวทุ่นประการรัง เพื่อความมั่นคง ทางอาหารของประชาชนในเขต อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

ร่วมประชุมความมั่นคงทางสุขภาวะ4 กันยายน 2558
4
กันยายน 2558รายงานจากพื้นที่ โดย taksina
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อเข้าร่วมกิจกรรมเสริมความรู้ความมั่นคงทางสุขภาวะ

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

เข้าร่วมกิจกรรม"ความมั่นคงทางสุขภาวะ วาระสร้างสุขของคนใต้ ปี ๒๕๕๘" ณ ห้องประชุมนานาชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์  อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ได้เรียนรู้ พลังชุมชนเครือข่ายสุขภาพภาคใต้เพื่อขับเคลื่อนประเทศไทย
  • เข้าร่วมประชุม ความมั่นคงทางสุขภาพ
  • เข้าร่วมประชุมความมั่นคงของมนุษย์
  • เข้าร่วมประชุมความมั่นคงทางอาหาร
  • เข้าร่วมประชุมความมั่นคงทางทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
  • เข้าร่วมประชุมชุมชนน่าอยู่
  • เข้าร่วมประชุมสุขภาวะเด็ก เยาวชน และครอบครัว
  • เข้าร่วมประชุมปัจจัยเสี่ยงภัยคุกคามความสุขของคนใต้
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 2 คน จากที่ตั้งไว้ 2 คน
ประกอบด้วย

๑.นายสอาด กาดีโลน ๒.นางสาวทักษิณา ส่องสว่าง

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

การจัดการบริการด้านอาหารให้ผู้เข้าร่วมประชุมจัดได้ไม่ดีเท่าที่ควร

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นางสาวอนัญญา แสะอาหลี
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

การบริหารจัดการประชุมระดับภาค ความมีความพร้อมทางด้านอาหารด้วยครับ ส่วนได้อื่นดำเนินการได้ในระดับที่ดีมาก ครับ

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

ผลักดันพัฒนากลไกหมู่บ้านจัดการตนเอง วิธีการ ประชุมเชิงปฏิบัติการ เพื่อที่จะได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน21 สิงหาคม 2558
21
สิงหาคม 2558รายงานจากพื้นที่ โดย taksina
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อสร้างกลไกเป็นเครื่องมือในการกำหนดข้อตกลงร่วมกันให้คนในพื้นที่ได้ปฏิบัติร่วมกันในการอนุรักษ์ทรัพยากรสัตว์น้ำ และทรัพยากรชายฝั่ง

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

ประชุมแกนนำชุมชนจำนวน ๕๐ คน เพื่อพิจารณา 1)กำหนดพื้นที่ทำประมงชายฝั่งได้รับการอนุรักษ์และสงวนไว้สำหรับคนในชุมชนห่างจากฝั่ง 1,000 เมตร ตลอดแนว เขต อ่าวตันหยงโป ความยาว 3,500 เมตร 2)กำหนดการตรวจตราไม่ให้เรือประมงพานิชย์รุกล้ำเข้ามาทำการประมงในเขตอนุรักษ์ 3)กำหนดให้มีการปลูกป่าไม้ชายเลน เป็นประจำทุกปีๆละ 2 ครั้ง 4)กำหนดปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำปีละ 2 ครั้ง 5)จัดทำป้ายอนุรักษ์ทรัพยากรสัตว์น้ำ และทรัพยากรชายฝั่ง ที่ประชุมได้แสดงความคิดเห็น และลงมติตามที่ได้เสนอ

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลการประชุม ให้ประชาชนทุกท่านปฏิบัติตาม ในมติที่ประชุมดังต่อไปนี้ 1)กำหนดพื้นที่ทำประมงชายฝั่งได้รับการอนุรักษ์และสงวนไว้สำหรับคนในชุมชนห่างจากฝั่ง 1,000 เมตร ตลอดแนว เขต อ่าวตันหยงโป ความยาว 3,500 เมตร 2)กำหนดการตรวจตราไม่ให้เรือประมงพานิชย์รุกล้ำเข้ามาทำการประมงในเขตอนุรักษ์ 3)กำหนดให้มีการปลูกป่าไม้ชายเลน เป็นประจำทุกปีๆละ 2 ครั้ง 4)กำหนดปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำปีละ 2 ครั้ง 5)จัดทำป้ายอนุรักษ์ทรัพยากรสัตว์น้ำ และทรัพยากรชายฝั่ง โดยให้นำเข้าเวทีบันทึกข้อตกลง ระหว่างประชาชนชุมชน ท้องถิ่น ท้องที่ (MOU)

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 54 คน จากที่ตั้งไว้ 50 คน
ประกอบด้วย

1) คณะกรรมการหมู่บ้าน 5 คน 2) สมาชิกศูนย์เรียนรู้ทรัพยากรทางทะเล 5 คน 3) เยาวชน 20 คน 4) สมาชิกสภา อบต.ตันหยงโป 2 คน 5) เจ้าหน้าที่ จาก อบต.จำนวน 6 คน
ุ6) ผู้ประกอบอาชีพประมงพื้นบ้าน 14 คน 7) จนท.สภาเกษตรกรจังหวัดสตูล จำนวน 2 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

แกนนำร่างบันทึกข้อตกลงเสนอให้นำร่างดังกล่าว ประกาศให้ประชาชนในพื้นที่ชุมชนได้รับทราบก่อนที่จะนำเสนอ ต่อเวทีบันทึกข้อตกลง

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นางสาวอนัญญา แสะอาหลี
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 9 เพื่อติดตามผลการทำงาน7 สิงหาคม 2558
7
สิงหาคม 2558รายงานจากพื้นที่ โดย taksina
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อติดตามผลการดำเนิงานกิจกรรมฟื้นฟูและอนุรักษทรัพยากรสัตว์น้ำ และทรัพยากรชายฝั่ง ครั้งที่ ๔

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

เพื่อติดตามผลการดำเนิงานกิจกรรมฟื้นฟูและอนุรักษทรัพยากรสัตว์น้ำ และทรัพยากรชายฝั่ง ครั้งที่ ๔ ในวันวันที่ ๒๒ กรกฎาคม ๒๕๕๘ โดยมีกิจกรรมดังนี้ ๑.ช่วงเช้า เวลา ๐๙.๐๐ น. มีการรวมตัวของกลุมเป้าหมาย จำนวน ๕๐ คน ณ มัสยิดหมู่ที่ ๑ (มัสยิดอิสลามียะห์) มีการให้ความรู้ โดยนายอุสมาน หมันยาหมีน ประธานคณะอนุกรรมการด้านการประมง สภาเกษตรกรจังหวัดสตูล เรื่องการแนวทางการอนุรักษ์ทรัพยากรสัตว์น้ำและทรัพยากรชายฝั่ง ซึ่งนับตั้งแต่ มีการกันแนวเขตห้ามทำการประมง ในระยะห่างจากฝั่ง ๓๐๐ เมตร มีปริมาณสัตว์น้ำเพิ่มขึ้น ดังนั้น คนในชุมชนทุกคนต้องช่วยกันเป็นหูเป็นตาไม่ให้คนภายนอกชุมชนเข้ามาทำการประมงในแนวเขตอนุรักษ์ทำการประมง ๓๐๐ เมตร
๒.ช่วงเช้าเวลา ๑๑.๐๐ น. มีการปล่อยพันธ์สัตว์น้ำ ประกอบด้วยกุ้ง แชร์บ๋วย จำวนว ๒,๐๐๐,๐๐๐ ล้านตัว และพันธุ์ปลากะพง จำวน ๑๐,๐๐๐ ตัวโดยโดยได้รับความอนุเคราะห์พันธุ์ กุ้ง และปลา จากศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงชายฝั่งจังหวัดสตูล ๓.ช่วงบ่าย เวลา ๑๓.๐๐ น. มีการปลูกป่าชายเลน จำนวน ๑,๐๐๐ ต้นกล้า โดยได้รับความอนุเคราะห์กล้าพันธุ์จากสถานีพัฒนาทรัพยากรป่าชายเลน ที่ ๓๕ เจ๊ะบิลัง สตูล

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

สรุปผลการติดตามการดำเนิงานกิจกรรมฟื้นฟูและอนุรักษทรัพยากรสัตว์น้ำ และทรัพยากรชายฝั่ง ครั้งที่ ๔ ในวันวันที่ ๒๒ กรกฎาคม ๒๕๕๘  จะต้องให้ชาวประมงเป็นหูเป็นตา ในการที่จะช่วยกันดูแลไม่ให้คนใดคนหนึ่งเข้ามาทำการประมงภายในแนวเขตห่างจากฝั่ง ๓๐๐ เมตร ตลอดชายฝั่งอ่าวตันหยงโป

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 30 คน จากที่ตั้งไว้ 30 คน
ประกอบด้วย

1) คณะกรรมการหมู่บ้าน 5 คน 2) สมาชิกศูนย์เรียนรู้ทรัพยากรทางทะเล 5 คน 3) เยาวชน 5 คน 4) สมาชิกสภา อบต.ตันหยงโป 2 คน 5) เจ้าหน้าที่ จาก อบต.จำนวน 3 คน
6) ผู้ประกอบอาชีพประมงพื้นบ้าน 9 คน 7) จนท.สภาเกษตรกรจังหวัดสตูล จำนวน 1 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ขาดงบประมาณในการจัดทำ แนวเขตห้ามทำการประมงแบบทุ่นที่ติดกันตลอดแนว ๔,๐๐๐ เมตร

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นางสาวอนัญญา แสะอาหลี
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

เสนอของบประมาณ เพื่อจัดทำทุ่น จำนวน ๒๐๐,๐๐๐ บาท

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ขอให้สนับสนุนการของบประมาณ จาก สสส. ให้แก่กลุ่ม

ฟื้นฟู และอนุรักษ์ทรัพยากรสัตว์น้ำ และทรัพยากรชายฝั่ง ครั้งที่ 422 กรกฎาคม 2558
22
กรกฎาคม 2558รายงานจากพื้นที่ โดย taksina
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อเพิ่มปริมาณสัตว์น้ำ และเพิ่มที่อยู่อาศัยของสัตว์น้ำ

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

๑.ช่วงเช้า เวลา ๐๙.๐๐ น. มีการรวมตัวของกลุมเป้าหมาย จำนวน ๕๐ คน ณ มัสยิดหมู่ที่ ๑ (มัสยิดอิสลามียะห์) มีการให้ความรู้ โดยนายอุสมาน หมันยาหมีน ประธานคณะอนุกรรมการด้านการประมง สภาเกษตรกรจังหวัดสตูล เรื่องการแนวทางการอนุรักษ์ทรัพยากรสัตว์น้ำและทรัพยากรชายฝั่ง ซึ่งนับตั้งแต่ มีการกันแนวเขตห้ามทำการประมง ในระยะห่างจากฝั่ง ๓๐๐ เมตร มีปริมาณสัตว์น้ำเพิ่มขึ้น ดังนั้น คนในชุมชนทุกคนต้องช่วยกันเป็นหูเป็นตาไม่ให้คนภายนอกชุมชนเข้ามาทำการประมงในแนวเขตอนุรักษ์ทำการประมง ๓๐๐ เมตร
๒.ช่วงเช้าเวลา ๑๑.๐๐ น. มีการปล่อยพันธ์สัตว์น้ำ ประกอบด้วยกุ้ง แชร์บ๋วย จำวนว ๒,๐๐๐,๐๐๐ ล้านตัว และพันธุ์ปลากะพง จำวน ๑๐,๐๐๐ ตัวโดยโดยได้รับความอนุเคราะห์พันธุ์ กุ้ง และปลา จากศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงชายฝั่งจังหวัดสตูล ๓.ช่วงบ่าย เวลา ๑๓.๐๐ น. มีการปลูกป่าชายเลน จำนวน ๑,๐๐๐ ต้นกล้า โดยได้รับความอนุเคราะห์กล้าพันธุ์จากสถานีพัฒนาทรัพยากรป่าชายเลน ที่ ๓๕ เจ๊ะบิลัง สตูล

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

๑.กลุ่มเป้าหมายได้เรียนรู้ร่วมกันว่าถ้ามีการกั้นแนวเขต ห้ามทำการประมงภายในระยะห่างจากฝั่ง ๓๐๐ เมตร ตลอดแนวอ่าวตันหยงโป ว่าทรัพยากรสัตว์น้ำเพิ่มขึ้น ทำให้ชาวประมงมีรายได้เพิ่มขึ้น ดังนั้นทุกคนต้องช่วยกันในการดูแลไม่ให้เข้ามาทำการประมงภายในแนวเขต ๒.เพิ่มปริมาณสัตว์น้ำ ประกอบด้วยกุ้งแชรบ๋วย และปลากะพง ๓.เพิ่มปริมาณป่าชายเลนซึ่งเป็นที่อาศัยของสัตว์วัยอ่อน

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 50 คน จากที่ตั้งไว้ 50 คน
ประกอบด้วย

1) คณะกรรมการหมู่บ้าน 5 คน 2) สมาชิกศูนย์เรียนรู้ทรัพยากรทางทะเล 5 คน 3) เยาวชน 20 คน 4) สมาชิกสภา อบต.ตันหยงโป 2 คน 5) เจ้าหน้าที่ จาก อบต.จำนวน 6 คน
ุ6) ผู้ประกอบอาชีพประมงพื้นบ้าน 10 คน 7) จนท.สภาเกษตรกรจังหวัดสตูล จำนวน 2 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

การกั้นเนวเขตตามโครงการ มีการวางทุ่นเป็นระยะห่างๆ แต่ละจุด บางครั้งก็ถูกผู้ไม่ประสงค์ดี ทำลาย หรือตัดลอยน้ำ ก่อให้เกิดความเสียหายต่อโครงการ ทางโครงการต้องการที่จะวางทุ่นเล็ก ตลอดแนวอ่าวตันหยงโป ความยาว ๔,๐๐๐ เมตร แต่ต้องใช้งบประมาณเป็นจำนวนมาก

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นางสาวอนัญญา แสะอาหลี
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

เสนอของบประมาณ จำนวน ๒๐๐,๐๐๐ บาท เพื่อวางทุ่นแนวเขต

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

สสนับสนุนการเสนอของบประมาณ

เดินทางพบพี่เลี้ยง เพื่อแนะนำรายละเอียดโครงการ18 กรกฎาคม 2558
18
กรกฎาคม 2558รายงานจากพื้นที่ โดย taksina
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อให้พี่เลี้ยง แนะนำการลงรายละเอียดกิจกรรมโครงการ  เพื่อดูความถูต้อง

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

พี้เลี้ยง(นางสาวอนัญญา แสะอาหลี) ได้แนะนำ การลงรายละเอียดโครงการ

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

สามารถปฏิบัติการลงรายละเอียดกิจกรรมได้ความถูกต้อง

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 2 คน จากที่ตั้งไว้ 2 คน
ประกอบด้วย

๑.นายสอาด กาดีโลน ๒.นางสาวทักษิณา ส่องสว่าง

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นางสาวอนัญญา แสะอาหลี
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 8 เพื่อติดตามผลการเฝ้าระวัง3 กรกฎาคม 2558
3
กรกฎาคม 2558รายงานจากพื้นที่ โดย taksina
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อทบทวน กฏกติกา มาตรการ ตามการที่ได้กำหนดจากเวทีกำหนดมาตรการการอนุรักษ์ และฟื้นฟูทรัพยากรสัตว์น้ำ และทรัพยากรชายฝั่ง เพื่อที่ จะประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนได้รับทราบ และนำเข้าสู่เวที่ประชาคมต่อไป

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

ประชุมทบทวน กฏ เกณฑ์ กติกาของชุมชน ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้
๑.กำหนดเขตห้ามทำการประมงในเขต ๓๐๐ เมตรห่างจากฝั่ง ตลอดแนวยาว ๑,๘๐๐ เมตร ๒.กำหนดให้มีการกำหนด วางประการังเทียมปีละ ๑ ครั้ง
๓.กำหนดให้มีการปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำ และปลูกป่าชายเลน ปีละไม่น้อยกว่า ๓ ครั้ง

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

คณะทำงานมีความคิดเห็น ว่าเมื่อมีการวางกฎ กติกา ชุมชน ก็ต้องช่วยกันประชาสัมพันธุ์ให้ประชาชนได้รับทราบ และในการจัดประชุมประชาคม ต้องให้ประชาชนในชุมชน มาแสดงความคิดเห็นให้มากที่สุด เพื่อที่จะให้ทุกคนได้แสดงความคิดเห็น และรับทราบข้อตกลงร่วมกัน และจะได้ปฏิบัติ ร่วมกัน ในการที่จะรักษา อนุรักษ์ทรัพยากรสัตว์น้ำ และทรัพยากรชายฝั่ง ได้มีการกำหนดว่าในการวางปะการังในแต่ละปี ต้องให้มีประชาชนทุกคนได้มีส่วนร่วมในการร่วมบริจาก เพื่อที่จะได้มีจิตสำนึกร่วมกัน ในการอนุรักษ์ทรัพยากรสัตว์น้ำ และทรัพยากรชายฝั่ง และต้องพร้อมใจกันเฝ้าระวังตรวจตรา ชาวประมงต่างถิ่นที่เข้ามาลักลอบวางไซปลาเก๋า และชาวบ้านที่มาจากต่างตำบลที่เข้ามาทอด แห แล้ววางยาเบื่อปลา

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 30 คน จากที่ตั้งไว้ 30 คน
ประกอบด้วย

1) คณะกรรมการหมู่บ้าน 5 คน 2) สมาชิกศูนย์เรียนรู้ทรัพยากรทางทะเล 5 คน 3) เยาวชน 5 คน 4) สมาชิกสภา อบต.ตันหยงโป 2 คน 5) เจ้าหน้าที่ จาก อบต.จำนวน 3 คน
6) ผู้ประกอบอาชีพประมงพื้นบ้าน 9 คน 7) จนท.สภาเกษตรกรจังหวัดสตูล จำนวน 1 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

การให้ชาวบ้านเห็นความสำคัญ และมีความเห็นพร้อมกันกับ กฏ กติกา ๓ ข้อ ที่ได้ร่างขึ้นมาใช้ในชุมชน

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นางสาวอนัญญา แสะอาหลี
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

เวทีกำหนดมาตรการการอนุรักษ์ และฟื้นฟูทรัพยากรสัตว์น้ำ และทรัพยากรชายฝั่ง26 มิถุนายน 2558
26
มิถุนายน 2558รายงานจากพื้นที่ โดย taksina
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อที่จะให้ได้กฎกติกาชุมชนในการอนุรักษ์ เพื่อความยั่งยืนของทรัพยากรสัตว์น้ำ และทรัพยากรชายฝั่ง

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

๑.จัดประชุมเพื่อที่ที่จะวางกฎเกณฑ์ของชุมชน ในการที่จะให้ทุกคนในชุมชนทุกคน มีความร่วมมือร่วมใจในการปฏิบัติ ตามเพื่อให้เกิดเป็นรูปธรรม ๒.เขียนรายงานร่างกฏเกณฑ์ติดประกาศ ตามสถานที่ชุมชน ร้านค้า มัสยิด เพื่อให้ทุกคนในชุมชนได้รับทราบ

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ได้ข้อตกลงร่วมกันของ คณะทำงาน จำนวน ๕๐ คน ให้จัดทำเป็นรูปเล่ม(ร่างข้อตกลง) แล้วนำติดประกาศเพื่อให้คนในชุมชนได้ทราบ เพื่อที่จะได้ลงประชาคม โดยมีข้อตกลงดังนี้ ๑.กำหนดเขตห้ามทำการประมงในเขต ๓๐๐ เมตรห่างจากฝั่ง ตลอดแนวยาว ๑,๘๐๐ เมตร ๒.กำหนดให้มีการกำหนด วางประการังเทียมปีละ ๑ ครั้ง
๓.กำหนดให้มีการปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำ และปลูกป่าชายเลน ปีละไม่น้อยกว่า ๓ ครั้ง

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 50 คน จากที่ตั้งไว้ 50 คน
ประกอบด้วย

1) คณะกรรมการหมู่บ้าน 5 คน 2) สมาชิกศูนย์เรียนรู้ทรัพยากรทางทะเล 5 คน 3) เยาวชน 20 คน 4) สมาชิกสภา อบต.ตันหยงโป 2 คน 5) เจ้าหน้าที่ จาก อบต.จำนวน 6 คน
ุ6) ผู้ประกอบอาชีพประมงพื้นบ้าน 10 คน 7) จนท.สภาเกษตรกรจังหวัดสตูล จำนวน 2 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

มีประชาชนจากต่างถิ่นเข้ามาทอดแห โดยมีการวางยาเบื่อปลา ทำให้สัตว์น้ำที่อยู่ในบริเวณนั้นได้รับความเสียหาย และยังมีชาวประมงจากต่างถิ่นเข้ามาลักลอบการวางไซปลาเก๋าบริเวณปะการัง จึงต้องมีการจัดกำลัง ออกตรวจตราให้มากกว่าที่เป็นอยู่

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นางสาวอนัญญา แสะอาหลี
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

เสนอของบประมาณในการจัดซื้อเรือ ตรวจตรา ที่เป็นของกลางของชุมชน จำนวน ๑๕๐,๐๐๐ บาท

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ขอให้เป็นตัวกลางในการสนับสนุน ให้ชุมชนตันหยงดป ได้รับสนับสนุนงบประมาณ ในการจัดซื้อเรือตรวจตรา

ฟื้นฟู และอนุรักษ์ทรัพยากรสัตว์น้ำ และทรัพยากรชายฝั่ง ครั้งที่ 323 มิถุนายน 2558
23
มิถุนายน 2558รายงานจากพื้นที่ โดย taksina
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อสร้างที่ไว้สำหรับให้สัตว์น้ำเข้ามาวางไข่ และอนุบาลสัตว์น้ำวัยอ่อน

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

การวางปะการังเทียมเพื่อให้เป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์น้ำเป็นขั้นตอนที่มาจาก ครั้งที่แล้วที่ได้จากการวางแนวเขตอนุรักษ์โดยเด็ดขาด ๓๐๐ เมตรห่างจากฝั่ง โดยมีการรวบรวมเงิน จากชาวประมงในการจัดชื้อท่อส้วม ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง ๘๐ เซนติเมตร จำนวน ๒๐๐ ท่อ แล้วกำนดกางวางท่อ ๒๐ จุดๆละ ๑๐ ท่อ

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

มีการวางท่อส้วมขนาด เส้นผ่าศูนย์กลาง ๘๐ เซนติเมตร จำนวน ๒๐ จุดๆละ ๑๐ ท่อ เพื่อที่ให้เป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์น้ำ ในเขตอนุรักษ์โดยเด็ดขาด ๓๐๐ เมตร

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 50 คน จากที่ตั้งไว้ 50 คน
ประกอบด้วย

1) คณะกรรมการหมู่บ้าน 5 คน 2) สมาชิกศูนย์เรียนรู้ทรัพยากรทางทะเล 5 คน 3) เยาวชน 20 คน 4) สมาชิกสภา อบต.ตันหยงโป 2 คน 5) เจ้าหน้าที่ จาก อบต.จำนวน 6 คน
ุ6) ผู้ประกอบอาชีพประมงพื้นบ้าน 10 คน 7) จนท.สภาเกษตรกรจังหวัดสตูล จำนวน 2 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

การวางปะการังเทียมต้องวางให้มากกว่านี้ จึงจะสามารถสร้างที่อยู่อาศัยของสัตว์น้ำให้ได้มากที่สุด แต่เนื่องจากขาดงบประมาณ จะต้องของบประมาณ จาก สสส.เพื่อที่จะสร้างที่อยู่อาศัยให้แก่สัตว์น้ำต่อไป

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นางสาวอนัญญา แสะอาหลี
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

๑.ของบประมาณ การวางปะการังเทียม จำนวน ๒๐๐,๐๐๐ บาท

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 7 เพื่อวางแผนการออกตรวจเฝ้าระวัง5 มิถุนายน 2558
5
มิถุนายน 2558รายงานจากพื้นที่ โดย taksina
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อวางแผนการออกตรวจ ในการเฝ้าระวัง ทรัพยากรสัตว์น้ำ และทรัพยากรชายฝั่ง

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

ประชุมคณะทำงานเพื่อ วางแผนในการเฝ้าตรวจระวัง เพื่อออกตรวจ ป้องปราม เรือประมงที่ใช้เครื่องมือประมงที่ผิดกฎหมาย

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ที่ประชุมได้เน้นการเฝ้าระวังไม่ให้เรือประมงจากต่างถิ่นเข้ามาทำการประมงในแนวเขต ๓๐๐ เมตรโดยเด็ดขาด และให้เฝ้าจับตามอง ชาวประมงในพื้นที่ อีดหนึ่งด้วยว่ามีการทำประมงด้วยเครืองมือผิดกฏหมายอีทางหนึ่งด้วย

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 30 คน จากที่ตั้งไว้ 30 คน
ประกอบด้วย

1) คณะกรรมการหมู่บ้าน 5 คน 2) สมาชิกศูนย์เรียนรู้ทรัพยากรทางทะเล 5 คน 3) เยาวชน 5 คน 4) สมาชิกสภา อบต.ตันหยงโป 2 คน 5) เจ้าหน้าที่ จาก อบต.จำนวน 3 คน
6) ผู้ประกอบอาชีพประมงพื้นบ้าน 9 คน 7) จนท.สภาเกษตรกรจังหวัดสตูล จำนวน 1 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

มีการวางลอบ ไซปลาเก๋า ในเขตห้ามทำการประมงโดยเด็ดขาด โดยผู้ที่มาจากต่างถิ่น  ต้องของความร่วมมือชาวประมงในถิ่น ได้พูด และขอความาร่วมมือ จากชาวประมงนอกถิ่นไม่ให้เข้ามาวางไซ

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นางสาวอนัญญา แสะอาหลี
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

ฟื้นฟู และอนุรักษ์ทรัพยากรสัตว์น้ำ และทรัพยากรชายฝั่ง ครั้งที่ 2 กั้นเขตแนวอนุรักษ์12 พฤษภาคม 2558
12
พฤษภาคม 2558รายงานจากพื้นที่ โดย taksina
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อกั้นแนวเขตห้ามทำการประมง

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

๑.จัดเตรียมวัสดุ และอุปกรณ์ ในการวางแนวเขตทำการประมง ๒.ติดต่อประสาน กลุ่มประมงชายฝั่ง และกลุ่มเยาวชนที่เข้าร่วมกิจกรรม ทำความเข้าใจ ในการวางแนวเขต ๓. ดำเนินการวางแนวเขตห้ามทำการประมง

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ดำเนินการวางแนวเขตห้ามทำการประมงโดยเด็ดขาด ห่างจากฝั่ง ๓๐๐ เมตร และได้ความยาว ๕๐๐ เมตร

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 50 คน จากที่ตั้งไว้ 50 คน
ประกอบด้วย

1) คณะกรรมการหมู่บ้าน 5 คน 2) สมาชิกศูนย์เรียนรู้ทรัพยากรทางทะเล 5 คน 3) เยาวชน 20 คน 4) สมาชิกสภา อบต.ตันหยงโป 2 คน 5) เจ้าหน้าที่ จาก อบต.จำนวน 6 คน
ุ6) ผู้ประกอบอาชีพประมงพื้นบ้าน 10 คน 7) จนท.สภาเกษตรกรจังหวัดสตูล จำนวน 2 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

งบประมาณในการจัดทำแนวเขตค่อนข้างสูง ซึ่งประกอบด้วย ทุ่น และเชือก หลายขนาดด้วยกัน

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นางสาวอนัญญา แสะอาหลี
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ขอรับสนับสนุนงบประมาณ จัดซื้อวัสดุอุกรณ์ ส่วนนี้ ประมาณ ๒๐๐,๐๐๐ บาท

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 6 เพื่อสรุปผลการทำงานรอบ 6 เดือน8 พฤษภาคม 2558
8
พฤษภาคม 2558รายงานจากพื้นที่ โดย taksina
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อสรุปผลงาน ในรอบ 6 เดือน 

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

ประชุมสรุปผลงานในรอบ 6 เดือน เริ่มตั้งแต่การประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 1 ตั้งแต่เริ่มกระบวนการทำความเข้าใจให้แก่ชาวประมง เพื่อสร้างจิตสำนึกในการให้เห็นคุณค่าในการที่จะรักษาอ่าวตันหยงโป การสำรวจข้อมูลทรัพยากรสัตว์น้ำ เพื่อที่จะได้รู้แหล่งสัตว์น้ำ ว่าควรที่จะทำให้อ่าวตันหยงโปเป็นแหล่งเพาะพันธุ์สัตว์น้ำ และอนุบาลสัตว์น้ำวัยอ่อน ควรมีการเสนอให้ออกกฏของชุมชน ให้อ่าวตันหยงโปห้ามทำการประมงโดยเด็ดขาด

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ที่ประชุมเห็นด้วยกับการที่ชาวประมงให้อ่าวตันหยงโปห้ามทำการประมงโดยเด็ดขาด ในช่วงที่ปลาเข้ามาวางไข่ และให้ดำเนินการวางปะการัง และกั้นแนวเขต โดยขอความร่วมมือจากชาวประมงทุกท่านด้วย

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 30 คน จากที่ตั้งไว้ 30 คน
ประกอบด้วย

1) คณะกรรมการหมู่บ้าน 5 คน 2) สมาชิกศูนย์เรียนรู้ทรัพยากรทางทะเล 5 คน 3) เยาวชน 5 คน 4) สมาชิกสภา อบต.ตันหยงโป 2 คน 5) เจ้าหน้าที่ จาก อบต.จำนวน 3 คน
6) ผู้ประกอบอาชีพประมงพื้นบ้าน 9 คน 7) จนท.สภาเกษตรกรจังหวัดสตูล จำนวน 1 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ที่ประชุมเสนอว่ายังมีชาวประมงไม่กี่ราย ที่ไม่ยอมรับกฏห้ามทำการประมงโดยเด็ดขาด และยังมีประชาชนจากต่างถิ่นเข้ามาทอดแห โดยการใช้ยาเบื่อปลาด้วย และมีชาวประมงจากต่างถิ่นเข้ามากระทุ้งปลา ทำให้แนวปะการังธรรมชาติได้รับความเสียหายเป็นอย่างมาก

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นางสาวอนัญญา แสะอาหลี
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ขอสนับสนุนงบประมาณวางแนวเขต จำนวน ๒๐๐,๐๐๐ บาท

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

ฟื้นฟู และอนุรักษ์ทรัพยากรสัตว์น้ำ และทรัพยากรชายฝั่ง ครั้งที่ 1 ประชุมเพื่อวางแผน27 เมษายน 2558
27
เมษายน 2558รายงานจากพื้นที่ โดย taksina
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อเพิ่มที่วางไข่ และอนุบาลสัตว์น้ำวัยอ่อน

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

ประชุมเตรียมงานเพื่อการวางแผน -ติดตั้งป้ายรณรงค์การอนุรักษ์ จำนวน ๖ ครั้งๆละ ๑ แผ่น -ปล่อยพันธ์สัตว์น้ำและปลูกป่าชายเลน จำนวน 4 ครั้ง -วางปะการังเทียมจากวัสดุเหลือใช้ จำนวน 20 จุด -กั้นแนวเขตห้ามทำการประมง ตลอดความยาว 3,500 เมตร และห่างจากฝั่ง

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ประชุมเตรียมงานเพื่อการวางแผน -ติดตั้งป้ายรณรงค์การอนุรักษ์ จำนวน ๖ ครั้งๆละ ๑ แผ่น -ปล่อยพันธ์สัตว์น้ำและปลูกป่าชายเลน จำนวน 4 ครั้ง -วางปะการังเทียมจากวัสดุเหลือใช้ จำนวน 20 จุด -กั้นแนวเขตห้ามทำการประมง ตลอดความยาว 3,500 เมตร และห่างจากฝั่ง

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

เกือบได้ตามเป้าหมาย (2)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 49 คน จากที่ตั้งไว้ 50 คน
ประกอบด้วย

1) คณะกรรมการหมู่บ้าน 5 คน 2) สมาชิกศูนย์เรียนรู้ทรัพยากรทางทะเล 5 คน 3) เยาวชน 20 คน 4) สมาชิกสภา อบต.ตันหยงโป 2 คน 5) เจ้าหน้าที่ จาก อบต.จำนวน 6 คน
ุ6) ผู้ประกอบอาชีพประมงพื้นบ้าน 9 คน 7) จนท.สภาเกษตรกรจังหวัดสตูล จำนวน 2 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นางสาวอนัญญา แสะอาหลี
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 5 เพื่อสรุปผลจากการจัดเวทีคืนข้อมูลเพื่อให้เกิดการฟื้นฟูทรัพยากรสัตว์น้ำ และปลูกป่าทดแทน โดยมีการอนุรักษ์อย่างยั่งยืน24 เมษายน 2558
24
เมษายน 2558รายงานจากพื้นที่ โดย taksina
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อสรุปผลการจักกิจกรรมการจัดเวทีคืนข้อมูล

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

จัดประชุมคณะคณะทำงานเพื่อสรุปผลที่ได้จากการจัดเวทีคืนข้อมูลให้กับประชาชน ประชาชนได้เสนอแนวคิดให้มีการปิดอ่าวตันหยงโปในฤดูสัตว์น้ำว่างไข่ โดยให้กั้นแนวเขตห้ามทำการประมงโดยเด็ดขาด ระยะที่ห่างจากฝั่ง ๓๐๐ เมตร ตามแนวอ่าวตันหยงโประยะประมาณ ๒,๐๐๐ เมตร และให้มีการจัดทีม อนุรักษ์ เพื่อทำการตรวจตรา ไม่ให้ชาวประมงนอกตำบลเข้ามาทำการประมงในเขตพื้นที่ ประการประมงโดยเด็ดขาด โดยได้มีการตกลงกันในทีมปกครอง ทีมบริหาร ผู้นำศาสนา และกลุ่มต่างๆ ในชุมชนบ้านตันหยงโป ให้มีการออกตรวจตราเดือนละ ๔ ครั้ง และได้มีการตกลง กำหนดไม่ให้เรือปั่นหมึกเข้ามาในเขต ๓,๐๐๐ เมตรห่างจากฝั่งบริเวณอ่าวตันหยงโป ซึ่งคณะทำงานจะได้ร่างข้อตกลง หรือธรรมนูญ เพื่อจะเสนอในการประชุมประชาคมในครั้งต่อไป

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

สรุปผลที่ได้จากการจัดเวทีคืนข้อมูลให้กับประชาชน ประชาชนได้เสนอแนวคิดให้มีการปิดอ่าวตันหยงโปในฤดูสัตว์น้ำว่างไข่ โดยให้กั้นแนวเขตห้ามทำการประมงโดยเด็ดขาด ระยะที่ห่างจากฝั่ง ๓๐๐ เมตร ตามแนวอ่าวตันหยงโประยะประมาณ ๒,๐๐๐ เมตร และให้มีการ ๑.จัดทีม อนุรักษ์ทรัพยากรสัตว์น้ำ และทรัพยากรชายฝั่ง ๒.จัดทีมเยาวชนอนุรักษ์ทรัพยากรสัตว์น้ำ และทรัพยากรชายฝั่ง เพื่อทำการตรวจตรา ไม่ให้ชาวประมงนอกตำบลเข้ามาทำการประมงในเขตพื้นที่ ประการประมงโดยเด็ดขาด โดยได้มีการตกลงกันในทีมปกครอง ทีมบริหาร ผู้นำศาสนา และกลุ่มต่างๆ ในชุมชนบ้านตันหยงโป ให้มีการออกตรวจตราเดือนละ ๔ ครั้ง และได้มีการตกลง กำหนดไม่ให้เรือปั่นหมึกเข้ามาในเขต ๓,๐๐๐ เมตรห่างจากฝั่งบริเวณอ่าวตันหยงโป ซึ่งคณะทำงานจะได้ร่างข้อตกลง หรือธรรมนูญ เพื่อจะเสนอในการประชุมประชาคมในครั้งต่อไป

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 30 คน จากที่ตั้งไว้ 30 คน
ประกอบด้วย

1) คณะกรรมการหมู่บ้าน 5 คน 2) สมาชิกศูนย์เรียนรู้ทรัพยากรทางทะเล 5 คน 3) เยาวชน 5 คน 4) สมาชิกสภา อบต.ตันหยงโป 2 คน 5) เจ้าหน้าที่ จาก อบต.จำนวน 3 คน
6) ผู้ประกอบอาชีพประมงพื้นบ้าน 9 คน 7) จนท.สภาเกษตรกรจังหวัดสตูล จำนวน 1 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

การกั้นเขตอนุรักษ์ต้องใช้งบประมาณ จำนวนมาก เพราะต้องมีการซื้อ ทุ่น และเชือก จำเป็นที่จะต้องให้ชาวประมง ได้เสียสละเงินทอง ในการช่วยจัดซื้อทุ่น และเชือก และช่วยกันลงแรง ในการทำแนวเขตด้วย

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นางสาวอนัญญา แสะอาหลี
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ขอรับสนับสนุนงบประมาณในการจัดซื้อ ทุ่น และเชือก จำนวน ๑๐๐,๐๐๐  บาท

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

พัฒนากลุ่มอนุรักษ์ป่าชายเลน และเฝ้าระวังทรัพยากรสัตว์น้ำชายฝั่ง และกลุ่มเยาวชนรักษ์บ้านเกิด17 เมษายน 2558
17
เมษายน 2558รายงานจากพื้นที่ โดย taksina
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อเฝ้าระวังตรวจตราทรัพยากรทางทะเล และทรัพยากรชายฝั่ง

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

1.รับสมัครผู้ประกอบอาชีพประมงชายฝั่งที่มีจิตสาธารณะ จำนวน 15 คน ได้มา จำนวน ๓๐ คน (ประมงพื้นบ้าน และผู้นำ จำนวน ๑๕ คน และกลุ่มเยาวชน จำนวน ๑๕ คน) 2.จัดอบรมระเบียบ และกฎหมายต่างๆ ในการปฏิบัติงาน จำนวน 1 ครั้ง จำนวน ๓๐ คน (ประมงพื้นบ้าน และผู้นำ จำนวน ๑๕ คน และกลุ่มเยาวชน จำนวน ๑๕ คน) 3.ออกปฏิบัติงาน เดือนละ 4 ครั้ง จำนวน 6 เดือน (วันที่  ๒,๙,๑๖,๒๓ พ.ค. ๒๕๕๘ วันที่ ๖,๑๓,๒๐,๒๗ มิ.ย.๒๕๕๘ วันที่ ๔,๑๑,๑๘,๒๕ ก.ค.๒๕๕๘ วันที่ ๘,๑๕,๒๒,๒๙ ส.ค. ๒๕๕๘ วันที่ ๕,๑๒,๑๙,๒๖ ก.ย. ๒๕๕๘ วันที่ ๑๐,๑๗,๒๔,๓๑ ต.ค. ๒๕๕๘) โดยมีการออกตรวจตรา ครั้งละ๗ คน โดยต้องมีผู้นำท้องที่ครั้งละไม่น้อยกว่า ๒ คน

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

กลุ่มอาสาสมัครได้มีความรู้ ความตระหนักในการที่จะรักษาทรัพยากรสัตว์น้ำ และทรัพยากรชายฝั่ง มีจิตอาสา มีความรู้กฎระเบียบต่างๆ และมีความพร้อมในการปฏิบัติหน้าที่ ในการออกตรวจการณ์ชายฝั่งไม่ให้ชาวประมงในพื้นที่ และชาวประมงจากต่างพื้นที่ เข้ามาทำการประมง ในแนวเขตที่ห้ามทำการประมง

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 15 คน จากที่ตั้งไว้ 15 คน
ประกอบด้วย

ผู้ประกอบอาชีพประมงชายฝั่งที่มีจิตสาธารณะ จำนวน 15 คน มีรายชื่อ ดังนี้ ๑.นายฮะหมาด มัสตัน ๒.นายมาหาหมาด หมันยาหมีน ๓.นายเจ๊ะอูหมาก มะสมัน ๔ นายอับดุลการีม หยันยาหมีน ๕.นายสมาแอน สันสาล๊ะ ๖.นายรอหีม หลังจิ ๗.นายปราโมท์ หมันยาหมีน ๘.นายเจ๊ะหมาน ตำโซ๊ะ ๙.นายอาบูบากาก ยูโซ๊ะยูด๊ะ ๑๐.นายอุสมาน หมันยาหมีน ๑๑.นายอุสมาน หมันยามีน ๑๒.นาชิรัญ สามาดี ๑๓.นายอับดลรอหมาน นิสาแหละ ๑๔.นายสมาน ฮะยีตำมะลัง ๑๕.นายอดุล หมัดตานีกลุ่มเยาวชนรักษ์บ้านเกิด จำนวน ๑๕ คน ๑.นางสาวนารีฮ๊ะ มาซุรี ๒.นายอนุชา หมันยาหมีน ๓.นายนาอีม ยาหวัง ๔.นางสาวชนิดา หมันยาหมีน ๕.นางสาวดาริณี มะสมัน ๖.นายอภิวัตน์ มะสมัน ๗.นายพิมพรึก โหลสกุล ๘.นางสาวสุนันธิกา เด็นเก ๙.นางสาวสุนิสา บิสนุม ๑๐.นางสาวอัชริดา แม่น้ำ ๑๑.นางสาวรัชนี บิลังโหลด ๑๒.นายสถาพร สามาดี ๑๓.นางสาวปนิตา บิลังโหลด ๑๔.นางสาวปวีณา ฮายู ๑๕.นางสาวศรัญา ทิ้งปากถ้ำ

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

กลุ่มอาสาสมัครมีความต้องการให้ชุดตรวจการณ์ ของกรมประมงเข้ามาตรวจการณ์ในอ่าวตันหยงโป เดือนละ ๒ ครั้งก็ยังดี อย่าปล่อยให้กลุ่มประมง ทำงานเฉพาะกลุ่ม บางครั้งเรือประมงพานิชขนาดใหญ่ ลักลอบเข้าโดยมีผู้มีอธิพลหนุนหลัง

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นางสาวอนัญญา แสะอาหลี
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ช่วยพลักดันให้กฏหมายที่ใช้เครื่องมือประมผิดกฎหมายมีการบังคับใช้อย่างจริงจัง

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ช่วยพลักดันให้กฏหมายที่ใช้เครื่องมือประมผิดกฎหมายมีการบังคับใช้อย่างจริงจัง

จัดเวทีคืนข้อมูลให้กับประชาชน10 เมษายน 2558
10
เมษายน 2558รายงานจากพื้นที่ โดย taksina
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อสร้างจิตสำนึกและสะท้อนจิตสำนึกให้ประชาชนได้เข้าใจถึงความสำคัญของทัพยากร และการอนุรักษ์ทรัพยากรสัตว์น้ำ และทรัพยากรชาฝั่ง 

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

๑.ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนชาวประมงพื้นบ้านทราบถึงวัน เวลา ที่จะดำเนินงาน ๒.จัดทีมเยาวชน ทำความเข้าใจเกี่ยวกับการอนุรักษ์ทรัยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม เพื่อที่ออกแบบการนำเสนอ ตามข้อมูลที่ผ่านการสำรวจ ที่จะบอกกล่าวแก่ประชาชนในการที่จะได้รับทราบข้อมูล ๓.เปิดเวทีการคืนข้อมูลโดยนายกองค์การบริหารส่วนตำบลตันหหยงโป ๔.นำเสนอรายงานผลการสำรวจข้อมูล ผ่านกลุ่มเยาวชนรักษ์บ้านเกิด ตำบลตันหยงโป ๕.เปิดเวทีเสวนา โดย นายอภิมาตร เหล็บควนเคี่ยม ประธานสภาเกษตรกร จังหวัดสตูล นายกิตติ หมัดตานี นายกองค์การบริหารส่วนตำบลตันหยงโป นายรอสลัน คุ้มบ้าน หัวหน้าสำนักงานสภาเกษตรกรจังหวัดสตู  นายอุสมาน หมันยาหมีน สมาชิกสภาเกษตรกรจังหวัดสตูล

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลจากเวทีเสวนา การคืนข้อมูลจากการสำรวจ ต่อเวทีประชาคม
บริเวณที่มีสัตว์น้ำจากมากที่สุดถึงน้อยที่สุดดังนี้ บริเวณเกาะสาม จำนวน  ๕,๒๙๕ กิโลกรัม บริเวณเกาะเกว  จำนวน  ๕,๒๐๑ กิโลกรัม บริเวณหน้าเกาะลังกาวี จำนวน ๒,๘๖๐ กิโลกรัม บริเวณบริเวณปะการังเทียม นอกเกาะสาม จำนวน  ๑,๕๗๕ กิโลกรัม บริเวณบริเวณทะเลอันดามัน จำนวน  ๑,๔๐๐ กิโลกรัม บริเวณบริเวณเกาะยาว จำนวน  ๑,๒๔๐ กิโลกรัม บริเวณอ่าวตันหยงโป จำนวน    ๘๐๕ กิโลกรัม บริเวณเกาะหัวมัน         จำนวน    ๖๓๕ กิโลกรัม บริเวณเกาะกวาง (เกาะหิน เหล็ก ไฟ) จำนวน    ๔๒๗ กิโลกรัม บริเวณเกาะตะรุเตา จำนวน ๕๐ กิโลกรัม บริเวณบริเวณเกาะมดแดง จำนวน ๕๐ กิโลกรัม ผลจากการสำรวจปริมาณสัตว์น้ำ จำนวน ๑๕๐ ครัวเรือนภายใน ๑๕ วัน  จาก ๑๑ แหล่ง อ่าวตันหยงโปมีปริมาณ สัตว์น้ำอยู่ใน อันดับ ๗ อัตราส่วนค่อยข้างน้อย และปัญหาที่สำคัญในการวางอวนในแต่ละคืน มีการ วางตามคิวกันแล้ว ซึ่งเป็นปัญหาใหญ่ในอ่าวตันหยงโป ซึ่งชาวประมงจากตำบลสาคา ตำบลเกาะสาหร่าย ตันหยงโป ควนขัน เจ๊ะบิลัง ตำมะลัง และปูยู ก็เข้ามาทำการประมงในบริเวณ อ่าวตันหยงโปกันเกือบทั้งสิ้น  ประกอบกับในหน้าปิดอ่าวในฤดูที่สัตว์น้ำวางไข่ เรืออวนลากจาก จังหวัดตรังกระบี่ พังงา และระนอง ยังลักลอบเข้ามาลาก ในอ่าวตันหยงโปแห่งนี้ เนื่องจากจังหวัดสตูลยังไม่มีการปิดอ่าวในฤดูสัตว์น้ำวางไข่เหมือนจังหวัดอื่น ซึ่งต้องขอความร่วมมือ ชาวประมงในเขต บ้านชุมชนตันหยงโป งดการทำประมงในเขต ๕๐๐ เมตร จากฝั่งในเขตอ่าวตันหยงโป และช่วยกันดูแลไม่ให้ชาวประมงต่างถิ่น เข้ามาทำประมงในเขตห้ามทำการประมงนี้ด้วย

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 101 คน จากที่ตั้งไว้ 100 คน
ประกอบด้วย

1) คณะกรรมการหมู่บ้าน 5 คน 2) สมาชิกศูนย์เรียนรู้ทรัพยากรทางทะเล 5 คน 3) เยาวชน 51 คน 4) สมาชิกสภา อบต.ตันหยงโป 2 คน 5) เจ้าหน้าที่ จาก อบต.จำนวน 6 คน
6) ผู้ประกอบอาชีพประมงพื้นบ้าน 30 คน 7) จนท.สภาเกษตรกรจังหวัดสตูล จำนวน 2 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ทำอย่างไรให้อ่าวตันหยงโป มีการปิดอ่าวในฤดูสัตว์น้ำวางไข่ ต้องขอความร่วมมือ ชาวประมงพื้นบ้านทุกท่านให้ความร่วมมือ และช่วยกันดูแลไม่ให้ชาวประมงต่างถิ่นเข้ามาทำการประมงในฤดูสัตว์น้ำวางไข่

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นางสาวอนัญญา แสะอาหลี
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

๑.ช่วยผลักดันให้อ่าวตันหยงโป มีการปิดอ่าวในฤดูสัตว์น้ำวางไข่ ๒.ขอสนับสนุนงบประมาณเพิ่มเติมในการจัดทำแนวเขตห้ามจับสัตว์น้ำโดยเด็ดขาด จำนวน ๓๐๐,๐๐๐ บาท

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

๑.ช่วยผลักดันให้อ่าวตันหยงโป มีการปิดอ่าวในฤดูสัตว์น้ำวางไข่

ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 4 เพื่อสรุปกระบวนการจัดทำแผนทรัพยากรทางทะเล และทรัพยากรชายฝั่ง13 มีนาคม 2558
13
มีนาคม 2558รายงานจากพื้นที่ โดย taksina
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อสรุปทบทวนข้อมูลทรัพยากรสัตว์น้ำ และทรัพยากรชายฝั่ง เพื่อที่จะจัดทำแผนคุณค่าทรัพยากรสัตว์น้ำ และทรัพยาชายฝั่งเพื่อที่จะจัดเวทีข้อมูลให้กับประชาชนในการจัดกิจกรรมในครั้งต่อไป

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

ประชุมคณะทำงานจำนวน 30 คน เพื่อสรุปทบทวนข้อมูลทรัพยากรสัตว์น้ำ และทรัพยากรชายฝั่ง เพื่อที่จะจัดทำแผนคุณค่าทรัพยากรสัตว์น้ำ และทรัพยาชายฝั่งเพื่อที่จะจัดเวทีข้อมูลให้กับประชาชนในการจัดกิจกรรมในครั้งต่อไป คือกิจกรรมเวที ในการคืนข้อมูลให้กับประชาชน

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เพื่อสรุปทบทวนข้อมูลทรัพยากรสัตว์น้ำ และทรัพยากรชายฝั่ง เพื่อที่จะจัดทำแผนคุณค่าทรัพยากรสัตว์น้ำ และทรัพยาชายฝั่งเพื่อที่จะจัดเวทีข้อมูลให้กับประชาชนในการจัดกิจกรรมในครั้งต่อไป

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 30 คน จากที่ตั้งไว้ 30 คน
ประกอบด้วย

1) คณะกรรมการหมู่บ้าน 5 คน 2) สมาชิกศูนย์เรียนรู้ทรัพยากรทางทะเล 5 คน 3) เยาวชน 5 คน 4) สมาชิกสภา อบต.ตันหยงโป 2 คน 5) เจ้าหน้าที่ จาก อบต.จำนวน 3 คน
6) ผู้ประกอบอาชีพประมงพื้นบ้าน 9 คน 7) จนท.สภาเกษตรกรจังหวัดสตูล จำนวน 1 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นางสาวอัญญา แสะหลี
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

จัดการฐานข้อมูลทรัพยากรสัตว์น้ำ และทรัพยากรชายฝั่ง (ทุติยภูมิ)20 กุมภาพันธ์ 2558
20
กุมภาพันธ์ 2558รายงานจากพื้นที่ โดย taksina
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อที่จะได้ทราบถึงจำนวนพื้นที่ป่าไม้ จำนวนชนิดของพันธุ์ไม้ จำนวนของสัตว์นำ้แต่ละชนิดที่จับได้ในแต่ละวัน เครื่องมือที่ใช้ทำการประมงชายฝั่ง สถานที่ในการทำประมงชายฝั่งในแต่ละวัน ขนาดของเรือ ขนาดของเครื่องยนต์ ค่าใช้จ่ายในแต่ละวัน รายได้ในแต่ละวัน และเวลาที

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

1.นำข้อมูลทั้งหมดจำนวน 150 ชุด มาแยกแต่ละรายการดังนี้ -ข้อมูลทั่วไปของผู้ประกอบอาชีพประมงชายฝั่ง มี 4 ข้อ 1) ชื่อ-สกุล 2) อายุ 3) ระดับการศึกษา 4) ระยะเวลาในการประกอบอาชีพ -ประเภทของอาชีพประมงพื้นบ้าน
1) ตกเบ็ด 2) ไดหมึก 3) อวนปู 4) ไซกั้ง 5) เบ็ดราว 6) รุนกุ้งเคย 7) เหยียบกั้ง 8 ) อวนปลา 9) อวนกั้ง 10) อวนกุ้ง 11) ไซปู 12) ไซปลาเก๋า -ชนิด และขนาดของเครื่องมือประมง (ตอบได้มากกว่า ๑ ข้อ) - เบ็ด ขนาด................................. จำนวน........................ตา ขนาด................................. จำนวน........................ตา ขนาด................................. จำนวน........................ตา -ไดหมึก ขนาดของความถี่ตาข่ายอวน..................... จำนวน........................หัว ขนาดของวัตต์ไฟฟ้า................................... จำนวน........................ดวง - อวนปู ขนาดของตาอวน............................ ซ.ม. จำนวน........................หัว - อวนปลากุเรา ขนาดของตาอวน............................ ซ.ม. จำนวน........................หัว - อวนปลาพง ขนาดของตาอวน............................ ซ.ม. จำนวน........................หัว - อวนปลาทู ขนาดของตาอวน............................ ซ.ม. จำนวน........................หัว - อวนกุ้ง ขนาดของตาอวน............................ ซ.ม. จำนวน........................หัว - อวนกั้ง ขนาดของตาอวน............................ ซ.ม. จำนวน........................หัว - ไซกั้ง ขนาดของตาอวน............................ ซ.ม. จำนวน........................หัว   ขนาดความกว้างของหน้าไซ.........................ซ.ม. -ไซปู ขนาดของตาอวน............................ ซ.ม. จำนวน........................หัว   ขนาดความกว้างของหน้าไซ.........................ซ.ม. -ไซปลา ขนาดของตาอวน............................ ซ.ม. จำนวน........................หัว   ขนาดความกว้างของหน้าไซ.........................ซ.ม. - พาหนะ (เรือ) ขนาดกว้าง...................เมตร   ขนาดยาว.....................เมตร 
- จำนวนตัวกง................ตัว - ขนาดเครื่องยนต์....................แรงม้า - ชนิดน้ำมัน............................. รายจ่ายเพื่อการลงทุน - ปริมาณน้ำมันที่ใช้ (ต่อครั้ง) จำนวน.........................................ลิตร - ค่าอาหาร/ของใช้ที่จำเป็น(ต่อครั้ง)...........................................บาท เริ่มออกทำการประมง เวลา.............................น แหล่งทำการประมง..................................... ผลผลิตที่ได้ในแต่ละวัน 1 ) ปลา............. จำนวน..............กิโลกรัมๆละ................บาท รวมเป็นเงิน.............บาท 2 ) กุ้ง............. จำนวน..............กิโลกรัมๆละ................บาท รวมเป็นเงิน.............บาท 3 ) กั้ง............. จำนวน..............กิโลกรัมๆละ................บาท รวมเป็นเงิน.............บาท 4 ) หมึก............. จำนวน..............กิโลกรัมๆละ................บาท รวมเป็นเงิน.............บาท 5 ) ปู............. จำนวน..............กิโลกรัมๆละ................บาท รวมเป็นเงิน.............บาท 5 ) หอย............. จำนวน..............กิโลกรัมๆละ................บาท รวมเป็นเงิน.............บาท รายได้ รวมรายได้ต่อวัน.....................................บาท กลับจากการทำประมง เวลา.............................น พันธุ์ไม้ชายเลนมีกีชนิด

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.ทำให้สามารถรู้ว่าในแต่ละวันบ้านตันหยงโป หมู่ที่ 1 ตำบลตันหยงโป สามารถจับสัตว์น้ำได้เท่าไร สัตว์นำ้อาศัยอยู่บริเวณไหนบ้าง ทำไมสัตว์น้ำจึงอยู่บริเวณนั้นมาก ควรที่จะมีการกันพื้นที่ห้ามทำการประมงบริเวณไหนบ้างเพื่อที่จะอนุบาลสัตว์น้ำวัยอ่อน

2.ทำไมรายได้จึงลดลง

3.ทำให้ทราบถึงผู้ที่มีความเชี่ยงชาญในการตกเบ็ด

4.ได้รู้ถึงพันธ์ไม้ชายเลนที่หายไปจากอ่าวตันหยงโป

5.ได้ทราบถึงแนวกหินปะการังธรรมชาติที่สัตว์น้ำอาศัยอยู่

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 50 คน จากที่ตั้งไว้ 50 คน
ประกอบด้วย

จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 50 คน ประกอบด้วย 1.ผู้ประกอบอาชีพประมงชายฝั่ง จำนวน  30 คน 2. คณะทำงาน 20 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ปัญหา ทำอย่างไรให้ทรัพยากรสัตว์น้ำมีปริมาณเพิ่มขึ้น แนวทางแก้ไข จะต้องสร้างความลดลงของการเห็นแก่ตัวของผู้ประกอบอาชีพประมงพื้นบ้านเองก่อน จะต้องวางปะการังเพิ่มจากแนวปะการังธรรมชาติ จะต้องกันแนวเขตห้ามทำการประมง จะต้องเพิ่มปริมาณป่าไม้ชายเลน

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นางสาวอัญญา แสะอาหลี
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ของบประมาณพิเศษ จาก สสส ในการสร้างปะการังเพิ่ม นอกจากการทำปะการังแบบชาวบ้าน

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ของบประมาณเพิ่มจาก สจรส.ในการจัดทำกิจกรรมต่อยอดในปีงบประมาณต่อไป

ประชุมคณะทำงานครั้งที่่ 3 เพื่อสรุปแบบสำรวจ13 กุมภาพันธ์ 2558
13
กุมภาพันธ์ 2558รายงานจากพื้นที่ โดย taksina
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อสรุปแบบสำรวจทรัพยากรสัตว์น้ำ และทัพยากรชายฝั่งที่ได้จากการสำรวจข้อมูล ๑๕ วัน

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

สรุปแบบสำรวจทรัพยากรสัตว์น้ำ และทรัพยากรชายฝั่งที่ได้จากการสำรวจข้อมูล 15 วัน และวิเคราะห์ข้อมูลตามรายละเอียดต่างๆ แบบสำรวจมีรายละเอียดดังนี้
1.ข้อมูลทั่วไปประกอบด้วยข้อมูลดังนี้ -ชื่อ -อายุ -ระดับการศึกษา -ระยะเวลาในการประกอบอาชีพ
2.ประเภทของอาชีพประมงพื้นบ้าน -ตกเบ็ด -ไดหมึก -อวนปู -ไซกั้ง -เบ็ดราว -รุนกุ้งเคย -เหยียบกั้ง -อวนปลา -อวนกั้ง -อวนกุ้ง -ไซปู -ไซปลาเก๋า 3.ชนิด และขนาดของเครื่องมือประมง 4.ขนาดของพาหนะในการประกอบอาชีพ 5.ค่าใช้จ่ายเฉลี่ยในการออกประกอบอาชีพในแต่ละครั้ง 6.เวลาทำการประมงเฉลี่ยในแต่ครั้ง 7.ผลผลิตที่ได้ในแต่ละครั้ง 8.รายได้ในการออกประกอบอาชีพในแต่ละครั้ง

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

สามารถรู้รายละเอียดของเครื่องมือประมงแต่ละประเภท ในการได้จำนวนสัตว์น้ำ ในแต่ละโซน และรู้ถึงพันธ์ุไม้ป่าชายเลนว่ามีอยู่เท่าไร ประเภทไหนบ้าง

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 30 คน จากที่ตั้งไว้ 30 คน
ประกอบด้วย

1) คณะกรรมการหมู่บ้าน 5 คน 2) สมาชิกศูนย์เรียนรู้ทรัพยากรทางทะเล 5 คน 3) เยาวชน 5 คน 4) สมาชิกสภา อบต.ตันหยงโป 2 คน 5) เจ้าหน้าที่ จาก อบต.จำนวน 3 คน
6) ผู้ประกอบอาชีพประมงพื้นบ้าน 9 คน 7) จนท.สภาเกษตรกรจังหวัดสตูล จำนวน 1 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

การลดลงของปริมาณสัตว์นำ้ในช่วงที่ทำการสำรวจ ตรงกับการเริ่มต้นการใช้เครื่องมือประมงแบบปั่นหมึก ทำให้ผู้ประกอบอาชีพประมงได้สัตว์น้ำลดลง ควรมีมาตรการไม่ให้เรือปั่นหมึกเข้ามาในรัศมี 3,000 กิโลเมตร ในระยะห่างจากฝั่ง

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นางสาวอัญญา แสะหลี
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

ดำเนินการออกสำรวจเก็บข้อมูลจากผู้ที่ประกอบอาชีพประมงพื้นบ้านจำนวน 15 วัน16 มกราคม 2558
16
มกราคม 2558รายงานจากพื้นที่ โดย taksina
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อจัดเก็บข้อมูลทรัพยากรในชุมชน เช่น จำนวนพื้นที่ป่าไม้ จำนวนชนิดของพันธุ์ไม้ จำนวนของสัตว์นำ้แต่ละชนิดที่จับได้ในแต่ละวัน เครื่องมือที่ใช้ทำการประมงชายฝั่ง สถานที่ในการทำประมงชายฝั่งในแต่ละวัน ขนาดของเรือ ขนาดของเครื่องยนต์ ค่าใช้จ่ายในแต่ละวัน รายได้

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

1.ผู้ประกอบอาชีพประมงชายฝั่งที่อาสาสมัครจัดเก็บข้อมูลจำนวน 30 คน
2.ดำเนินการจัดเก็บข้อมูลในแต่ละวัน ในความรับผิดชอบ จำนวน 5 ครอบครัว
3.ดำเนินการจัดเก็บเป็นเวลา จำนวน 15 วัน

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

การสำรวจข้อมูลด้วยตนเองทำให้รู้จักตนเอง รู้จักทรัพยากรว่าสถานการณ์เป็นอย่างไร เมื่อได้เรียนรู้กับการปฏิบัตินำไปสู่การเปลี่ยนแปลงที่สรา้งความตะหนักถึงความสำคัญของการอนุรักษ์ทรัพยากร

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 30 คน จากที่ตั้งไว้ 30 คน
ประกอบด้วย

ผู้ประกอบอาชีพประมงชายฝั่ง จำนวน 30 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ผู้ประกอบอาชีพประมงกลับมาจากการประกอบอาชีพประมงชายฝั่งไม่พร้อมกัน ทำให้ผู้สำรวจข้อมูลต้องใช้เวลาในการเดินทางไปสำรวจเก็บข้อมูลหลายครั้งในแต่ละวัน

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นางสาวอัญญา แสะอาหลี
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 2 เพื่อคณะทำงานมีความเข้าใจ และเรียนรู้ร่วมกันในการปฏิบัติงาน9 มกราคม 2558
9
มกราคม 2558รายงานจากพื้นที่ โดย taksina
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อ ติดตาม การจัดประชุมการออกแบบสำรวจข้อมูล การเตรียมทีมจัดเก็บข้อมูล

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

จัดประชุมเพื่อติดตาม การออกแบบจัดเก็บข้อมูล การเตรียมทีมจัดเก็บข้อมูล และได้ปรับปรุงแบบการจัดเก็บข้อมูล

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ได้แบบการจัดเก็บข้อมูลที่สมบูรณ์ ได้ทีมในการจัด และสามารถจัดทำแบบสำรวจข้อมูลทันในการเริ่มต้นการจัดเก็บข้อมูลในวันที่ 16 มกราคม 2558

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 30 คน จากที่ตั้งไว้ 30 คน
ประกอบด้วย

1) คณะกรรมการหมู่บ้าน 5 คน 2) สมาชิกศูนย์เรียนรู้ทรัพยากรทางทะเล 5 คน 3) เยาวชน 5 คน 4) สมาชิกสภา อบต.ตันหยงโป 2 คน 5) เจ้าหน้าที่ จาก อบต.จำนวน 3 คน
6) ผู้ประกอบอาชีพประมงพื้นบ้าน 9 คน 7) จนท.สภาเกษตรกรจังหวัดสตูล จำนวน 1 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ให้คณะทำงานดูแลทีมจัดเก็บข้อมูลให้ได้ข้อมูลที่ตรงกับความเป็นจริง

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นางสาวอัญญา แสะอาหลี
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

จัดการฐานข้อมูลทรัพยากรสัตว์น้ำ และทรัพยากรชายฝั่ง (ปฐมภูมิ)26 ธันวาคม 2557
26
ธันวาคม 2557รายงานจากพื้นที่ โดย taksina
circle
วัตถุประสงค์

๑.มีระบบฐานข้อมูลทรัพยากรสัตว์น้ำ๒.มีระบบฐานข้อมูลทรัพยากรชายฝั่ง๓.สร้างทีมทำงานจัดเก็บข้อมูล๔.ออกแบบสำรวจการจัดเก็บข้อมูล๕.ได้รูปแบบการจัดเก็บข้อมูล

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

จัดประชุมผู้ประกอบอาชีพประมงชายฝั่ง จำนวน  30 คน และคณะทำงาน 20 คน เพื่อ
- เตรียมความพร้อมบุคคลในการจัดเก็บข้อมูล - การออกแบบสำรวจ - กำหนดวิธีการสำรวจ

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ได้บุคคลในการจัดเก็บข้อมูล
ได้แบบสำรวจ ข้อมูลทั่วไป อุปกรณ์ในการทำประมง ใน 1 วันจับได้อะไรบ้าง  สถานที่ทำประมงบริเวณใด ค่าใช้จ่ายเท่าไร รายได้ต่อ 1 วันได้เท่าไร
ได้วิธีการสำรวจ แบ่งการสำรวจ 1 คน สำรวจ 5 ชุด เก็บ 15 วัน

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 50 คน จากที่ตั้งไว้ 50 คน
ประกอบด้วย

จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 50 คน ประกอบด้วย 1.ผู้ประกอบอาชีพประมงชายฝั่ง จำนวน  30 คน 2. คณะทำงาน 20 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ปัญหา ความพร้อม และความร่วมมือ ในการเข้าประชุม

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นางสาวอัญญา แสะอาหลี
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

ลงพื้นที่เข้าร่วมประชุมเพื่อชี้แจงการทำงานโครงการของพื้นที่5 ธันวาคม 2557
5
ธันวาคม 2557รายงานจากพี่เลี้ยง โดย อนัญญา แสะหลี
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อเข้าร่วมรับฟังและทำความเข้าใจการทำงานโครงการก่อนเริ่มกิจกรรมในโครงการร่วมสร้างชุมชนท้องถิ่นให้น่าอยู่

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

ประชุมทำความเข้าใจการทำงานโครงการให้คณะทำงานได้รับทราบความเป็นมาและแนวทางการขับเคลื่อนงานต่อไป

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

คณะทำงานโครงการมีความเข้าใจการทำงานมากขึ้นและพร้อมที่จะช่วยกันทำงานโครงการมากขึ้น

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 2 คน จากที่ตั้งไว้ 2 คน
ประกอบด้วย

พี่เลี้ยงโครงการ 1. นางกัลยทรรศน์  ติ้งหวัง 2. นางสาวอนัญญา  แสะหลี

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข
  • ไม่มี
circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ
  • ไม่มี
circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่
  • ให้พื้นที่พยายามทำกิจกรรมตามที่ได้ลงปฏิทินไว้หรือถ้าไม่ได้ก็ให้แก้ไขปฏิทินโครงการเพื่อให้สอดคล้องกับการทำกิจกรรม
ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 1 เพื่อชี้แจงวัตถุประสงค์โครงการ5 ธันวาคม 2557
5
ธันวาคม 2557รายงานจากพื้นที่ โดย taksina
circle
วัตถุประสงค์

จัดประชุมคณะทำงานครั้งที่ 1 เพื่อชี้แจง รายละเอียดขั้นตอนต่างๆในการดำเนินโครงการ

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ
  1. ผู้รับผิดชอบอธิบายรายละเอียดความเป็นมาให้คณะทำงานได้รับทราบ
  2. พี่เลี้ยงโครงการชี้แจงรายละเอียดต่างๆ ถึงขันตอนการดำเนินงาน การเบิกจ่ายงบประมาณ 3.คณะทำงานซักถามข้อสงสัยต่างๆ 4.พี่เลี้ยงโครงการตอบข้อซักถาม เพื่อความเข้าใจตรงกัน ของคณะทำงาน
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

วันที่ 5 ะันวาคม 2559 กลุ่มชุมชนตันหยงโป หมู่ที่ 1 ร่วมใจรักษ์ ฟื้นฟูทรัพยากรสัตว์น้ำ และทรัพยากรชายฝั่ง คณะทำงานร่วมรับฟังการประชุมชี้แจงวัตถุประสงค์การดำเนินกิจกรรมต่างๆ ของโครงการ ทำให้คณะกรรมการได้รับทราบแนวทางการปฏิบัติงานเป็นที่ถูกต้องตรงกัน

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 50 คน จากที่ตั้งไว้ 30 คน
ประกอบด้วย

1) คณะกรรมการหมู่บ้าน 5 คน 2) สมาชิกศูนย์เรียนรู้ทรัพยากรทางทะเล 5 คน 3) เยาวชน 10 คน 4) สมาชิกสภา อบต.ตันหยงโป 2 คน 5) เจ้าหน้าที่ จาก อบต.จำนวน 3 คน
6) ผู้ประกอบอาชีพประมงพื้นบ้าน 9 คน 7) เจ้าหน้าที่สภาเกษตรกรจังหวัดสตูล จำนวน 1 คน 8) เจ้าหน้าที่ศูนย์การเรียนรู้ชุมชน 1 คน 9) คณะกรรมการมัสยิด 14 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นางสาวอัญญา แสะอาหลี
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

จัดทำป้ายเขตปลอดบุหรี่4 ธันวาคม 2557
4
ธันวาคม 2557รายงานจากพื้นที่ โดย taksina
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อจัดทำป้ายสถานที่นี้ปลอดบุหรี เพื่อใช้ในกิจกรรมทุกกิจกรรมของโครงการ

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

สั่งทำป้าย สถานที่นี้ปลอดบุหรี่

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จัดทำป้าย สถานที่นี้ปลอดบุหรี่ จำนวน 1 ป้าย เพื่อใช้ในกิจกรรมทุกกิจกรรม

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 1 คน จากที่ตั้งไว้ 1 คน
ประกอบด้วย

นายสอาด กาดีโลน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นางสาวอนัญญา แสะอาหลี
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

ปฐมนิเทศน์โครงการ29 พฤศจิกายน 2557
29
พฤศจิกายน 2557รายงานจากพื้นที่ โดย taksina
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อเรียนรู้๑.การบันทึกรายละเอียดโครงการ๒.การบันทึกแผนภาพเชิงระบบของโครการ๓.การส้างปฏิทินของโครงการ๔.การบันทึกกิจกรรมของโครงการ

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

๑.การบันทึกรายละเอียดโครงการ ๒.การบันทึกแผนภาพเชิงระบบของโครการ ๓.การส้างปฏิทินของโครงการ ๔.การบันทึกกิจกรรมของโครงการ ๕.เรียนรู้ การทำรายงาน ส.๑,ส.๒,ส.๓,ง.๑ และง.๓

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

วันที่ ๒๙-๓๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ ผู้รับผิดชอบโครงการ ชุมชนตำบลตันหยงโป หมู่ที่ ๑ ร่วมใจอนุรักษ์ ฟื้นฟู ทรัพยากรสัตว์น้ำ และทรัพยากรชายฝั่ง โดยมี ผศ.ดร.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ ผอ.สจรส.มอ. โดยมีวัตถ่ประสงค์ดังนี้ ๑.การบันทึกรายละเอียดโครงการ ๒.การบันทึกแผนภาพเชิงระบบของโครการ ๓.การส้างปฏิทินของโครงการ ๔.การบันทึกกิจกรรมของโครงการ และผู้รับผิดชอบได้ดำเนินการ เสร็จเรียบร้อยแล้ว

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

เกือบได้ตามเป้าหมาย (2)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 2 คน จากที่ตั้งไว้ 2 คน
ประกอบด้วย

นายสอาด กาดีโลน และนางสาวทักษิณา ส่องสว่าง

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ระบบอินเตอร์เน็ต ไม่สมบูรณ์ ทำให้การบันทึกข้อมูลติดขัด เกิดความล่าช้า

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นางสาวอัญญา แสะหลี
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ทีมวิทยากร ควรมีการประชุมสรุปให้ความคิดเห็นให้ตรงกัน เพื่อความเข้าใจตรงกันของผู้เข้าร่วมปฐมนิเทศ

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

ปฐมนิเทศโครงการร่วมสร้างชุมชนน่าอยู่ปี 255729 พฤศจิกายน 2557
29
พฤศจิกายน 2557รายงานจากพี่เลี้ยง โดย อนัญญา แสะหลี
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อปฐมนิเทศน์โครงการชุมชนท้องถิ่นให้น่าอยู่

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

ปฐมนิเทศน์การทำงานโครงการร่วมสร้างชุมชนท้องถิ่นให้น่าอยู่ ในเรื่องการลงพื้นที่ของพี่เลี้ยง แนวทางการจัดทำรายงานจาก สสส. การบริหารจัดการโครงการสู่ความสำเร็จ

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

พื้นที่มีความรู้เรื่องการลงข้อมูลในเวบไซค์และวิเคราะห์ข้อมูลในการลงปฏิทินโครงการ

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 1 คน จากที่ตั้งไว้ 1 คน
ประกอบด้วย

พี่เลี้ยงโครงการ

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข
  • เน็ตช้ายากต่อการลงข้อมูล
circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ
  • ไม่มี
circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่
  • ให้พื้นที่ลงข้อมูลโดยละเอียกและวิเคราะห์กิจกรรมเมื่อลงในปฏิทินโครงการ