assignment
บันทึกกิจกรรม
พบพี่เลี้ยงเพื่อสรุปผลและปิดรายงานโครงการ12 ตุลาคม 2559
12
ตุลาคม 2559รายงานจากพี่เลี้ยง โดย yongyut
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อติดตามเยี่ยมโครงการและปิดเอกสารโครงการ

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

วันนี้ตัวแทนโครงการบ้านทรายขาว 4  คน มาพบพี่เลี้ยง  ที่ รพ.สต.เขาพระบาท อ.เชียรใหญ๋  เพื่อนำเอกสารมาตรวจสอบ และสรุปผลการดำเนินงาน ดังนี้ 1.ตรวจเอกสารตามกิจกรรม พบว่าต้องมีการแก้ไข เพิ่มเติมรายละเอียดการดำเนินงาน 2.ตรวจภาพถ่ายในการดำเนินงาน แนะนำให้ไปโหลดภาพถ่ายเพิ่ม และการทำกิจกรมแต่ละครั้ง สามารถทำเป็นกลุ่มย่อยๆได้
3.เอกสารทางการเงิน หลักฐานยังไม่ถูกต้องให้เขียน รายจ่ายแต่ละครั้งให้ละเอียด 4.ตรวจสอบสมุดบัญชี พบว่า ได้ถอนเงินออกจากบัญชีแล้ว
5.ดำเนินการปรับข้อมูล ในแผนภาพ รายละเอียดโครงการ และเคลียร์กิจกรรมการใช้เงินให้ถูกต้อง 6.ปิดรายงาน ง.1  และ ง.2 7.สรุปบทคัดย่อเพื่อจัดทำรายงาน ส.3

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต 1.ตัวแทนคณะทำงานพบพี่เลี้ยง เพื่อตรวจสอบเอกสาร 2 คน 2.มีการปรับปรุงแก้ไขเอกสารและบันทึกออนไลน์

ผลลัพธ์ 1.จัดทำสรุปรายงานตามกิจกรรมและบทคัดย่อ สรุปผลการดำเนินงานตามโครงการ 2.หลักฐานการใช้จ่ายเงินเป็นไปตามกิจกรรมตามที่กำหนด 3.สามารถปิดงวดรายงาน ง.1  ง.2 และ ส.3 ได้

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 4 คน จากที่ตั้งไว้ 2 คน
ประกอบด้วย

คณะทำงาน 4 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

การจัดทำเพื่อทำรายงาน งวดที่ 2 และรายงานปิดโครงการ12 ตุลาคม 2559
12
ตุลาคม 2559รายงานจากพื้นที่ โดย ณัฐชยา รัตนพันธ์
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อจัดทำรายงาน  และเตรียมเอกสารการเงิน

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

วันนี้คณะทำงานได้เดินทางมา ที่ รพ.สต.เขาพระบาท เพื่อมาทำรายงานกิจกรรมเอกสารด้านการเงิน และตรวจสอบเอกสารด้านการเงินพร้อมทั้งตรวจสอบการบันทึกการข้อมูลในเว็บไซต์

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต : มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 2 คน

ผลลัพท์ : ได้รายงานผลการดำเนินกิจกรรมบันทึกข้อมูลในเว็บไซต์ เอกสารการเงินถูกต้อง สามารถส่งรายงานให้ สจรส.ม.อ.ได้

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 2 คน จากที่ตั้งไว้ 2 คน
ประกอบด้วย

คณะทำงาน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

ถ่ายภาพกิจกรรม และจัดทำรายงาน11 ตุลาคม 2559
11
ตุลาคม 2559รายงานจากพื้นที่ โดย ณัฐชยา รัตนพันธ์
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อจัดทำรายงานและเตรียมเอกสารปิดโครงการ

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

กิจกรรมในวันนี้ เป็นกิจกรรม ภาพกิจกรรม และจัดทำรายงานโดยเขียนรายละเอียดของกิจกรรมจ่างๆทั้งหมดที่โครงการได้ดำเนินมารูปทั้งรวมรูปภาพของกิจกรรมต่างๆเพื่อจัดทำเผยแพร่ต่อไป

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 5 คน
  2. มีภาพกิจกรรมเพื่อเป็นสื่อในการเผยแพร่กิจกรรม 1 ชุด
  3. จัดทำรายงานต่างๆที่ดำเนินโครงการที่ผ่านมา เพื่อจัดทำเผยแพร่ต่อไป มีรายงานฉบับสมบูรณ์ 1 เล่ม และสามารถส่งรายงานได้ทันในเวลา
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 2 คน จากที่ตั้งไว้ 2 คน
ประกอบด้วย

คณะทำงาน 2 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นายยงยุทธ สุขพิทักษ์
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

เยี่ยมติดตามโครงการ งวดที่ 39 ตุลาคม 2559
9
ตุลาคม 2559รายงานจากพี่เลี้ยง โดย yongyut
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อติดตามเยี่ยมโครงการและสรุปผลการดำเนินงานตามโครงการ

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

วันนี้พี่เลี้ยงได้ติดตามเยี่ยมโครงการและพูดคุยกับคณะทำงาน เพื่อเล่าผลการดำเนินงานและสิ่งที่เกิดขึ้น พบว่า

นางจำเนียร เล่าให้ฟังว่า "โครงการนี้ได้ปลูกมะละกอ แขกดำ60 ต้น ทำกิจกรรม นี้คิดว่าน่าจะมีรายได้ การทำกิจกรรมนี้ ทำให้สนุก ได้ออกแรง ปลูกตะไคร้ ใบรา ชอบทำ ถึงได้ทำ ได้บริหารร่างกายอยู่นิ่งๆไม่ได้ โครงการได้ชวนมาทำกิจกรรม อยากให้ทุกคนทำงาน เชื่อเพราะคิดว่าทำแล้วได้ตังค์ทำแล้วมีความสุข ไม่เข็ด ไม่เมื่อย

นางสมพร เล่าให้ฟังว่า "ทำกิจกรรมปลูกผัก ยอดยาร่วง จิก มันปู จิกนา ยอดหมุยหอม ยอดหมุยเล็ก ปลูกข่า ขมิ้นได้เงิน มีรายได้เสริม เฉลี่ย 2,000 บาท
ได้ความสุข สบายใจ ช่วงนี้ทำไร่ด้วย ก็ทำแบบผสมผสาน ตัวเรา รุ้สึกสบายตัว เบาตัว เมื่อก่อนอยู่เฉยๆ ตอนนี้สบายใจ ไม่ทำอะไร ก็ไปเก็บผัก ได้มีรายได้
คนในบ้านเปลี่ยนแปลง คือ ไม่ต้องซื้อ ชอบหุงข้าวกับไม้ฟืนผักหญ้าไม่ต้องซื้อ คนข้างบ้าน ตอนแรกไม่ยอมเรียนรู้ คิดว่าเราบ้าตอนนี้ทุกบ้านก็หันมาพูดคุยและทำกิจกรรมร่วมกัน

นางสมส่วน เล่าว่า "สิ่งที่ทำคือทำไร่เลี้ยงไก่ปลูกผักแบบผสม ผักสวนครัวทำแล้วได้ทำกินในครอบครัว การเลี้ยงไก่ ได้ขาย มีรายได้มีรายได้เสริม แต่ไม่แน่นอน ประมาณ 7,000 บาท
มีความสุขจาการทำงาน ไม่ต้องมีเวลาว่าง ไม่ต้องไปนั่งบ้านเพื่อน คนในครอบครัว เปลี่ยนแปลง คือไม่มีเวลาว่าง มีภาระที่บ้านตลอดต้องทำไร่ ทำนา
เพื่อนบ้าน เขาก็ชอบ ยินดีและทำตาม ช่วงแรกๆ ไม่ค่อยสนใจ ได้อะไรโครงการ ได้เรียนรู้"
ป้าลำไย เล่าว่า "ทำข้าวไร่ ปลูกผักสวนครัว มะนาว ส้ม มะเขือ ตะไคร้ ดีปลี ทำแล้วได้มีความสุข กินไม่ต้องซื้อลูกหลานได้กิน
ตัวเราเปลี่ยนแปลงคือ สบายใจ ไม่ต้องซื้อผักกิน ได้ขาย ขายได้เฉลี่ยเดือนละ 2,000 บาท คนในเปลี่ยนแปลง ได้เข้าไปช่วยทำ ลูกได้ช่วยทำ มีการปลูกรอบบ้าน
โครงการนี้ดี ครอบครัวเราไม่ใช้จ่ายมาก ได้ดูแลในบ้าน

กนกพล เล่าว่า "ตนเองได้เลี้ยงเป็ด เลี้ยงไก่ ปลูกกล้วย ทำแล้วมีความสุข ได้หลีกจากงานประจำ จากเดิมกับเงินทำให้เครียด หลีกงานประจำมาทำงานพวกนี้ ทำให้มีความสุข
ตัวเอง เปลี่ยน มีกิน มีใช้มีผลผลิตได้กินเองจากเป็ดไก่ ส่วนที่เหลือขายเฉลี่ย เดือน 5,000 บาทการทำกิจกรรมแบบนี้ทำให้เราได้มีชีวิตที่ดี ปลดหนี้สินได้ คนในครอบครัว มีความสุขที่ได้ทำการเกษตรแบบนี้ได้ดูแลพ่อแม่ เพื่อนบ้าน มีการแบ่งปัน ทั้งความรู้ ทั้งผลผลิต โครงการนี้ ดี เพราะ ช่วยให้มีการอบรม แลกเปลี่ยนความรู้ ระหว่างการเลี้ยงสัตว์ การทำปุ๋ย
โครงการนี้ทำให้หมู่บ้านเปลี่ยนแปลงคือ คนเข้ามาจับกลุ่มพูดคุย

มลฤดี บอกให้ฟังว่า "มีการเลี้ยงไก่ ปลูกผักสวนครัว ขมิ้นยอดอม มีเวลาว่าง ไม่ต้องออกไปไหน กินในครัว เหลือไปขาย มีรายได้เสริม เดือนละ
3,000 บาท ตัวเราได้ ได้มีเวลาว่างอยู่กับพ่อแม่ ลูก คอรบครัวไม่ต้องดิ้นรนไปทำงานข้างนอก มีความสุขกับการทำงานที่บ้าน

ประคองบอกกับพี่เลี้ยงว่า "มีการปลูกผัก ขมิ้น ดีปลีทำแล้วได้ความสุข มีการทำปุ๋ยไว้ใช้เอง ไม่ต้องซื้อ ปลูกผักทำน้ำหมัก ทำไว้ใช้เอง ลดการใช้สารเคมี ทำไว้กิน
ตัวเองเปลี่ยนแปลงสบายใจมากขึ้น คนในครอบครัวมีการเปลี่ยนปลง ได้ช่วยกันมากขึ้น

ทำโครงการนี้ หมู่บ้าน เปลี่ยนแปลง
ได้ความสามัคคี
ได้ผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษ ได้ลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ครัวเรือน
ได้แลกเปลี่ยนความรู้ มีผลิตภัณฑ์จากสุมนไพรชุมชน คนในครอบครัวมีความสุข ได้กินผักหญ้าที่ปลูก มีกินตลอดเวลา
มีการแลกเปลี่ยนระหว่างครัวเรือน ระหว่างกลุ่ม ระหว่างชุมชน
มีงบประมาณเพิ่มจากหน่วยงานอื่นๆ เกิดกลุ่มในหมู่บ้านกลุ่มปุ๋ยกลุ่มสบู่น้ำยาเอนกประสงค์ในชุมชน

คนในหมู่บ้านนี้เปลี่ยนแปลง คนเริ่มเข้ากลุ่มเริ่มสามัคคี มีการรวมกัน คนมีการปรึกษาพูดคุยกัน
ได้พบปะ พูดคุยกันมากกว่า
คนขยันมากว่าเดิม ไม่มีเวลาว่าง คิดบวก เห็นคุณค่าสิ่งที่มีอยู่ในชุมชน ทุกอย่างนำมาทำน้ำหมักได้
มีเวลาว่างน้อยลง การพนันลดน้อยลง
เมื่อก่อนซื้อของเพื่อน ไม่ค่อยซื้อ
เข้ามาร่วมงานส่วนร่วมเพิ่มขึ้น
มีการสร้างกลุ่มขึ้นมา
เมื่อก่อนยืมตังค์และเงินกู้นอกระบบตอนนี้มีน้อยลง มีการแปรรูปอาหารขายเช่น ข้าวยำ ยำตะไคร้


สิ่งแวดล้อมเปลี่ยน
เดิมมีหญ้า ตอนนี้มีผักขึ้นแทน ตอนนี้ ไม่มีที่ว่าง ที่ว่างมีการปลูกผัก มะละกอ

สารเคมี น้อยลง ลดการใช้สารเคมี ประมาณร้อยละ 70เริ่มใช้ปุ๋ยหมัก น้ำหมักชีวภาพ ลดรายจ่ายประมาณครึ่ง จากเดิมใช้ปุ๋ยที่ซื้อจากร้าน 10 กระสอบ ตอนนี้ซื้อเพียง 3 – 4กระสอบ การลดรายจ่ายประมาณครึ่ง

ความรู้ การทำสบู่ยาสระผม จากการทำปุ๋ยไม่เป็น ทำเป็น เมื่อก่อนปลูกผักข้างบ้านไม่เป็น ตอนนี้ปลูกเป็น
การทำบัญชีรับ จ่าย ได้รู้การจัดทำแผนครัวเรือน
ได้เรียนรู้วิธีการแปรรูปปลาอาหาร

ผลผลิตใหม่ ยาสระผมสมุนไพร ทำจาก ดอกอัญชัน มะกรูด
สบู่ ทำจากขมิ้น น้ำผึ้ง มะขามเปียก และถ่าน สบู่กอ้น ทำจาก ขมิ้น น้ำผึ้งมะขาม ฟักข้าว
ยาตะไคร้ ส่งขาย ในตลาดนัดชุมชน และสร้างรายได้ (ทำเป็นอาหารจานเดี่ยว) อาหารเพื่อสุขภาพ เมี่ยงคำเป็นการเสริมรายได้ ทำจากสมุนไพรในหมู่บ้าน
ข้าวหลาม เป็นการรื้อฟื้นเป็นใช้ไม้ไผ่ที่ปลูกเองในชุมชน

กลุ่มที่เกิดใหม่
กลุ่มส่งเสริมอาชีพบ้านทรายขาว เป็นการแปรรูปผลิตภัณฑ์ในหมู่บ้าน
กลุ่มปุ๋ย

ภาคี เกษตร มาช่วยดูแลเรื่องเกษตร พัฒนาสหกรณ์จังหวัด มาช่วยเป็นวิทยากร เสริมความรู้ พัฒนาชุมชน อบต.เขาขาวมาดูกระบวนการจัดทำกลุ่ม กศน.มาช่วยเรื่องการพัฒนาอาชีพ สปก.มาช่วยเรื่องเสริมอาชีพ


ทำโครงการนี้ คนในหมู่บ้านเปลี่ยนแปลงจริงๆ มั้ย มีคนมาร่วมคิดมากขึ้น
คนที่มีปัญหา เริ่มวางเฉยและเข้ามาเรียนรู้ คนทำโครงการมีความรู้ คนในครอบครัว มึความสุขภาพ มีการพบปะพูดคุย
ลดความขัดแย้งมีการพูดคย
มึกลุ่มอาชีพ มีรายได้

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.ทำโครงการนี้ หมู่บ้าน เปลี่ยนแปลง คือ -ทำให้เกิดความสามัคคี
-ได้ผลิตอาหารที่ปลอดสารพิษ -ได้ลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ครัวเรือน
-ได้แลกเปลี่ยนความรู้ -มีผลิตภัณฑ์จากสุมนไพรชุมชน -คนในครอบครัวมีความสุข ได้กินผักหญ้าที่ปลูก มีกินตลอดเวลา
-มีการแลกเปลี่ยนระหว่างครัวเรือน ระหว่างกลุ่ม ระหว่างชุมชน
-เกิดกลุ่มในหมู่บ้านกลุ่มปุ๋ยกลุ่มสบู่น้ำยาเอนกประสงค์ในชุมชน

2.คนในหมู่บ้านนี้เปลี่ยนแปลง -คนเริ่มเข้ากลุ่มเริ่มสามัคคี มีการรวมกัน -คนมีการปรึกษาพูดคุยกัน
-ได้พบปะ พูดคุยกันมากกว่า
-คนขยันมากว่าเดิม ไม่มีเวลาว่าง -คิดบวก เห็นคุณค่าสิ่งที่มีอยู่ในชุมชน ทุกอย่างนำมาทำน้ำหมักได้
-มีเวลาว่างน้อยลง -การพนันลดน้อยลง
-เมื่อก่อนซื้อของเพื่อน ไม่ค่อยซื้อ
-เข้ามาร่วมงานส่วนร่วมเพิ่มขึ้น
-มีการสร้างกลุ่มขึ้นมา

3.สิ่งแวดล้อมเปลี่ยน
-เดิมมีหญ้า ตอนนี้มีผักขึ้นแทน -ตอนนี้ ไม่มีที่ว่าง ที่ว่างมีการปลูกผัก มะละกอ


4.เกิดความรู้ใหม่ -การทำสบู่ยาสระผม -จากการทำปุ๋ยไม่เป็น ทำเป็น -การทำบัญชีรับ จ่าย -ได้รู้การจัดทำแผนครัวเรือน
-ได้เรียนรู้วิธีการแปรรูปปลาอาหาร

5.เกิดผลผลิตใหม่ -ยาสระผมสมุนไพร ทำจาก ดอกอัญชัน มะกรูด
-สบู่ ทำจากขมิ้น น้ำผึ้ง มะขามเปียก และถ่าน -สบู่กอ้น ทำจาก ขมิ้น น้ำผึ้งมะขาม ฟักข้าว
-ยาตะไคร้ ส่งขาย ในตลาดนัดชุมชน และสร้างรายได้ (ทำเป็นอาหารจานเดี่ยว) อาหารเพื่อสุขภาพ -เมี่ยงคำเป็นการเสริมรายได้ ทำจากสมุนไพรในหมู่บ้าน
-ข้าวหลาม เป็นการรื้อฟื้นเป็นใช้ไม้ไผ่ที่ปลูกเองในชุมชน

6.กลุ่มที่เกิดใหม่
-กลุ่มส่งเสริมอาชีพบ้านทรายขาว เป็นการแปรรูปผลิตภัณฑ์ในหมู่บ้าน
-กลุ่มปุ๋ย

7.เกิดภาคี -เกษตร มาช่วยดูแลเรื่องเกษตร -พัฒนาสหกรณ์จังหวัด มาช่วยเป็นวิทยากร เสริมความรู้ -พัฒนาชุมชน อบต.เขาขาวมาดูกระบวนการจัดทำกลุ่ม -กศน.มาช่วยเรื่องการพัฒนาอาชีพ -สปก.มาช่วยเรื่องเสริมอาชีพ

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 15 คน จากที่ตั้งไว้ 10 คน
ประกอบด้วย

คณะทำงานและกลุ่มเป้าหมาย พี่เลี้ยงโครงการ 15 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

กิจกรรมดังกล่าว ทำให้เกิดการรวมต่อของประชาชนในพื้นที่ได้มากขึ้น และเกิดกลุ่ม เสนอแนะให้นำกิจกรรมไปบอกกลุ่าวหน่วยงานต่างๆ เพื่อต่อยอดการพัฒนาในหมู่บ้าน

เยี่ยมติดตามโครงการ งวดที่ 39 ตุลาคม 2559
9
ตุลาคม 2559รายงานจากพื้นที่ โดย ณัฐชยา รัตนพันธ์
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อเยี่ยมโครงานดุความเป็นไป

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

พี่เลี้ยงโครงการสอบถามรายละเอียดของโครงการ ถามถึงความพอใจของกาตทำกิจกรรมครั้งนี้ ได้รับความรู้อะไรบ้างทำแล้วได้อะไรบ้าง โดยสอบถามผู้เข้าร่วมโครงการ

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ประชนชนได้รับความรู้จากการทำกิจกรรมครั้งนี้ และมีการเข้าใจเกี่ยวกับโคงการนี้มากยิ่งขึ้น แต่ปัญหาที่พบ คือ คนในชุมชนยังไม่เข้าใจในส่วนของโครงการนี้ ส่วนคนที่เข้าาร่วมโครงการนี้ยังไม่เข้าใจกระบวนการทำงานเพราะมีความเข้าใจว่าโครงการนี้ที่เข้ามานั้นเพื่อนำเงินหรือสิ่งของต่างๆมาแจกให้ผุ้ที่เข้าร่วมกลุ่ม แต่ตามความเป็นจริงนั้นเป็นการนำความรู้มาให้ แนวทางในการปฏับ้ตต่างๆ  โดยให้ความเข้าใจไปเรื่อยๆ เพื่อเป็นการพัฒนาตนเอง

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 10 คน จากที่ตั้งไว้ 10 คน
ประกอบด้วย

แกนนำผุ้เข้าร่วมกลุ่มในชุมชน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

ถอดบทเรียน9 ตุลาคม 2559
9
ตุลาคม 2559รายงานจากพื้นที่ โดย ณัฐชยา รัตนพันธ์
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อรู้การปฏิบัติกิจกรรมโครงการ สสส.

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

ถอดบทเรียนการพัฒนา พูดคุยวงล้อมเสวนากันว่าใครมีการลดรายจ่ายหรือไม่ มีรายรับหรือไม่ มาประชุมกัน ถ้าใครที่ลดรายจ่ายเพิ่มรายได้ก็มาแะนำวิธีการใครคนอื่นรับทราบ ใครที่ยังมีรายจ่ายมากกว่ารายรับ ก็ช่วยกันหาทางแก้ไข ว่าสาเหตุใดจึงเป็นเช่นนั้น มาปรึกษาหารือกัน และแก้ไขให้ตรงจุดนั้นตั้งแต่เริ่มโครงการนี้มามีผู้เข้าร่วมให้การไม่มากนักเพราะผู้คนยังไม่เชื่อว่าโครงการนี้จะทำให้ตนเปลี่ยนแปลงอย่างไรเมื่อจัดกิจกรรมต่างๆเชิยชวนพี่น้องาร่วมฟังมากยิ่งขึ้น ผู้ที่เข้าร่วมก้ได้รีบความรู้จากการจัดกิจกรมทุกครั้ง ไม่ว่าจะความรู้ใหมใ่ๆ เทคนิคการทำการเกษตรการร่วมกลุ่มกันช่วยกันพร้อมทั้งเรียนรู้ และนำไปใช้ปฏิับติที่บ้านของตนเอง การจดบันทึกรายรับรายจ่ายการใช้น้ำหมักปุ๋ยชีวภาพแทนสารเคมีที่ทำให้ไม่เป็นอันตรายต่อร่างกาย การกวนสบู่น้ำยาล้างจานเองที่ประหยัดค่าใช้จ่ายลงไปเยอะ อีกทั้งหันมาปลุกผักกินเองแม้หนี้สินจะไม่สามารถลดลงอย่างเห็นได้ชัดแต่ผู้ที่เข้าร่วมส่วนใหย่ที่ลงมือทำต่างก้ให้ความเห็นที่ว่าสามารทำให้ตนเองพออยู่พอกินได้ ไม่เพิ่มค่าใช้จ่ายอย่างใด กลับทำให้มีความสุขในการทำงาานมากยิ่งขึ้น อยากเรียนรู้สิ่งใหม่ๆมาต่อยอดและทำเป็นรายได้เสริมมากยิ่งขึ้น โดยกิจกรรมไม่เพียงแต่ให้ความรู้เท่านั้นยังเป็นการพบปะกับเพื่อนบ้านได้ถามสาระทุกข์สุขดิบความเป็นอยู่ซึ่งกันและกันเป็นการสร้างเสริมสัมพันธ์ไมตรีต่อกันมากยิ่งขึ้น ทำให้คนในชุมชนหันหน้ามาพูดคุยมากยิ่งขึ้นสังคมสามัคคีเข้มแข็งขึ้น

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต : ผู้เข้าร่วม 50 คน

ผลลัพท์:

  1. เกิดการรวมกลุ่ม
  2. ลดรายจ่ายเพิ่มรายได้ได้เรียนรู้การใช้จ่ายและเทคนิคประหยัดในแต่ละการ การใช้ทรัพยากรย่างคุ้มค่าที่สุด
  3. ชาวบ้านมีความตระหนักมากขึ้นถึงแม้ตัวเองจะประหยัดพอสมควรแล้วแต่บางบ้านก็มีการประหยัดมากกว่าซึ่งช่วยลดหนี้สินทำให้รู้ศักยภาพว่าครบครัวตนสามารถลดสิ่งต่างๆมากกว่านี้

ปัญหา : แม้บางครบครัวจะดำเนินตามแผนนี้จริงแต่ก็มีบางบ้านที่รายจ่ายที่มีรายจ่ายเยอะอยู่เศรษฐกิจที่ผันผวน ทำให้รายรับที่ได้ไม่เพียงต่อรายจ่าย จึงต้องชี้แนะว่ากลับกันถ้าต้องจ่ายค่าเล่าเรียนของลูกๆแล้วมาต้องเสียขงจุกจิกในบ้านอีกก็ยิ่งจะทำให้เสียค่าใช่จ่าย นี้เป็นวิธีง่ายๆที่จะสามารถลดให้ไม่จ่ายไปมากกว่านี้

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 50 คน จากที่ตั้งไว้ 50 คน
ประกอบด้วย

ผู้เข้าร่วมโครงการและประชาชนที่สนใจทำกิจกรรม 64 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

 

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นายยงยุทธ สุขพิทักษ์
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

ร่วมงานสร้างสุขคนใต้3 ตุลาคม 2559
3
ตุลาคม 2559รายงานจากพื้นที่ โดย ณัฐชยา รัตนพันธ์
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อร่วมงานสร้างสุขคนใต้

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

วันจันทร์ ที่ 3  ตุลาคม ๒๕๕๙ 12.00 - 13.00  น. การแสดงโขน ตอน ศึกพรหมาสตร์ ศูนย์ส่งเสริมศิลปะและวัฒนธรรมมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พิธีเปิด การร่วมกันร้องเพลงชาติไทย 13.00 - 13.10  น. กล่าวต้อนรับ โดย นายทรงพลสวาสดิ์ธรรม ผู้ว่าราชการจังหวัดสงขลา 13.10- 13.30  น. กล่าวเปิดโดย นายแพทย์วีระพันธ์สุพรรณไชยมาตร์ รองประธานคณะกรรมการกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ 13.30 - 15.00  น. ปาฐกถา เรื่อง “บทบาทของประเทศไทยในการเป็นผู้นำการพัฒนานวัตกรรมสร้างเสริมสุขภาพในภูมิภาคอาเซียน”โดย นายอภิสิทธิ์เวชชาชีวะ อดีตนายกรัฐมนตรี 15.00 - 15.30  น. รายงานสุขภาวะคนใต้ สรุปภาพรวมการดำเนินงานสร้างสุขภาคใต้ปีที่ผ่านมา โดย ผศ.ดร.ภก.พงค์เทพสุธีรวุฒิ ผู้อำนวยการสถาบันการจัดการระบบสุขภาพ (สจรส.ม.อ.) 15.30-17.00  น. เสวนา “มุมมองใหม่ในการพัฒนาระบบสุขภาพในอนาคต” โดย ผศ.ดร.อิสมาอีลลุตฟี จะปะกียา อธิการบดีมหาวิทยาลัยฟาฏอนี นายพงษ์ศักดิ์ยิ่งชนม์เจริญนายกเทศมนตรีนครยะลา นายทวีวัตรเครือสาย ตัวแทนภาคประชาสังคมจังหวัดชุมพร นายแพทย์ยอร์นจิระนครสาธารณสุขนิเทศก์ เขตสุขภาพที่ 12  ผู้ดำเนินรายการเสวนา : นายแพทย์บัญชาพงษ์พานิช 18.00 - 20.00  น. ลานปัญญาสร้างสุข แลกเปลี่ยนความรู้ นวัตกรรม วันอังคาร ที่ ๔ ตุลาคม ๒๕๕๙ 08.00 - 09.00  น. ลานปัญญาสร้างสุข แลกเปลี่ยนความรู้ นวัตกรรม 09.00 - 12.00  น.การประชุมห้องย่อย 1. การพัฒนาและขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วม พื้นที่ 14 จังหวัดภาคใต้ 2. การท่องเที่ยวชุมชนเพื่อการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ 3. กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น 4. สานพลังขับเคลื่อนชุมชนน่าอยู่ สู่นโยบายสาธารณะ 5. ความมั่นคงทางมนุษย์ : การลดปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพ • 09.00 -12.00  น.การนำเสนอผลงานวิชาการ ห้องนำเสนอผลงานวิชาการกลุ่ม 1  ห้องนำเสนอผลงานวิชาการของชุมชน เรื่องเล่าเร้าพลังลานสื่อสร้างสุข 12.00 -14.00  น. ลานปัญญาเสวนา แลกเปลี่ยนเรียนรู้นวัตกรรม ลานศาลาเรือนไทย 14.00-17.00  น. การประชุมห้องย่อย 1. การพัฒนาและขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วม พื้นที่ 14 จังหวัดภาคใต้ (ต่อ) 2. ความมั่นคงทางอาหาร 3. กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น (ต่อ) 4. สานพลังขับเคลื่อนชุมชนน่าอยู่ สู่นโยบายสาธารณะ (ต่อ) 6.การพัฒนาเด็ก เยาวชนและครอบครัว 7.ระบบสุขภาพการแพทย์พหุวัฒนธรรม 14.00-17.00 น. การนำเสนอผลงานวิชาการ ห้องนำเสนอผลงานวิชาการกลุ่ม 1 (ต่อ) ห้องนำเสนอผลงานวิชาการกลุ่ม 2 (ต่อ) ห้องนำเสนอผลงานวิชาการของชุมชน เรื่องเล่าเร้าพลัง (ต่อ) 18.00 -20.00  น. ลานปัญญาเสวนา แลกเปลี่ยนเรียนรู้นวัตกรรม ซึ่งในวันนี้ก็ได้เข้าร่วม การประชุมห้องย่อย สานพลังขับเคลื่อนชุมชนน่าอยู่สู่นโยบายสาธารณะ โดยในเวลา 09.00 น. เริ่มกิจกรรม เริ่มด้วยการร่วมสนุกเต้นเพลงchicken dance ร่วมกันก่อน และหลังจากนั้น ก็ได้มีการเสวนา ในหัวข้อเรื่อง สานพลังชุมชนน่าอยู่สู่นโยบายสาธารณะ โครงการสร้างคนรักษ์สิ่งแวดล้อมที่บ้านทุ่งยาวตำบลโคกม่วงอำเภอเขาชัยสนจังหวัดพัทลุงซึ่งจากปัญหาในหมู่บ้านในเรื่องวิกฤติภัยแล้งทำฝาย ปลูกป่า ขยะ ไฟไหม้ป่าซึ่งจะใช้ฐานข้อมูลพื้นที่กำหนดทิศทางในการทำงาน ซึ่งคนในชุมชนมีส่วนร่วมกัน มีการแบ่งภาระงานเป็นหุ้นส่วน ร่วมกันทำงานในชุมชน ซึ่งมีโครงการจาก สสส เป็นฐานโดยมีอบต. สนับสนุนงบ ประมาณและนักวิชาการ ช่วยเสริม หัวหน้าสำนักปลัด นวก.สาธารณสุขจนท.อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม (ทสจ.) ราชการช่วยจัดการขยะซึ่งจะทำให้ตื่นตัวมากขึ้นซึ่งมีปัจจัยแห่งความสำเร็จโดยการมีผู้นำ ซึ่งนำแบบมีส่วนร่วม ใช้ความรู้ เกิดความร่วมมือ แบ่งภารกิจ และการหนุนเสริมข้อมูลเด่นเฉพาะชุมชน คือ มีพื้นที่ป่าสงวนเต็มพื้นที่ โดยการกำหนดกติกาชุมชน คือ ใช้พื้นที่แล้วต้องปลูกป่าเพิ่ม กันเขตพื้นที่ เป็นพื้นที่ฟื้นฟูมีการเชื่อมโยงเครือข่าย จาก ทสม. (อาสาจัดการทรัพยากรและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม) ภาควิชาการ (มอ.ปัตตานี ม.ทักษิณ) หลังจากจบการเสวนาก็ ชม การแสดงโขนคนตอน เชิดพระอิศวร 10.10 น. นำเสนอกรณีศึกษาประเด็นการคัดแยกขยะโครงการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่บ้านห้วยลึกจัดการขยะชุมชนตำบลทรายขาวอำเภอคลองท่อมจังหวัดกระบี่ 10.30น. นำเสนอกรณีศึกษาประเด็นเศรษฐกิจพอเพียงโครงการแหลมยางนาพึ่งพาเศรษฐกิจพอเพียงตำบลตะโกอำเภอทุ่งตะโก จังหวัดชุมพร 11.50น.นำเสนอกรณีศึกษาประเด็นเด็กและเยาวชนโครงการปันตงสร้างสุขบ้านสี่แยกวัดโหนดตำบลโพธิ์ทอง อำเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช 11.20 น. ผู้ทรงคุณวุฒิให้คำแนะนำการขับเคลื่อนชุมชนสู่ข้อเสนอเชิงนโยบาย 14.00 น. นำเสนอกรณีศึกษาประเด็นการจัดการทรัพยากรและการท่องเที่ยวโครงการการจัดการท่องเที่ยววิถีชุมชน บ้านท่าฉัตรชัยตำบลนาท่อม ตำบลไม้ขาวอำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต 14.20 น.นำเสนอกรณีศึกษาประเด็นการจัดการสุขภาพและอาหารปลอดภัยโครงการชุมชนหูยานบ้านน่าอยู่สู่การจัดการตนเองตำบลนาท่อมอำเภอเมืองจังหวัดพัทลุง 14.40 น. ผู้ทรงคุณวุฒิให้คำแนะนำการขับเคลื่อนชุมชนสู่ข้อเสนอเชิงนโยบาย 15.30 แลกเปลี่ยนเรียนรู้ การขับเคลื่อนงานชุมชนน่าอยู่ สู่การยกระดับเชิงนโยบายโดย อ.กำไล สารักษ์ และ อ.สุวิทย์ เมื่อเสร็จกิจกรรมการเสวนาแลกเปลี่ยนกันก็คนที่เข้าร่วมกิจกรรมในห้องประชุมย่อยก็ได้มาจับมือร่วมกันเป็นวงกลม และร้องเพลงศรัทธาร่วมกัน วันพุธที่ 5  ตุลาคม 2559    08.00 - 09.00  น. ลานสร้างสุข แลกเปลี่ยนความรู้ นวัตกรรม ลานศาลาเรือนไทย 09.00-10.30  น. สรุปข้อเสนอเพื่อการขับเคลื่อนการสร้างเสริมสุขภาพของภาคใต้ 10.30 11.45  น. เสวนาเรื่อง “การขับเคลื่อนระบบสุขภาพของประเทศไทยสู่การเป็นผู้นำภูมิภาคอาเซียน”โดย  นายแพทย์ศักดิ์ชัยกาญจนวัฒนารักษาการเลขาธิการสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ  ดร.สุปรีดา อดุลยานนท์ผู้จัดการสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ  นายแพทย์พลเดชปิ่นประทีป เลขาธิการสำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ  รศ.ดร.วิลาสินีพิพิธกุล รองผู้อำนวยการองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทยสถานีโทรทัศน์ (TPBS)ผู้ดำเนินการอภิปราย นางสาวณาตยา แวววีรคุปต์ 11.45 -12.00  น. พิธีปิด

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ข้อเสนอเพิ่มเติมจากการประชุมห้องย่อย สานพลังขับเคลื่อนชุมชนน่าอยู่สู่นโยบายสาธารณะ

  1. การสื่อสารให้เข้าถึงพื้นที่ รู้จัก สสส.
  2. สสส.ควรทำงานร่วมกับโรงเรียนให้มากขึ้น ถ้าเข้าถึง เยาวชนได้มาก เขาจะรู้จัก สสส.ตั้งแต่ยังเล็ก ปลูกฝังความคิด จิตสาธารณะ ตอนนี้ทางโรงเรียนต้องการคนชี้นำสสส.คิดอะไรเพื่อเด็กและเยาวชนหลายอย่าง เขาไม่รุ้ว่าใครทำอย่างไรให้ถึงโรงเรียนและทำให้ได้สมาชิกคนใหม่ และเด็กๆ ที่จะสืบทอด
  3. การลงไปประชาสัมพันธ์ ลงไปยังพื้นที่ องค์กรเชื่อว่าหลายหมู่บ้าน ชุมชน ยังมีความต้องการวันนี้เป็นนิมิตหลายอันดี ที่ สสส.ซึ่งเป็นองค์กรอิสระ และวันนี้สำคัญถ้าเราทำงานเชิงรุก ประชาสัมพันธ์ ทำให้ประชาชนได้รุ้จัก สสส. (การสร้างคนรุ่นใหม่ คนรุ่นเยาว์เป็นการปลูกฝังตั้งแต่เด็ก)
  4. อยากเติมเต็มโครงการ สสส. ทำภายใต้เทคโนโลยี ไอทีหลายหมู่บ้านอยากทำเพราะเป็นโครงการที่ดี เขาทำได้ แต่ปัญหาเขาขาดผู้เชี่ยวชาญด้านไอทีอาจจะให้เขาได้เข้ามาเสนอ และหาคนรุ่นใหม่ มาอบรม เติมเต็มทางด้านนี้ เพื่อใช้ในการทำเครื่องมือรายงาน การวัดผล

สรุปข้อเสนอเพื่อการขับเคลื่อนการสร้างเสริมสุขภาพของภาคใต้ 3 ข้อเสนอจากห้องสานพลังขับเคลื่อนชุมชนน่าอยู่สู่นโยบายสาธารณะ

ข้อเสนอ สสส.

  • ส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดกลไก ขับเคลื่อนกระบวนการพัฒนาศักยภาพผู้นาชุมชนเพื่อสร้างชุมชนน่าอยู่ เช่น สนับสนุนให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของผู้นาชุมชนและองค์กรในท้องถิ่น ให้สามารถขับเคลื่อนงานชุมชนน่าอยู่ได้อย่างต่อเนื่อง
  • เพิ่มการสื่อสารและช่องทางการประชาสัมพันธ์ให้ชุมชนได้เข้าถึงแหล่งทุนให้มากขึ้น - สนับสนุนให้เกิดการสร้างกลไกพี่เลี้ยงเพื่อหนุนเสริมให้ชุมชนมีศักยภาพนาไปสู่การสร้างชุมชนเข้มแข็ง
  • สสส. เป็นองค์กรกลางประสานความร่วมมือระหว่างเครือข่าย เพื่อให้เกิดการขยายผลในระดับนโยบาย เพื่อยกระดับการขับเคลื่อนงานชุมชนน่าอยู่

สช.

  • เปิดโอกาสให้ชุมชนที่ดาเนินงานชุมชนน่าอยู่ ได้เข้ามาร่วมในกระบวนการพัฒนานโยบายสาธารณะ เพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วม
  • นาบทเรียนและข้อมูล องค์ความรู้ และคณะทางานจากโครงการชุมชนน่าอยู่ มายกระดับสู่การขับเคลื่อนเชิงนโยบายสาธารณะ ในประเด็นที่สอดคล้องกับการพัฒนาสุขภาวะชุมชน สปสช.
  • ให้กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น จัดสรรงบประมาณให้กับชุมชนที่ดาเนินงานตามแนวทางของชุมชนน่าอยู่เพื่อพัฒนายกระดับจากพื้นที่สู่ตำบล
  • กำหนดสัดส่วนคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นให้มีตัวแทนของผู้นาชุมชนที่ขับเคลื่อนงานชุมชนน่าอยู่ได้สำเร็จ
  • กำหนดหลักเกณฑ์การพิจารณาโครงการสร้างเสริมสุขภาพในชุมชนให้มีแนวทาง เพื่อพัฒนาและร่วมเป็นภาคีเครือข่ายได้มากขึ้น กระทรวงสาธารณสุข
  • กำหนดให้หน่วยบริการสุขภาพ ดาเนินงานสร้างเสริมสุขภาพร่วมกับชุมชนมากขึ้น โดยกำหนดตัวชี้วัดชุมชนน่าอยู่ในมาตรฐานการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
  • ส่งเสริมสนับสนุนให้บุคลากรสาขาสุขภาพมีความเข้าใจ และ มีความร่วมมือกับชุมชน ในการขับเคลื่อนงาน สถานีโทรทัศน์ ไทยพีบีเอส
  • สนับสนุนให้มีการประชาสัมพันธ์ แนวทางการดาเนินงานชุมชนน่าอยู่ให้ทั่วถึงในระดับชุมชนท้องถิ่น
  • นำเสนอบทเรียนพื้นที่ตัวอย่าง ดำเนินงานชุมชนน่าอยู่ เพื่อกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ การพัฒนา กลุ่มผู้นาชุมชนให้มีกลไกการดาเนินงานสร้างชุมชนเข้มแข็ง
  • สนับสนุนให้เกิดช่องทางการสื่อสาร เพื่อประชาสัมพันธ์นวัตกรรมสื่อสร้างสรรค์ชุมชนน่าอยู่ ให้ถึงทั่วถึงในระดับท้องถิ่น และสื่อสารให้สังคมได้เห็นกระบวนการขับเคลื่อนชุมชนอย่างเป็นระบบ
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 2 คน จากที่ตั้งไว้ 2 คน
ประกอบด้วย

คณะทำงาน 2 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นายยงยุทธ สุขพิทักษ์
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

สภาผู้นำบ้านทรายขาว ครั้งที่ 126 กันยายน 2559
6
กันยายน 2559รายงานจากพื้นที่ โดย ณัฐชยา รัตนพันธ์
circle
วัตถุประสงค์

พูดถึงกิจกรรมของโครงการ สสส.

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

นายสหพัฒน์ สุขอนันต์ ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่1 ตำบลเขาขาว อำเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราชมีการประชุมของสภาผู้แทน พบปะพูดคุย ชี้แจง เงื่อนไข รายละเอียด ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ สสส.

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต : ผู้เข้าร่วม 30 คน

ผลลัพท์ : ได้ความคิดเห็นจากผู้เข้าร่วมประชุม โดยแจ้งสรุปว่าที่ผ่านมานั้นสามรถมีการเปลี่ยนแปลงอย่างไรบ้าง ไม่ว่ากิจกรรมต่างๆที่จัดขึ้นเพื่อให้ไม่ได้ทิ้งไปและมีการดำเนินงานอย่างสม่ำเสมอ โดยไม่ว่าจะเรื่องการแปรูป สมุนไพรต่างๆ หรือการมีการมีปุ๋ยใช้ในครัวเรือน หรือการที่คนในชุมเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในการเป็นอยู่ทั้งการหันมากินผักปลอดสารพิษที่ปลูกเองในชุมชนมากยิ่งขึ้น การหาพืชพันธ์ุไม้มาปลูกเสริมแซมในสวนยางพารา และการดำเนินงานในครั้งต่อไปเพื่อให้ทุกคนที่เข้าร่วมได้มีความรู้และนำไปปฏิบัติใช้ได้ทุกคน

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 30 คน จากที่ตั้งไว้ 30 คน
ประกอบด้วย

ผู้นำชุมชน ผู้เข้าร่วมโครงการ

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นายยงยุทธ สุขพิทักษ์
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

พบพี่เลี้ยงเพื่อติดตามโครงการ3 กันยายน 2559
3
กันยายน 2559รายงานจากพื้นที่ โดย ณัฐชยา รัตนพันธ์
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อประชุมร่วมกับพี่เลี้ยงติดตามโครงการงวดที่ 2

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

วันนี้เป็นกิจกรรม มาตรวจเอกสาร และติดตามความคืบหน้าของโครงการโดยวันนี้ได้ตรวจเช็คเอกสารด้านการเงินและการบันทึกในเวปไซต์ ของกิจกรรมต่างๆที่ทำมาทั้งหมดบันทึกรายละเอียดดังกล่าวลงไป

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต : มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 2 คน

ผลลัพท์ : ได้ตรวจสอบเอกสารแล้วต้องกลับไปแก้ไขในเรื่องของใบเสร็จและให้ไปบันทึกข้อมูลในเวปไซต์ให้เรียบร้อย ก่อนส่งให้พี่เลี้ยงตรวจสอบอีกครั้ง เพื่อดำเนินการปิดโครงการในงวดที่ 2

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 2 คน จากที่ตั้งไว้ 2 คน
ประกอบด้วย

คณะทำงาน 2 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

รวมกลุ่มอาชีพเพื่อแก้ปัญหาหนี้สิน ครั้งที่ 310 สิงหาคม 2559
10
สิงหาคม 2559รายงานจากพื้นที่ โดย ณัฐชยา รัตนพันธ์
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ นำสมุนไพรมาใช้ในชุมชน มาแปรรูป

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ
  • คณะวิทยากรสอนขั้นตอนการทำ วิธีทำ และสรรพคุณของสมุนไพรที่นำมาผสมในสบู่ก้อน สบู่เหลว ยาสระผม เคล็ดลับการดัดแปรงสมุนไพรใช้แบบสด หมัก แห้ง เพื่อไว้เป็นส่วนผสม การทำสบู ใช้กลีเซอรรีนซื้อมาจาก ธกศ หรือศุนย์เรียนรู้กสิกรรมทุ่งสง น้ำผึ้ง มะขามเปียก ผงขมิ้น ถ่านไฟ ฝักข้าว แอลกอออล์และน้ำหอม
  • วิธีทำ ตั้งไฟอ่อนๆใส่กลีเวอรีนให้ละลายจากนั้นเมื่ออยากได้สบู่แบบไหนก้ใส่สมุนไพรที่ต้องการลงไปเล้กน้อย เช่นใสาผงขมิ้นลงไปเล้กน้อย จากนั้นใส่น้ำหอมตามกลิ่นที่ชอบเพื่อเพิ่มความหอม จากนั้นเอาแอลกอออลไปฉีดที่แม่พิมจากนั้นเคียวส่วนผสมให้เข้ากันจากนั้นจึงเทใส่แม่พิมพืที่เตรียมไว้ ทิ้งไว้ให้เย็นจะแข้งเป็นก้อนจากนั้นก็สามารถนไปถูตัวได้เหมือนสบู่ทั่วไป น้ำยาล้างจานหรือนำยาซักผ้า สิ่งที่ต้องเตรียม น้ำสสะอาด F24 N70 เกลือ 1 กโลกรัม ผงขมิ้น หรือดอกอันชัญ น้ำหมักรสเปรี้ยว วัฃิะ๊ทำ สิ่งแรกละลายน้ำเกลือแยกไว้ก่อนแล้วแต่ปริมาณ กวนN70ให้เป็นครีมขุ้นขาวจากนันเติม F24จากนั้นเมื่อกวนแล้วเมื่อหนืดทำให้กวนได้ยากขึ้นก็ใส่น้ำเกลือที่เตรียมไว้ค่อยๆเต็มไปเมื่อกวนแล้วหนืดก้ค่อยๆเเติมน้ำเกลือลงไปอีกจนใส่น้ำเกลือจนหมด จากนั้นเติมน้ำหมักเปรี้ยวลงไปแล้วกวนส่วนผสมให้เข้ากันดดยการกวนนั้นต้องกวนเป็นทางเดียวกัน เมื่อส่วนเข้ากันแล้วก้เตืฃิมน้ำเปล่าสะอาดลงไป ค่อยๆเติมแล้วกวนให้เข้าก่อนจากนั้นก้ใส่ทีละนิดและกวนอีกทำอย่างนี้ไปเรื่อยๆจนได้ปริมาณน้ำทั้งหมด 18 ลิตร สามารถนำไปล้างจาน ล้างรถ ซักผ้า ขัดพื้นซึ่งเป็นน้ำยาอเนกประสงคืเลยที่เดียว
  • ช่วงบ่าย การทำสบู่เหลว ครีมอาบน้ำ(สบู่เหลว) เตรียมวัถตุดิบ หัวเชื้อวบู่เหลว1ฃุด เกลือ2 ขีด ใช้ผงถ่าน เปลือกมังคุด น้ำผึ้ง น้ำมะขาม ขมิ้น
  • วิธีการทำ กวนหัวเชื้อแล้วค่อยๆเติมน้ำเกลือลงไปจากนั้นเติมสมนุไพรที่ต้องการลงไปตามความต้องการ เช้นใส่น้ำผึ้งผสมมะขามเปียกแล้วขิม้น กวนเรื่อยๆ จากนั้นเติมหัวไพลลงไปนิดหน่อย ค่อยๆเติมน้ำลงไป เมื่อกวนใกล้เสร็จแล้วนั้นสามารถเติมน้ำหอมที่ต้องการลงไป เมื่อเบ้ดเสร็จแล้วทั้งหมดจะมีสบู่เหลว 3 ลิตรใช้อาบน้ำได้
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต : ผู้เข้าร่วม 80 คน

ผลลัพท์ : ได้นำมาใช้ในครัวเรือน และนำไปจำหน่ายสร้างเป็นรายได้ ได้นำสมุนไพรที่ดีต่อสุขภาพมาใช้ในการทำสบู่ยาสระผม

ปัญหาที่พบ : ขาดต้นทุน และคนไม่มั่นใจในผลิตภัณฑ์ ยิดติดกับยี่ห้อสินค้า แก้ไขโดยใหู้ผู้เชียวชาญ หรืเจ้าหน้าที่ดด้านความปลอดภัย หรือ อย. เข้ามาชี้แนะว่าปลดดดภัยไม่เป็นอันตรายต่อร่างกายสามารถใช้ได้จริง

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 100 คน จากที่ตั้งไว้ 80 คน
ประกอบด้วย

ผู้นำชุมชน คณะกรรมการ ผู้เข้าร่วมโครงการ

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

 

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นายยงยุทธ สุขพิทักษ์
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

เยี่ยมติดตามโครงการ งวดที่ 27 สิงหาคม 2559
7
สิงหาคม 2559รายงานจากพี่เลี้ยง โดย yongyut
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อติดตามเยี่ยมและสนับสนุนการดำเนินงานตามโครงการ

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

วันนี้ได้มาติดตามผลการทำงานในหมู่บ้านตามกิจกรรมของโครงการพบว่า พี่เยาว์ “ตอนนี้คนในชุมชน ได้มานั่งรวมกลุ่มทำปุ่ย น้ำหมักนำยา กวนสบู่กลุ่มที่ชัด ทำสูบ่เสิรมรายได้ ทำปุ่ยมาแปรรูปขายตนอนี้เกิดกลุ่ม เกิดรายได้ คนที่เข้าร่วมกิจกรรม ทำให้เกิดรายได้โดยใช้คนที่อยากทำ คนที่มีใจ คนที่ต่อต้านเราก็ไม่สนใจ” พี่ทิพย “ปุ๋ย เพิ่มหลายสูตรจากเจ้าหน้าที่ จากมหาลัย ทำเป็นรายคน รายกลุ่มเอาไปใช้ ทำให้ลดสารเคมี ลดรายจ่าย เริ่มการเปลี่ยน” ผู้ใหญ่ “ตอนนี้ ทางกลุ่ม คส. (การส่งเสริมอาชีพในชุมชน) สปก ให้โครงการกับชุมชน และมีภาคีภายนอกเข้ามาหนุนเสริม” ผู้ช่วย “ชุมชนเปลี่ยนไป มาก ได้ความสามัคคี ได้กลุ่ม ได้งาน มีการปรึกษา ลดรายจ่าย มีรายได้เข้าครัวเรือนใช้สมุนไพรในหมู่บ้าน”

สิ่งที่เปลี่ยนไป -ทีมงานได้ความสบายใจ
-ผู้ใหญ่บ้าน ดีใจ ที่ได้ทำ คนในชุมชน สามัคคี ได้ทำกิจกรรมคนเข้าใจ คุยงานคนเริ่มสามัคคี คนไม่เข้าใจโครงการ ว่าให้เงินมาก่อนแล้ว ค่อยมาทำคิดแบบเดิมๆ กลัวว่าเงินจะหายไปแต่โครงการนี้ เงินยังไม่มาแต่พวกเราทำไปแล้วทำให้เห็นว่า เงินไม่หาย ไม่สูญทีแรกเขาคิดว่าเงินยกมาให้มาเลย ผู้ใหญ่ น่าจะกินหมด แต่โครงการนี้ ต้องทำก่อน เอากิจกรรมมาทำให้เห็น -โชคดีที่ภัยแล้งได้เข้ามาช่วยเหลือ ได้เรียนรู้เพิ่มเติมและได้ทำกิจกรรมควบคุ่กันและกิจกรรมเหล่านี้ ทำให้เป้าหมายได้เรียนรู้ ทำให้เกิดผลสัมฤทธิ์ เห็นรายได้ เห็นความชัดเจน เดิมทำคนเดียว ตอนนี้ ทำให้คนเข้าใจมากขึ้น

สิ่งที่เรียนรู้ 1.การทำกับคน ต้องได้จิตที่ดีถ้าจิตยอมรับคนก็ยอมรับ
2.การทำงานต้องอดทน ถ้าอดทน ความสำเร็จย่อมเกิดขึ้น 3..คนทำงานมีความสุข เกิดงานเกิดสุข

ผู้ใหญ่
ได้ความสามัคคีโครงการนี้ดีมากอยากต่อยอด

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

สิ่งที่เรียนรู้ 1.การกิจกรรมกลุ่ม เป็ฯการทำกับคน ทีมงานต้องอดทน มีจิตทำงานที่ดีถ้าจิตยอมรับคนก็ยอมรับ
2.การทำงานอาศัยความอดทน การรอคอยถ้าอดทนก็จะเห็นความสำเร็จที่จะเกิดขึ้น 3.คนทำงานจะต้องมีความสุขและความสุขต้องเกิดจากงาน
4.การทำกิจกรรมตามโครงการได้ความสามัคคี

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 10 คน จากที่ตั้งไว้ 10 คน
ประกอบด้วย

คณะทำงานตามโครงการและพี่เลี้ยง 10 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

การบันทึกกิจกรรมการดำเนินงานยังไม่ครอบคลุม ให้เพิ่มความครอบคลุม และการจัดทำหลักฐานทางการเขียน ต้องเขียนให้ถูกต้องตามระเบียบที่กำหนดไว้

สภาผู้นำบ้านทรายขาว ครั้งที่ 116 สิงหาคม 2559
6
สิงหาคม 2559รายงานจากพื้นที่ โดย ณัฐชยา รัตนพันธ์
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อสรุปผลการดำเนินงานและรายงานความคืบหน้าจากการทำโครงการ วางแผนงานในกิจกรรมครั้งต่อไป

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

วาระที่ 1 นายสหพัฒน์ สุขอนั้นต์ ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่1 ตำบลเขาขาว อำเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช มีการประชุมของสภาผู้แทนร่วมกัน

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

สภาผู้ประชุมต่างๆ รับรู้การดำเนินงานต่างพร้อมทั้งพูดคุยถึงกิจกรรมต่างๆ ที่ต้องการจะจัดให้เกิดขึ้น ชี้แจงต่างๆที่เกิดขึ้นพร้องทั้งวางแผนดำเนินงานครั้งต่อไป พูดคุยเน้นการทำอาชีพเสริมเพื่อมีรายได้เพิ่ม รู้หลักการทำกิจกรรมการรวมกลุ่ม พุดคุยถึงเรื่องสามัคคีในกลุ่ม และพูดถึงความต้องการอยากให้ชุมชนรวมเป็นรวมที่เข้มแข็งเพื่อได้มีกิจกรรมอื่นๆเข้ามาในชุมชนมากยิ่งขึ้นที่นอกเหนือจากโครงการ สสส. และให้คนในชุมชนได้มีความสุขผู้คนสามมารถพูดคุยกันอย่างเข้าใจ โดยเน้นหลักฌศรษฐกิจพอเพียงของในหลวงเพราะในชุมชนไม่ได้มีเพียงอาชีพเกษตรกรเท่านั้นยังมีข้าราชการ หรืออาชีพค้าขายต่างๆที่ไม่ได้ทำสวนยางพารา อยากให้รู้ว่าเศรษฐกิจพอเพียงไม่ใช่เพียงแค่การปลุกผักเท่านั้น แต่ยังรวมไปถึงการใช้ชีวิตที่มีเหตุผล พอประมาท ไม่ประมาทต่างๆ การมีจิตใจเอื้ออารีต่อกัน เกื้อกลูกันในสังคมมากยิ่งขึ้นและการทำกิจกรรมครั้งต่อไปก้อยากให้เรียนรู้ได้้มากยิ่งขึ้น พร้อมทั้งการจัดเตรียมอุปกรณ์ในการทำกิจกรรมครั้งต่อไป

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 30 คน จากที่ตั้งไว้ 30 คน
ประกอบด้วย

คณะทำงาน 30 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

แม้จะมีการทำโครงการได้ระยะนึงแล้ว แต่ผู้คนก็ยังมีบ้างที่ยังไม่ได้เข้าใจความหมายของเศรษฐกิจพอเพียงอย่างแท้จริง โดยต้องอธิบายพูดคุยให้มากกกว่านี้

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นายยงยุทธ สุขพิทักษ์
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

รวมกลุ่มอาชีพเพื่อแก้ปัญหาหนี้สิน ครั้งที่ 25 สิงหาคม 2559
5
สิงหาคม 2559รายงานจากพื้นที่ โดย ณัฐชยา รัตนพันธ์
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อครัวเรือนผู้เข้าร่วมโครงการและครัวเรือนในชุมชน

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ
  • ช่วงเช้าเรียนรุ้การนำปลาดุกมาแปรรูปเป็นปลาดุกร้า เพื่อเสริมรายได้
  • ช่วงบ่าย เริ่มปฏิบัติการทำปลาดุกตามขั้นตอน การล้างปลา การใช้ส่วนผสมในการทำ วิธีผ่าปลา จากที่วิทยากรสอน สามารถนำไปแปรรูป เพื่อการจำหน่าย สร้างรายได้ให้เกิดในครัวเรือน พัฒนาเป็นอาชีพเสริมได้
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต : ผู้เข้าร่วมโครงการ 80 คน

ผลลัพท์ :

  1. ได้นำไปบริโภคในครัวเรือน
  2. สามารถพัฒนาเป็นอาชีพเสริมได้
  3. เรียนรู้การนำมาดุกมาแปรรูปคือ เป็นกระบวนการที่เปลี่ยนแปลงสภาพของวัตถุดิบ ให้เป็นผลิตภัณฑ์อาหารอยู่ใน สภาพที่เหมาะสม สะดวก และปลอภัยต่อการบริโภค เป็นการถนอมอาหาร เพื่อยืดอายุการเก็บรักษา ทำให้เกิดผลิตภัณฑ์ใหม่ ที่มีความหลากหลาย เพิ่มทางเลือก และเพิ่มมูลค่าให้กับวัตถุดิบ แปรรูป ปลาดุกรัสเซียเหมาะแก่การนำมาทำปลาใส่อวน หรือ ปลาเค็มเพราะต้องเติมเกลือให้เค็มก่อนแล้วค่อยทำการถนอมเป็นอย่างอื่น ที่เรียกว่าปลาใส่อวนนี้ก็คืออวนในที่นี้คือ การเอาข้าวสารมาคั่วให้เหลืองสุกหอมแล้วปั่นให้ละเอียดแล้วจึงจะนำมาโรงที่ปลาเเล้วเรียกว่า ปลาใส่อวน การทำประเภทนี้เรียกว่าการถนอมอาหารก็ได้เพราะจะได้เก็บไว้กินได้นานๆ เป็นการดอง ซึ่งจะใช้ปลาได้สารพัดปลา
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 100 คน จากที่ตั้งไว้ 80 คน
ประกอบด้วย

ผู้นำชุมชน คณะกรรมการ ผู้เข้าร่วมโครงการ 113 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

1.บางคนข้าดต้นทุนในการทำต่อเนื่อง

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นายยงยุทธ สุขพิทักษ์
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

เรียนรู้ตามหลักสูตร25 กรกฎาคม 2559
25
กรกฎาคม 2559รายงานจากพื้นที่ โดย ณัฐชยา รัตนพันธ์
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อเป็นอาชีพเสริม

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

ช่วงเช้า เจ้าหน้าที่แนะนำเกี่ยวกับศูนย์เพาะเนื้อเยื่อคือ การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช เป็นวิธีการขยายพันธุ์พืชวิธีหนึ่ง แต่มีการปฏิบัติภายใต้สภาพที่ควบคุม เรื่องความสะอาดแบบปลอดเชื้อ อุณหภูมิ และแสง ด้วยการนำชิ้นส่วนของพืชที่ยังมีชีวิต เช่น ลำต้น ยอด ตาข้างก้านช่อดอก ใบ ก้านใบ อับละอองเกสร เป็นต้น มาเพาะเลี้ยงบนอาหารสังเคราะห์ และชิ้นส่วนนั้นสามารถเจริญและพัฒนาเป็นต้นพืชที่สมบูรณ์ มีทั้งส่วนใบ ลำต้น และรากที่สามารถนำออกปลูกในสภาพธรรมชาติได้ และเรียนรู้ให้เข้าใจเรื่อง กล้วยเนื้อเยื่อ กล้วยหอม กล้วยน้ำว้าพร้อมทั้งวิธีการปลูก โดยการปลูกและการดูแลรักษา

  1. ควรเตรียมหลุมปลูก กว้างxยาวxลึก ขนาด 50x50x50 เซนติเมตร รองก้นหลุมด้วยปุ๋ยคอกอัตรา 1 กิโลกรัมต่อต้น
  2. ระยะการปลูก กล้วยน้ำว้าใช้ระยะ 3x3 เมตร จะปลูกได้ 200 ต้นต่อไร่ แต่กล้วยหอมทองใช้ระยะ 2x2 เมตร ปลูกได้ 400 ต้นต่อไร่
  3. การให้น้ำในระยะแรกควรให้น้ำวันเว้นวัน หลังจากกล้วยสามารถตั้งตัวได้แล้วจึงเปลี่ยนเป็นสัปดาห์ละ 1 ครั้ง
  4. การใส่ปุ๋ย ในระยะแรกนิยมใช่ปุ๋ยคอกและหลังจากการปลูกได้ 2 เดือน จึงใส่ปุ๋ยเคมีสูตร 46-0-0 อัตรา 60 กรัมต่อต้น ทุกเดือนหลังจากกล้วยออกปลีแล้ว จะใส่ปุ๋ยสูตร 13-13-21 อัตรา 500 กรัมต่อต้น โดยแบ่งใส่ 2 ครั้ง หลังจากครั้งแรก 1 เดือน
  5. การกำจัดวัชพืช สามารถกาจัดได้หลายวิธี คือ
  • วิธีกล ได้แก่การถอน ตายหรือการถากด้วยจอบ ควรทาการกาจัดก่อนที่วัชพืชจะออกดอก
  • วิธีเขตกรรม โดยการปลูกพืชแซมที่มีระบบรากตื้นและสามารถ ใช้ลำต้นเป็นปุ๋ยได้ เช่นพืชตระกูลถั่ว
  • ใช้วิธีคลุมดินโดยคลุมหน้าดินด้วยใบกล้วยหลังการตัดแต่งใบ ใช้ฟางข้าวคลุมตั้งแต่เริ่มปลูก

6.การตัดแต่งหน่อ หลังจากการปลูกกล้วยได้ 3-4 เดือนให้ตัดหน่อทิ้งจนกว่ากล้วยจะเริ่มออกปลีหลังจากกล้วยมีอายุ 7 เดือน จึงเริ่มไว้หน่อทดแทน 1-2 หน่อ โดยหน่อที่1 และที่ 2 ควรมีอายุห่างกัน 4 เดือน เพื่อให้ผลกล้วยมีความอุดมสมบูรณ์ โดยเลือกหน่อที่อยู่ตรงข้ามกัน หากหน่อที่ตัดมีขนาดใหญ่มาก ให้ใช้วิธีการทำลายโดยหยอดน้ำมันก๊าดลงบนหยอดประมาณ 1/2 ช้อนชา

7.การตัดแต่งใบจะเริ่มตัดแต่งใบ ในช่วงกล้วยอายุประมาณ 5 เดือน หลังจากการปลูกโดยเลือก ตัดใบที่แก่เป็นโรคออกให้เหลือ 9-12 ใบ/ต้น

8.การตัดปลี ให้ทาการตัดปลีกล้วยทิ้งหลังจากปลีบานต่อไป จนหวีตีนเต่าอีก 2 ชั้น เพื่อสะดวกต่อการเก็บเกี่ยว

9.การค้ากล้วย นิยมค้าในกล้วยหอมเป็นส่วนใหญ่ เพื่อป้องกันการหักกลางลาต้น หลังจากการตกเครือ ควรค้ำ บริเวณเครือหรือใช้ไม้ดามลาต้นโดยตรง

ภาคบ่ายสอนให้รู้เรื่องผึ้ง ชนิดของผึ้ง การทำงานของผึ้ง ที่ผึ้งแต่ละชนิดต้องอยู่ และสอนวิธีจับผึ้ง อุปกรณ์และเครื่องมือจับผึ้งผู้เรียนรู้หลากหลาย

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต : ผู้เข้าร่วมโครงการ 100 คน

ผลลัพท์ :

  1. ได้เรียนรู้ประโยชน์ของผึ้งว่ามีผึ้งช่วยผสมเกสรดอกไม้ ผลไม้ อีกทั้งไม่ต้งลงทุนสูงมากก็สามารถมีน้ำผึ่งไปขายหรือมาใช้ในครัวเรือนก็สามารถมีรายได้
  2. ได้รู้เทคนิควิธีเมื่อเข้าใกล้ผึ้งว่า ลักษณะนี้ไม่ต่อย หรือลักษณะแบบนี้ต่อยหรือการรักษาการบาดเจ็บ
  3. ได้เรียนรู้เทคนิคการปลูกต้นกล้วยแบบการเพาะเลี้ยงเนื้เยื่อที่แตกต่างจากแบบหน่อทั่วไป
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 100 คน จากที่ตั้งไว้ 100 คน
ประกอบด้วย

ผู้นำชุมชน คณะกรรมการ ผู้เข้าร่วมโครงการ

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นายยงยุทธ สุขพิทักษ์
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ครั้งที่ 215 กรกฎาคม 2559
15
กรกฎาคม 2559รายงานจากพื้นที่ โดย ณัฐชยา รัตนพันธ์
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อพบปะพูดคุยกับผู้เข้าร่วมโครงการ

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

ผู้ใหญ่สหฟัฒ สุขอนันต์ เปิดพูดคุย และ เกษตรอำเภอประจำตำบลเขาขาว น.ส.สุธิษา จันทร์ปรุง มาร่วมพูดคุยเสวนาถามความคิดเห็น แลกเปลี่ยนเรียนรู้การทำโครงการร่วมกัน

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต : มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 50 คน

ผลลัพท์ : ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้กันแลกเปลี่ยนเรียนรู้ความคิดของการรวมกลุ่มสมาชิก และประโยชน์ที่ได้รับจากการเปิดโครงการ ว่าที่ผ่านมาแล้วนั้นเราได้ดำเนินถึงจุดไหนบ้างมีส่วนไหนที่อยากเพิ่มหรือเน้นเรื่องของอะไรบ้าง แล้วรับประทานอาหารจากนั้นมาพูดคุยกันต่อซึ่งในที่ประชุมส่วนใหญ่จะพูดถึงสมุนไพรมากยิ่งขึ้นเพราะช่วงนี้การดูแลสุขภาพกำลังมาแรง ผู้คนให้ความสนใจกับการดูแลสุขภาพมากยิ้งขึ้น ทั้งการบริโภคผักปลอดสารพิษและการรับประทานผักหรือสมุนไพรเหล่านี้ที่มีสรรพคุณเป็นยาทั้งร่างการ การลดความดัน โลหิต ต่างเป็นที่ชื่นชอบของแม่บ้าน คือ การใช้ผักผลไม้พืชสมุนไพรในการเสริมความงาน เช่น การนำมะละกอมาหมักผม การนำว่านหางจระเข้มาลบรอยสิวรอย และ การใช้มะเขือเทศ หอมแดงในการดูแลผิวหน้า ต่างๆที่มีอยู่ในครัวหรือชุมชนมาใช้ดูแลความงามของร่างกาย

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 50 คน จากที่ตั้งไว้ 50 คน
ประกอบด้วย

ผู้นำชุมชน คณะทำงาน คนเข้าร๋วมโครงการ

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นายยงยุทธ สุขพิทักษ์
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

สภาผู้นำบ้านทรายขาว ครั้งที่ 106 กรกฎาคม 2559
6
กรกฎาคม 2559รายงานจากพื้นที่ โดย ณัฐชยา รัตนพันธ์
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อติดตามและวางแผนการดำเนินงานโครงการ

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

วันนี้เป็นกิจกรรมประชุมสภาผู้นำครั้งที่ 10 วาระที่1 นายสหพัฒน์ สุขอนั้นต์ ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่1 ตำบลเขาขาว อำเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช สรุปการดำเนินที่ผ่านมา

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต : มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 30 คน

ผลลัพท์ : ได้มีการชี้แจงกิจกรรมต่อไปคือการประชุมสภาผู้นำบ้านทรายขาว ทั้้งเรื่องข้าวไร่ที่ผู้เข้าร่วมได้ทำ พร้อมทั้งกลุ่มแต่กลุ่มที่จัดตั้งมา และการประสานงานกับกลุ่มอื่นๆที่เป็นหมู่บ้านใกล้เคียงเพื่อหาพันธ์ข้าวใหม่ๆ มาทดลองปลูกข้าวไร่ ทั้งการหาพันธ์ไม้ต่างๆเพื่อมาพัฒนาชุมชนให้ดียิ่งขึ้น อีกทั้งการพูดแนวทางการเชิญชวนมาว่าทำอย่างไรคนในชุมชนจะเข้ามาร่วมมากยิ่งขึ้นโดยความสมัครใจ 100 % เพื่อเข้ามาเรียนรู้จริงๆนำไปพัฒนาปรับใช้ในชีวิตประจำวัน และให้ผู้เข้าร่วมสารถทำกิจกรมได้ทุกกิจกรรม เพราะบางคนวันเวลาก็ไม่ได้ตรงกันทุกคน ครั้งนี้เขามาร่วมชุมแต่ครั้งหน้าอาจมีธุระทำให้ไม่สามารถเข้าประชุมได้ ปรึกษาเพื่อให้ผู้ที่เข้าร่วมมาประชุมสม่ำเสมอ

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 30 คน จากที่ตั้งไว้ 30 คน
ประกอบด้วย

ผู้นำชุมชน  คณะทำงาน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

1.เวลาว่างของแต่ละคนไม่ตรงกัน

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นายยงยุทธ สุขพิทักษ์
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

รวมกลุ่มส่งเสริมอาชีพ แก้ปัญหาหนี้สิน30 มิถุนายน 2559
30
มิถุนายน 2559รายงานจากพื้นที่ โดย ณัฐชยา รัตนพันธ์
circle
วัตถุประสงค์

ลดต้นทุนด้านเกษตร

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ
  • นางสาวสุธิษา จันทร์ปรุง นักวิชาการเกษตรชำนาาญกร กล่าวเปิดและแนะนำ นายโชติพันธ์ นักวิชาการชำนาญเกษตรอำเภอทุ่งสง ให้ความรู้เรื่องการเพาะเห็ดโคน หรือเห็ดปลวก
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต : ผู้เข้าร่วมโครงการ 80 คน

ผลลัพท์ : ได้เรียนรู้การผลิตทดแทนหรือแปรรูปผลผลิตก่รเกษตร น้ำมันมะพร้าวและเรียนรู้เองเชื้อเห็ดแบบทำง่ายๆเอาจาวปลวกหรือรังของแม่ปลวก ข้าวสุก น้ำมาหมักรวมกัน 7-10 วัน ก็ทำเห็ดได้ และยังแนะนำเชื้อเห็ดมาเป็นน้ำหมักปุ๋ยดิะร่วนเร็วกว่าน้ำหมักปกติ (สลายเร็ว) ได้เกร็ดความรู้กันหลายอย่าง และเรียนรู้เรื่องดินการมีดินที่เหมาะสมกับพืช และปุ๋ยวัดค่า ph ของดิน การลดต้นทุน ปุ๋ยในดิน การหมักปุ๋ยใส่ดินเพื่อเสริมธาตุอาหารการใช้ปูนขาว การใช้โดโลไมท์ การวัดค่า ผู้เรียนรู้นำดินมาวัดค่า ph ซึ่งทำให้ผู้เข้าร่วมเข้าใจ ปัจจัยสำคัญทำผลผลิตน้อย หรือตาย หรือปาล์มไม่ติดผล

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 80 คน จากที่ตั้งไว้ 80 คน
ประกอบด้วย

ผู้นำชุมชน คณะกรรมการ ผู้เข้าร่วมโครงการ

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

1.นำจำนวนดินมาไม่ครบตามจำนวนคน 2.ผู้เข้าร่วมยังยังไม่เข้าใจ

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นายยงยุทธ สุขพิทักษ์
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ครั้งที่ 125 มิถุนายน 2559
25
มิถุนายน 2559รายงานจากพื้นที่ โดย ณัฐชยา รัตนพันธ์
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เกี่ยวกับกิจกรรมที่ได้ดำเนินการผ่านมา

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

วันนี้เป็นกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ครั้งที่ 1 โดยจะเป็นการเรียนรู้เกี่ยวกับกิจกรรมต่างๆที่ได้ทำมาในโครงการที่ผ่านมามาเรียนรู้กันว่าใครได้เรียนรู็เกี่ยวกิจกรรมอะไรไปบ้าง

  • ด้านปศุสัตว์การเลี้ยงไก่ไข่ ได้รู้วิธีการเลี้ยงไก่ไข่การดูแลไก่ให้ไข่การให้อาหาร ปลาในบ่อ ได้รู้ตั้งแต่การเตรียมบ่อการคัดเลือกพันธ์ปลาการดูแลการให้อาหารปลา
  • ด้านการเกษตรผสมผสานมีไอเดียที่จะปลุกพืชใหม่ๆให้ใช้ประโยชน์ในพ้นที่มากที่สุด การปลูกผักแบบผสมผสานได้รู้เกี่ยวกับารเตรียมพื้นที่เตรียมดินอย่างไรการเลือกผักที่จะปลูกว่าจะปลุกพืชผักนี้ในช่วงฤดูไหน อีกทั้งมีการเรียนรู้การทำปุ๋ยหมักชนิดต่างๆได้อย่างมาย และการทำข้าวไรที่มีนางออง รัตบุรี ทำให้ผู้ที่เข้าร่วมสนใจไปศึกษานอกดู
  • ซึ่งแต่ละกลุ่ม แต่ละคนที่ได้ไปเรียนรู้มาก็มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน และมาพูดคุยถึงกิจกรรมที่ผ่านมานั้นมีบางเรื่องที่ผู้เข้าร่วมสนใจและสนุกสนานอยยากมีความรู้เรื่องนั้นให้มากขึ้นไปอีก จึงได้เสนอให้มีการแนะนำเรื่องนั้นๆ และปัยหาของการดำเนินการโดยแต่ละกลุ่มี่จัดตั้งขึ้นผู้ที่สนใจในการเร่วมทำนั้นเมื่อกลับบ้านไปก้นำสิ่งที่เรียนไปนั้นมาปฏิบัติจริงจึงสามรถเป็นผลหรือมีความรู้สึกว่าการเข้าร่มกลุ่มนี้สารมารถลดหนี้ได้แต่บางคนที่เข้าร่วมก้ไม่ได้นำไปปฏิบัติจริงจึงไม่รู้ว่ามันส่งผลอย่างไรทำให้หมดกำลังใจที่จะมาเรียนรู้ จึงวางแนวทางการแก้ไขชวนเชิยให้คนในชุมชนเหล่านี้ลงมือทำและเข้าร่วมโดยแผนครั้งๆต่อไปจะต้องทำให้เห็นภาพชัดกว่านี้ นำสิ่งที่สามารถมาเปรียบเทียบได้จริง และสิ่งที่เรียนรุ้ต้องมีความแปลกใหม่ที่ในชุมชนยังไม่ได้มีมากนักผู้เข้าร่วมจะมีความสนใจและอยากเข้าร่วมมากยิ่งขึ้น
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต : มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 50 คน

ผลลัพท์ : ได้มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกิจกรรมต่างที่ผ่านมา โดยผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน เช่น ในเรื่องการทำเกษตรแบบผสมผสานการเลี้ยงปลาการเลี้ยงไก่ และประโยชน์ของสมุนไพร

ปัญหา : เสียดายโอกาสของคนที่ไม่ได้เข้าร่วมโครงการว่าดครงการมีแรงขับเคลื่อนให้ปัญหาที่มีอยู่นั้นลดลงไปโดยการเปิดทัศนะคติให้กว้างขึ้นเพื่อเรียนรู้การพอเพียงพออยู่พอกิน และการเน้นอยู่กับะรรมชาติ โดยแม้ผู้ที่เข้าร่วมโครงการนี้ก็ยังมาอยู่หลายคนที่ไม่สามารถเข้าใจและนำสิ่งที่เรียนรู้นั้นไปปฏับติจิงในครัวเรือน โดยต้องเชิญชวนและลงมือทำให้เป็นผลเป็นรูปธรรมชาวบ้านจึงมีความมั่นใจมากยิ่งขึ้น

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 50 คน จากที่ตั้งไว้ 50 คน
ประกอบด้วย

ผู้นำชุมชนคณะทำงานตัวแทนครัวเรือนประชาชนผู้สนใจเข้าร่วมโครงการ 53 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

 

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นายยงยุทธ สุขพิทักษ์
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

สภาผู้นำบ้านทรายขาว ครั้งที่ 96 มิถุนายน 2559
6
มิถุนายน 2559รายงานจากพื้นที่ โดย ณัฐชยา รัตนพันธ์
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อติดตามและวางแผนการดำเนินโครงการ

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

วันนี้เป็นกิจกรรมประชุมสภาผู้นำครั้งที่ 9 วาระที่ 1 นายสหพัฒน์ สุขอนั้นต์ ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่1 ตำบลเขาขาว อำเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช แจ้งประชุมการเข้าร่วมกลุ่มของกลุ่มแม่บ้าน

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต:1.มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม30คน

ผลลัพท์:1.ได้มีการชี้แจงกิจกรรมในครั้งต่อไป คือแลกเปลี่ยนเรียนรู้ครั้งที่ 1 ได้จัดตั้งกลุ่มขึ้นในชุมชนบ้านทรายขาวเพื่อส่งเสริมอาชีกของแม่บ้าน เพื่อจะทำกิจกรรมเวลาว่างเหลือจากทำงานการเกษตร เพื่อลดรายจ่ายเพิ่มรายได้ จากนั้นเตรีมพร้อมเพื่อทำกิจกรรมครั้งต่อไปในการนัดหมายมาแลกเปลี่ยน จากนั้นก้ได้พูดคุยเสริมเล้กน้อยในเรื่องของการใช้จ่ายลดหนีสินในการ ให้ของที่มีในชุมชนเพื่อใหห้ลดรายจ่าย การใช้วัตถุดิบในชุมชนให้ได้มากที่สุดเพื่อลดการนำเข้าจากต่างที่ในครั้งต่อไป

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 30 คน จากที่ตั้งไว้ 30 คน
ประกอบด้วย

แกนนำชุมชนคณะทำงาน 30 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

1.ต้องเพิ่มศักยภาพผู้นำให้เรียนรู้หลักเศรษฐกิจพอเพียง

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

รวมกลุ่มส่งเสริมอาชีพ แก้ปัญหาหนี้สิน28 พฤษภาคม 2559
28
พฤษภาคม 2559รายงานจากพื้นที่ โดย ณัฐชยา รัตนพันธ์
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อเป็นการรวมกลุ่ม สร้างอาชีพ

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

วันนี้ได้เชิญนักวิชาการเกษตรชำนาญการ นายสนชัย เมียงเมิน มาให้ความรู้ด้านการเกษตร ความรู้ด้านสมุนไพรต่างๆอีกหลายชนิดที่เรายังไม่รู้ และการปลุกพืชแบบสมัยใหม่ที่ไม่เพียงแค่ปลุกเป็นแปลงสวนเท่านั้น สามารถนำวัสดุข้าวของที่ไม่ใช้แล้วภายในบ้านสามารถนำมาทำเป็นภาชนะสำหรับการใส่ปลูกพืชผักได้ เช่นกระป๋อง กระสอบ ใส่กระถาง ล้อรถยนต์ แล้วอธิบายถึงการปลุดพืชไร้ดินหรือปลูดผักไฮดรอโปนิกส์ การเพาะปลูกผักระบบไฮโดรโปนิกส์ คือระบบการปลูกพืชในน้ำที่มีสารละลายอาหารพืชอยู่ครบถ้วน ทำให้พืชเจริญเติบโตได้อย่างปกติ พืชไม่มีความเครียดจากการขาดน้ำและธาตุอาหาร ข้อได้เปรียบของการปลูกพืชระบบไฮโดรโปนิกส์คือ

  1. ควบคุมการใช้ธาตุอาหารของพืชได้ง่ายกว่าการปลูกพืชในดิน
  2. ลดค่าแรงงานในการเตรียมพื้นที่ปลูกได้มาก
  3. ประหยัดน้ำกว่าการให้น้ำกับพืชที่ปลูกทางดิน ไม่น้อยกว่า 10 เท่า
  4. ควบคุมโรคในดินได้ง่ายกว่าการปลูกพืชในดินตามปกติ
  5. สามารถปลูกพืชได้ในพื้นที่ที่ไม่สามารถปลูกพืชในดินได้ เช่น ดินไม่ดี หรือบนพื้นปูน
  6. ได้ผลผลิตค่อนข้างสม่ำเสมอ และมีคุณภาพดีกว่าการปลูกในดิน
  7. ให้ผลตอบแทนสูงกว่าการปลูกพืชในดิน
  8. ประหยัดเมล็ดพันธุ์มากกว่าการปลูกแบบใช้ดิน แต่การปลูกผักในระบบนี้ก็มีข้อด้อยอยู่บ้าง คือต้องลงทุนสูงในเรื่องอุปกรณ์ต่างๆ ผู้ปลูกต้องมีความรู้ด้านการจัดการ และเทคโนโลยีที่ใช้ในระบบปลูกต้องมีระบบน้ำและระบบไฟฟ้าที่พร้อม ขณะเดียวกันต้องยอมรับว่า มีข้อจำกัดของชนิดพืช ไม่สามารถปลูกพืชทุกชนิดที่สามารถปลูกในดินได้ นอกจากนี้ ยังมีการแพร่กระจายของเชื้อโรคทางน้ำในระบบได้เร็วและยากต่อการควบคุม หากอุณหภูมิของสารละลายเกิน 29 องศาเซลเซียส ปริมาณออกซิเจน ในสารละลายจะลดต่ำ อาจส่งผลเสียต่อการปลูกผักได้จึงเป็นการแนะสำหรับหรับผู่ที่มีทุนหรือปลูกเล้กน้อยเพียงเพื่อต้องการบริโภคไว้ในครัวเรือนแต่ทั้งนี้ก็ให้ความรู้ถึงการปลุกพืชสมัยใหม่เพื่อใหห้ผู้ที่เข้าร่วมเกิดประกายไอเดียว่าการปลุกพืชผักนั้นไม่ใช่เพียงแค่การปลูกกับดินเท่านั้นจากนั้นให้ความรู้กับผู้ที่เข้าร่วมได้สอบถามหรือถามคำถามที่อยากรู้คำตอบจากผู้ชำนายการทางเกษตร ถึงพืชผักที่ปลูก โดยพืชผักส่วนมากนั้นจะดดยเชื้อรากินทำให้ผลผลิตเสียเน่าและตายในที่สุด ผู้ชำนายการจึงแนะนำวิธีการทำเชื้อซ่าเชื้อแบบง่าย (ไตรโคเดอร์มา) โดยอุปกรณ์ที่ต้องใช้ในการขยายเชื้อสดหัวเชื้อราไตรโคเดอร์มา 1 ขวด 20 กรัมผลิตเชื้อสดได้ 15-20 กิโลกรัม วิธีการหุงข้าวเพื่อขยายเชื้อราทำได้โดย
  • หุงปลายข้าวด้วยหม้อหุงข้าวไฟฟ้า ใช้ข้าว 3 ส่วน น้ำ 2 ส่วน หรือ ข้าว 2 ส่วน น้ำ 1 ส่วน
  • ปลายข้าว 600 กรัม ใส่น้ำ 0.5 ลิตรจะได้ข้าวสุกประมาณ 1 กก.
  • ตักปลายข้าวสุกขณะร้อน ประมาณ 2 ทัพพีใส่ถุงพลาสติกทนร้อนขนาด 6*12 นิ้ว หรือประมาณถุงละ 250 กรัม รอให้ข้าวเย็นจึงใส่เชื้อ ใส่หัวเชื้อราไตรโคเดอร์มา
  • เหยาะหัวเชื้อ 1-2 เหยาะ ลงในถุงข้าวที่เย็นแล้ว บริเวณที่สะอาดและลมสงบเพื่อลดการปนเปื้อน
  • ใช้ยางรัดปากถุง ให้แน่น หรือใช้ลวดเย็บกระดาษ แล้วเขย่าให้เชื้อกระจายทั่วทั้งถุง -ใช้เข็มแทงไม่น้อยกว่า 30 รู กระจายข้าวในถุง ไม่วางซ้อนกัน ดึงกลางถุงไม่ให้พลาสติกแนบข้าว

การบ่มเชื้อราไตรโคเดอร์มา วางถุงเชื้อในห้องที่สะอาด ปลอดจากมด ไร และสัตว์อื่นๆ อากาศไม่ร้อน ไม่ตากแดด แต่มีแสงสว่าง บ่มไว้ 5-7 วัน ภาพนี้หลังจากบ่มแล้ว 2 วัน เชื้อราชนิดสดที่เจริญเต็มที่จะสร้างสปอร์สีเขียวเข้ม ภาพนี้หลังจากบ่มแล้ว 5-7 วัน ควรนำไปใช้ทันที หรือเก็บไว้ในตู้เย็นช่องธรรมดา ได้ไม่เกิน 1 เดือน

จากนั้นช่วงบ่ายเรียนรู้การทำปุ๋ยหมักจากพืชในชุมชนโดยจะเน้นเรื่องคุณสมบัติของสมุนไพรหรือพืชนั้น เช่นผลไม่รสเปรี้ยวจะให้ทำหมักส่ยางในจอกได้ดี สมุนไพรเผ้ดร้อนเรื่องไล่แมลง ผลไม้ทีมีความหวานบำรุงผล ถั่วฝักยาวผักบุ้งยืดข้อ เป็นต้น โดยทั้งเป็นการรพุดคุยแลกเปลี่ยนความรู้กีบผูที่เข้าร่วมประชุมหลังจากนั้นได้นำผู้ร่วมประชุมกับทั้งคระไปปลูกต้นไม้ยืนต้นต่างๆ พร้อมบอกถึงการปลูกต้นไม้ว่าต้นนี้เนื้ออ่อน เนื้อแข็งนิยมไปทำบ้านหรือทำเครื่องโต๊ะต่างๆ วึ่งต้นไม่เหล่านี้มาราคแพง เป็นต้นที่โตเร็วสามารถปลูกแซมในสวนยางสวนปาล์มได้ จากนั้นก็สามรถทิ้งไว้ประมาณ 3-4 ปีก็สามารถตัดขาดต้นไม้ได้

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต : มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 80 คน
ผลลัพท์ : มีผู้เข้าร่วมที่สนใจการปลุกพืชไร้ดินอย่างมากและการนำวัสดุมาประยุกต์เป็นชนะอีกทั้งได้รู้วิธีการทำเชื้อรา

ปัญหาที่พบ :

  1. พืชเสริมบางชนิดที่เรียนรู้มาไม่มีพันธุ์ เช่น กระวาน ดาหลาต้องจัดหาแล้วแบ่งพืชพันธฺ
  2. มีผู้สนใจที่อยากปลูกพืชไร้ดินเป็นจำนวนมากแต่ยังขาดต้นทุนในการเตรียมท่อภาชนะต่างๆ จึงทำให้ผุ้เข้าร่วมไม่สารถทำได้อาจต่อไปภายหน้าให้มีการรวมกองทุนพร้อมทำแปลงสาธิตในการทดลองปลูกก่อน
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 80 คน จากที่ตั้งไว้ 80 คน
ประกอบด้วย

แกนนำชุมชนคณะทำงานตัวแทนครัวเรือน ประชาชนผู้สนใจเข้าร่วมโครงการ 80 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

 

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นายยงยุทธ สุขพิทักษ์
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

สภาผู้นำบ้านทรายขาว ครั้งที่ 86 พฤษภาคม 2559
6
พฤษภาคม 2559รายงานจากพื้นที่ โดย ณัฐชยา รัตนพันธ์
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อติดตาม และวางแผนการดำเนินงานโครงการ

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

วันนี้เป็นกิจกรรมประชุมสภาผู้นำครั้งที่ 8 มีวาระประชุม 2 วาระ คือ เรื่องผู้สูงอายุ และ เรื่องติดตามโครงการ

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต : มีผู้เข้าร่วมโครงการ 30 คน

ผลลัพท์ : วาระที่1 นายสหพัฒน์ สุขอนั้นต์ ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่1 ตำบลเขาขาว อำเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช โดยมาพูดคุยเรื่องผู้สุงอายุที่ไม่สารถเข้าร่วมกิจกรรมรดน้ำดำหัวผู้สูงอายุได้นั้นทางผู้ใหญ่ที่ได้มีของที่ระลึกนั้นก้นำไปให้กับผู้สูงอายุที่ไม่สารถมาได้ โดยเป็นการสวัสดีปีใหม่ไทยซึ่งเป็นที่ทราบซึ้งแก่ผู้สูงอายุและลูกๆเป็นอย่างมากจึงได้นำมาบอกกล่าวกันในที่ประชุม

วาระที่ 2 ประชุมคณะทำงาน นางเยาวภา คำแหง ผู้รับผิดชอบโครงการผังฟาร์มลดรายจ่ายที่บ้านทรายขาว ชี้แจงถึงการดำเนินกิจกรรมครั้งที่ผ่านมาพร้อมทั้งปัญหาที่เกิดไม่ว่าจะเป็นเรื่องที่คนอยากปลูกข้าวไร่แต่ไม่มีที่ดินมาพูดคุยพร้อมหาแนวทางแก้ไขกันว่าจะทำอย่างไร วึ่งถือว่าโดยรวมแล้วผลอบรับเป็นที่น่าพอใจ และพูดการทำกิจกรรมคั้รงต่อไปที่จะเรียนรู้การผสมผสาน ติดต่อผุ้ชำนาญการเกษตร เพื่อมาให้ความรู้ด้านการเกษตร และเตรียมต้นกล้าที่ได้มาจากสถานี่เพาะชำไม้กล้าทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช เพื่อใช้ในการทำกิจกรรมครั้งต่อไป

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 30 คน จากที่ตั้งไว้ 30 คน
ประกอบด้วย

แกนนำชุมชนคณะทำงาน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

กลุ่มเรียนรู้ตามหลักสูตร ครั้งที่ 323 เมษายน 2559
23
เมษายน 2559รายงานจากพื้นที่ โดย ณัฐชยา รัตนพันธ์
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อเรียนรู้ตามหลักสูตร ในการนวดแผนไทยและสมุนไพรไทย

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

วันนี้เป็นกิจกรรมเรียนรู้ตามหลักสูตรครั้งที่ 3 ซึ่งวันนี้จัดเป็นการเรียนรู้เกี่ยวสมุนไพรและการนวดแผนโบราณ

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลิตผลิต : มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 100 คน

ผลลัพท์ : มีการเรียนรู้เกี่ยวการทำยาหม่องที่สามารถนำไปให้ได้และการนวดเท้าที่ปวดเมื่อยจากการทำงาน ให้ผ่อนได้เป็นความรู้กันในตอนเช้าเรียนรู้เรื่องเอ็น กระดุก การหมุนเวียนของเลือด การนวดๆเส้นไหนที่สามารถนวดได้และเส้นไหนที่อันตรายพร้อมทั้งสมุนไพรพิ้นบ้านที่สามารถนำมากิน มานวดได้ เป็นการเรียนรู้เบื้องต้น ทั้งการต้ม การทา การกินรักษาเช่น การทำยาหม่อง การเตรียมตำรับยาหม่องไพลประกอบด้วยตัวยา ดังต่อไปนี้

  1. สารที่ช่วยให้ยาหม่องแข็งตัว ได้แก่ วาสลีน (White soft paraffin) พาราฟินแข็ง (Hard paraffin) จะใส่ในอัตราส่วนเท่า ๆกัน ส่วนที่ทำให้ยาหม่องแข็ง จะมีปริมาณ 30% ของตำรับ ถ้าต้องการให้ยาหม่องเหลวมาก ไม่แข็งเกินไป จะใช้วาสลินมากกว่าพาราฟินแข็ง
  2. สารที่ช่วยเพิ่มการดูดซึมผิว ได้แก่ ลาโนลิน(Lanolinพวกนี้จะใช้ในตำรับประมาณ 5% w/w ของตำรับ สารพวกนี้ทำให้ยาหม่องถูกดูดซึมเข้าสู่ผิวได้เร็ว เมื่อทาจะรู้สึกร้อนเร็ว
  3. สารที่ทำให้ร้อน หรือใช้ทาถูนวดให้ร้อนแดง ได้แก่ น้ำมันระกำ เมนทอล การบูร พวกนี้จะใช้รวมกันถึง 70% w/wของตำรับ
  4. สารแต่งกลิ่นในยาหม่อง จะใช้สารที่ช่วยแต่งกลิ่นที่มีกลิ่นคล้ายเมนทอล ได้แก่ น้ำมันสะระแหน่ เป็นต้น
  5. ตัวยาสำคัญ คือ ไพล ใช้ทาถูนวด ถ้าต้องการสมุนไพรชนิดอื่น ก็อาจใช้สมุนไพรเหล่านั้น แช่ในแอลกอฮอล์ 95% แล้วระเหยให้แห้ง หรือสูตรตำรับหมอพื้นบ้าน อาจใช้สมุนไพรหลายชนิด เจียวกับน้ำมันมะพร้าว แล้วเอาน้ำมันมะพร้าว ที่มีส่วนของสมุนไพรนั้น มาทำเป็นยาหม่อง ใช้แทนน้ำมันไพลได้

สูตรตำรับยาหม่องไพล 1. พาราฟินแข็ง วาสลิน 30 กรัม 2.ลาโนลิน 5 กรัม 3.น้ำมันระกำ เมนทอล การบูร 70 กรัม 4.น้ำมันสะระแหน่ 2 กรัม 5.น้ำมันไพล 10%ของตำรับ วิธีทำยาหม่องไพล

  1. นำพาราฟินขาว วาสลินแข็ง มาหลอมละลายให้เป็นเนื้อเดียวกัน
  2. ชั่งเมนทอล 20 กรัม การบูร 20 กรัม น้ำมันระกำ 30 กรัม นำเมนทอลและการบูรผสมรวมกันรอจนละลายเป็นเนื้อเดียวกัน แล้วนำมาผสมกับน้ำมันระกำที่เตรียมไว้
  3. จากนั้นนำส่วนผสมในข้อที่ 2 ผสมลงไปในส่วนผสมข้อที่ 1 จนเป็นเนื้อเดียวกัน
  4. เติมน้ำมันไพล น้ำมันสะระแหน่ คนให้เข้ากันแล้วเทใส่ขวด สรรพคุณและวิธีใช้ใช้ทาถูวันละ 2 ครั้ง เช้า-เย็น แก้เคล็ด ขัดยอก และปวดเมื่อยตามกล้ามเนื้อ ลูบเท้า ช่วยลดอาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อเท้า ลดอาการเคล็ดขัดยอกข้อนิ้วเท้า ข้อเท้า ส้นเท้า

และสอนการนวดเบื้องต้นให้ผ่อนคลายปบี้ยงต้น โดยสอนวิธีการนวด ให้ผู้ถูกนวดนอนหงายราบกับพื้นหรือที่นอน ใช้หมอนหนุนรองศีรษะ เหยียดขาตรงปล่อยขาตามสบาย หรืออาจจะใช้หมอนรองใต้หัวเข่าเพิ่มก็ได้ ผู้นวดใช้มือทั้งสองประสานกันไว้ โดยให้มือซ้ายอยู่บนปลายนิ้วเท้าด้านบนใกล้ข้อเท้าขวาของผู้ถูกนวด มือขวาอยู่ใต้ปลายนิ้วเท้าด้านล่างใกล้ส้นเท้า ลูบขึ้นไปอย่างช้า ๆ ออกแรงกดและลูบสม่ำเสมอ ลูบจากส้นเท้าและข้อเท้าไล่ขึ้นมาจนถึงปลายนิ้วเท้า ทำสลับไปมาแล้วจึงเปลี่ยนเป็นท่าต่อไป คลึงเท้า ช่วยลดอาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อฝ่าเท้า ลดอาการเคล็ดขัดยอกข้อนิ้วเท้า

วิธีการนวด ให้ผู้ถูกนวดนอนหงายราบกับพื้นหรือที่นอน ใช้หมอนหนุนรองศีรษะ เหยียดขาตรงปล่อยขาตามสบาย หรืออาจจะใช้หมอนรองใต้หัวเข่าเพิ่มก็ได้ ผู้นวดใช้นิ้วหัวแม่มือทั้งสองลูบไล่ลงมาตามร่องกระดูกเท้าด้านขวาของผู้ถูกนวด ที่อยู่ระหว่างนิ้วก้อยกับนิ้วนางและนิ้วหัวแม่เท้ากับนิ้วชี้ โดยลูบขึ้นไปจนถึงข้อเท้า ออกแรงกดสม่ำเสมอ แล้วให้คลึงกลับลงมาถึงโคนนิ้วเท้า ลูบขึ้นไปแล้วคลึงลงมาใหม่ ทำสลับไปมาแล้วจึงเปลี่ยนเป็นท่าต่อไป คลึงข้อเท้า ช่วยลดอาการเคล็ดขัดยอกข้อเท้า

วิธีการนวด ให้ผู้ถูกนวดนอนหงายราบกับพื้นหรือที่นอน ใช้หมอนหนุนรองศีรษะ เหยียดขาตรงปล่อยขาตามสบาย หรืออาจจะใช้หมอนรองใต้หัวเข่าเพิ่มก็ได้ ผู้นวดใช้นิ้วกลาง นิ้วนางและนิ้วก้อยทั้งสองมือวางไว้ใต้ตาตุ่มเท้าขวาของผู้ถูกนวด ให้มือซ้ายอยู่ที่ตาตุ่มด้านนอก มือขวาอยู่ตาตุ่มด้านใน โดยคลึงรอบ ๆ ตาตุ่มให้ออกแรงคลึงสม่ำเสมอ คลึงสักครู่แล้วจึงเปลี่ยนเป็นท่าต่อไป บิดเท้า ช่วยลดอาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อเท้า ลดอาการปวดตึงเอ็นร้อยหวาย

วิธีการนวด ให้ผู้ถูกนวดนอนหงายราบกับพื้นหรือที่นอน ใช้หมอนหนุนรองศีรษะ เหยียดขาตรงปล่อยขาตามสบาย หรืออาจจะใช้หมอนรองใต้หัวเข่าเพิ่มก็ได้ ผู้นวดใช้มือจับที่เท้าขวาของผู้ถูกนวดหมุนข้อเท้าออก ใช้มือซ้ายอ้อมส้นเท้ามาจับที่เอ็นร้อยหวาย มือขวาจับเอ็นร้อยหวายข้างฝ่าเท้า ใช้นิ้วหัวแม่มือซ้ายกดลง นิ้วหัวแม่มือขวาดันขึ้น ดันขึ้นลง แล้วเลื่อนมือบิดไปตลอดแนวของเส้นเอ็น ทำสลับไปมาแล้วจึงเปลี่ยนเป็นท่าต่อไป

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 113 คน จากที่ตั้งไว้ 100 คน
ประกอบด้วย

แกนนำชุมชนคณะทำงานตัวแทนครัวเรือน ประชาชนผู้สนใจเข้าร่วมโครงการ 113 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

1.เนื่องากเวลามีน้อยจึงได้เรียนรู้เป็นคร่าวๆ ที่จะสอนการนวดเท้าเท่านั้น ให้ระวังการนวดที่อย่าออกแรงมากเกินไปหรือการดกผิดจุดอาจส่งผลอันตรายได้ จึงได้มีความรู้ที่ถูกต้องพื่อการนวดให้มีปนะสิทธิภาพ

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

เรียนรู้ ผังฟาร์ม ครั้งที่ 38 เมษายน 2559
8
เมษายน 2559รายงานจากพื้นที่ โดย ณัฐชยา รัตนพันธ์
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อเรียนรู้เกี่ยวกับผังฟาร์ม  ในการทำเกษตรผสมผสาน

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

วันนี้เป็นกิจกรรมเรียนรู้ผังฟาร์มครั้งที่ 3 ซึ่งวันนี้จะเป็นการเรียนรู้ที่บ้านตัวอย่าง ด้านการเกษตรผสมผสาน มี

  1. นายประจวบ รักบ้าน วรรณละภา ไทยเกื้อ นางปรีดา รัตนพันธ์ ปลูกผักผสมผสานที่มีอยู่ในชุมชนมาแนะ ตามแนวคิดเศรษฐกิจพอพียงของในหลวงวึ่งในแต่ละครัวเรือนสามรถทำได้อยู่แล้วนั้นแต่วันนี้จะเน้นเป็นการนำแนวคิดตามปรัญชาเศรษฐกิจพอเพียงการประยุกต์พื้นที่ให้เข้ากับสภาพแวดล้อม ในด้านการเกี่ยวกับการเกษตร ได้รวมเอาเทคนิค และวิธีการในการทำการเกษตร ไม่ว่าจะเป็น ทั้งในด้านการปลูกพืช และด้านการเลี้ยงสัตว์ ยกตัวอย่าง เช่น การเลี้ยงปลาดุกในบ่อซีเมนต์ การเลี้ยงหมูหลุม การเลี้ยงเป็ด การเลี้ยงไก่ การเลี้ยงหมู การเลี้ยงสัตว์เศรษฐกิจต่างๆ การปลูกผักหวานป่า การปลูกกล้วย การปลูกไผ่หวาน การปลูกพืชเศรษฐกิจต่างๆ รวมถึง วิธีการดูแลจัดการต่างๆ ที่ได้รับการถ่ายทอดมาจากเกษตรกรที่ได้ทดลองแล้วได้ผล หรือที่เรียกว่า ปราชญ์ชาวบ้าน เช่น การทำปุ๋ยหมักชีวภาพ ไว้ใช้เอง เพื่อลดต้นทุน การทำจุลินทรีย์ในการปลูกพืชเพื่อเพิ่มผลผลิต และลดต้นทุนในการทำการเกษตร รวมทั้งการใช้วิธีธรรมชาติ ในการจัดการกับโรค แมลง เพื่อความสมดุลย์ วึงเรื่องบางเรื่องเราก้ได้เรียนรู้ตามผังฟาร์มไปบ้างแล้ว โดยวันนี้จะเน้นเรื่องสิ่งสำคัญในการบริโภคสิ่งที่คนไทยเราบรืโภคทุกวันนั่นก็คือข้าวนั้นเองโดยสภาพเมื่อก่อนั้นตลอดทุกชุมชนมีการปลูกข้าวทำนาอยู่ทุกครัวเรือน เมื่อเวลาผ่านไปการเปลี่ยนแปลงด้านอาชีพก้มีมากขึ้น ตลอดจนที่ดินทำกินที่เคยเป็นนาก็มาการเปลี่ยนเป็นสวยยางพารา สวนปาล์ม หรือกระทั่งบ้านเรือนต่างๆ จึงจะเห็นได้ว่าตอนนี้ในชุมชนแทบจะไม่มีการทำนาเลยก็ว่าได้ เพราะข้าวนั้นเป็นสิ่งสำคัญจึงอยากส่งเสริมให้ผู่ที่เข้าร่วมโครงการนั้น ได้ปลูกข้าวไว้กินในครัวเรือน เพราะข้าวสารปัจจุบันมีราคาค่อนข้างสูง และในข้าวนั้นอาจมีการใช้สารเคมีที่มีปริมารเยอะและสารเคมีกำจัดแมลงต่างๆ จึงอยากส่งเสริมให้คนในพื้นที่มาปลูกข้าวกันเยอะขึ้นแต่ก้ไม่ได้หมายถึงจะให้ผู้ที่เข้าร่วมทุกคนไม่บริโภคข้าวตามตลาดทั่วไปเพียงแต่ส่งเสริมสำหรับคนที่มีพื้นที่ว่างจากการปลูกสวนยางพาราสวนปาล์มหรือแม้ไม่รู้จะปลูกพืชอะไรดี นี้ก็เป็นเพียงตัวเลือกหนุ่งให้ได้มารับความรู้ โดยหวังผุ้ที่เข้าร่วมชุมชนจะหันมาปลูกไร่กันเยอะขึ้น โดยสายพันะ์ข้าวที่ส่งเสริมคือ ดอกพยอม เป็นข้าวพันธุ์พื้นเมืองที่ปลูกเป็นข้าวไร่หลายท้องที่ในภาคใต้ ปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมได้ดี ทนแล้ง เหมาะสำหรับปลูกเป็นพืชแซมสวนยางหรือสวนปาล์มที่มีอายุไม่เยอะ เมล็ดมีคุณภาพดี มีรสชาติอร่อย เป็นข้าวไวต่อช่วงแสงอย่างอ่อน มีอายุเก็บเกี่ยวประมาณ 145-150 วันและผลผลิตเฉลี่ยประมาณ 250 กิโลกรัมต่อไร่ โดยประโยชน์จากการปลุกข้าวไร่ครั้งนี้ทำให้เราได้ข้าวที่มีคุณค่าอาหารเพราะเราจะได้ข้าวที่ไม่ขัดสีรวมทั้งจมูกข้าวซึ่งมีสารต่างๆที่มีประโยชน์ และลดสารเคมีจากข้าว โดยการปลก สภาพแวดล้อมที่เหมาะสม ดินที่เหมาะสมต่อการปลูกข้าว ควรมีความสามารถในการอุ้มน้ำได้ดี มีค่าความเป็นกรด -ด่างของดิน (pH) ประมาณ 5.0-6.5 การปลูกข้าวไร่ต้องอาศัยความชื้นจากน้ำฝน มักปลูกช่วงต้นฤดูฝนในเดือนพฤษภาคมถึงเดือนสิงหาคม ขึ้นอยู่กับสภาพพื้นที่และการเริ่มต้นของฤดูฝนในพื้นที่นั้นๆ พบว่าข้าวไร่จะให้ผลผลิตสูงสุดถ้าปลูกในช่วงปลายเดือนพฤษภาคมถึงต้นเดือนมิถุนายน

การเตรียมดิน ในการปลูกข้าวไร่บนที่สูงที่มีความลาดชัน ถ้าสามารถหลีกเลี่ยงการขุดพลิกดินและย่อยดินได้จะเกิดผลดีในแง่ของการอนุรักษ์ดินและน้ำ ควรทำร่องระบายน้ำเพื่อกันไม่ให้น้ำไหลบ่าลงในแปลง ในการเตรียมดินไม่ควรทำไว้แต่เนิ่นๆ แล้วทิ้งพื้นที่ไว้นานเกินไปก่อนที่จะปลูกเพราะจะทำให้เกิดปัญหาวัชพืชมาก การปลูก ในสภาพไร่ทำได้ดังนี้

  1. หยอดเป็นหลุม โดยทั่วไปมักใช้จอบขุดเป็นหลุมหรือใช้ด้ามจอบปักลงไปในดินลึก 3-5 เซนติเมตร ห่างกัน 15-20 เซนติเมตร หยอดเมล็ดข้าวหลุมละ 3-5 เมล็ดแล้วกลบ การปลูกวิธีนี้ใช้เมล็ดพันธุ์ 12-15 กิโลกรัมต่อไร่
  2. โรยในร่อง หลังจากคราดดินจนร่วนซุย ใช้เครื่องวนซุยหรือใช้เครื่องปลูกตัววี โดยมี ระยะห่างระหว่างร่อง 25-30 เซนติเมตร โรยเมล็ดแล้วกลบ วิธีนี้ใช้เมล็ดพันธุ์ 15-20 กิโลกรัม การใส่ปุ๋ย ในพื้นที่ที่ทำการเพาะปลูกมานานดินมักจะเสื่อมโทรมทำให้ผลผลิตของพืชปลูกลดน้อยลง ต้องปรับปรุงบำรุงดิน ซึ่งอาจทำได้หลายรูปแบบ ได้แก่ การปลูกข้าวไร่หมุนเวียนกับพืชตระกูลถั่วบำรุงดินต่างๆ การใส่ปุ๋ยบำรุงดิน ซึ่งอาจเป็นปุ๋ยคอก ปุ๋ยคอก ปุ๋ยพืชสดหรือปุ๋ยเคมี ซึ่งปุ๋ยเคมีที่แนะนำให้ใช้กับข้าวไร่คือ ปุ๋ย 16-20-0 อัตรา 20-25 กิโลกรัมต่อไร่ ใส่ระยะเวลาประมาณ 2-3 สัปดาห์หลังหยอดเมล็ด เมื่อข้าวเริ่มตั้งท้องควรใส่ปุ๋ยแอมโมเนียมซัลเฟต (21-0-0) อัตรา 20 กิโลกรัมต่อไร่ โดยหว่านให้สม่ำเสมอทั่วแปลง ซึ่งในวันนี้ก้จะให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้ศึกษาจากสถานที่จริงที่เป็นบ้านตัวอย่างในการทำการเกษตรโดยจะให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้เรียนรู้ในเรื่อง ของการปลูกผักและพืชจากนายประจวบ รักบ้าน วรรณละภา ไทยเกื้อ นางปรีดา รันตพันธ์ และนางออง รันตบุรีในการทำข้าวไร่
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต : มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 100 คน

ผลลัพท์ :

  1. ได้เรียนรู้จากสถานที่จริงซึ่งเป็นบ้านตัวอย่างที่ได้ทำอยู้แล้ว และได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน
  2. ได้เรียนรู้จากบ้านตัวอย่างในการทำเกษตรแบบผสมผสาน คือ นายประจวบ รักบ้าน วรรณละภา ไทยเกื้อ นางปรีดา รัตนพันธ์ ปลูกผักผสมผสานนางณัฐชยา รัตนธ์ นางออง รัตบุรี ทำข้าวไร่
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 100 คน จากที่ตั้งไว้ 100 คน
ประกอบด้วย

แกนนำชุมชน  คณะทำงาน  ตัวแทนครัวเรือน ประชาชนผู้สนใจเข้าร่วมโครงการ

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

1.เนื่องจากฝนตกหนักเป็นอุปสรรคในการหว่างไถข้าวไร่

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

สภาผู้นำบ้านทรายขาวครั้งที่ 76 เมษายน 2559
6
เมษายน 2559รายงานจากพื้นที่ โดย ณัฐชยา รัตนพันธ์
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อวางแผนการทำงานติดตามการดำเนินโครงการ

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

วันนี้เป็นกิจกรรมประชุมสภาผู้นำครั้งที่ 7 มีประชุม 2 วาระ คือ เรื่องการรดน้ำดำหัวผู้สูงอายุในวันสงกรานต์ และการติดตามโครงการ

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต : มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 30 คน

ผลลัพท์ :

  • วาระที่ 1 นายสหพัฒน์ สุขอนั้นต์ ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่1 ตำบลเขาขาว อำเภอทุ่งสง จังหัวดนครศรีธรรมราช แจ้งให้รู้ข่าวสารของราชการ คุยคุยปรึกษาเรื่องอาบน้ำผู้สุงอายุ วันที่ 13 เมษายน โดยแจกหนังสือให้กับครอบครัวที่มีผู้สูงอายุในชุมชนทราย เพื่อเข้าร่วมกิจกรรมทำบุญวันสงกรานต์ วางแผนกันหลังทำบุญเสร็จทางศาสนาก้จะเป็นกิจกรรมรดน้ำดำหัวผู้สวูงอายุ ที่วัดนิคมศีรี

  • วาระที่ 2 คุยกันเรื่องดำเนินโครงการ สสส.แจ้งชี้โครงการสสส. ให้หมู้บ้านเริ่มมีการพัฒนามากยิ่งขึ้น ประชาขนในหมู้บ้านเได้มีการพบปพพูดคุยกัน และผู้เข้าร่วมโครงการที่ทำโครงการอยู่ก้สามารถมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้และนำไปปฏิบัติมากยิ่งขึ้น พร้อมทั้งการวางแผนแนนวทางตามเป้าหมายต่อไปเพื่อให้มองเห็นเป็นรูปเป็นร่างมากยิ่ง จากนั้นแจ้งเรื่องทำกิจกรรมการปลูกข่าวไร่ฤดูกาลต้นฝนใหม่ โดยการจัดกิจกรรมครั้งต่อไปนั้นก้ได้สำรวจการทำข้าวไร่ในชุมชน จากนั้นติดต่อหาเมล็ดพันธ์ผู้ที่สนใจจะปกข้าว พร้อมทั้งเรื่องต่างๆในการจัดกิจกรรมทั้งเรื่องสถานที่ อาหารและเวลาการจัดกิจกรรมต่างๆ

  • มีการชี้แจงกิจกรรมในครั้งต่อไปคือเรียนรู้ผังฟาร์มครั้งที่ 3และประชุมสภาผู้นำครั้งที่ 8ในวันที่6 พ.ค.2559

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 30 คน จากที่ตั้งไว้ 30 คน
ประกอบด้วย

คณะทำงาน  ผู้นำชุมชน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

1.ผู้นำหลายๆฝ่ายของชุมชนอยากให้เข้ามาร่วมโครงการหรือกลุ่มของชุมชน แก้ไขโดยขอความร่วมมือจากผู้นำชุมชนให้เข้าร่วมกิจกรรม

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นายยงยุทธ สุขพิทักษ์
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

เรียนรู้ ผังฟาร์ม ครั้งที่ 230 มีนาคม 2559
30
มีนาคม 2559รายงานจากพื้นที่ โดย ณัฐชยา รัตนพันธ์
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อเรียนรู้เกี่ยวกับผังฟาร์ม

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

วันนี้เป็นกิจกรรมเรียนรู้ผังฟาร์มครั้งที่ 2 ซึ่งช่วงเช้าจะเป็นการเรียนรู้ที่เสริมจากความรู้ทีมีอยู่ก่อนแล้วนั้นในตอนเช้าจะมีปราชญ์ความรู้การกรีดยางที่ทำให้หน้ายางสวยไม่เสียและทำให้น้ำยางไหลดีมีน้ำยางออกเยอะมาแนะนำวิธีการว่าทำอย่าไรน้ำยางที่ออกมาถึงมีประสิทธิภาพดีที่สุด พร้องทั้งวิธีลับมีดกรีกยางแนะนำการใช้หินเพื่อให้มีความคมและลองให้ผู้ที่เข้าร่วมได้ลองกรีดยางดู ซึ่งแต่ละคนก็มีเทคนิคที่แตกต่างกันไป จากนั้นเพื่อไม่ให้ผู้ที่เข้าร่วมมีความเบื่อหน่ายจึงจัดการแข่งขึันเล้กเป็นการแข่งการปลอกมะพร้าวและขุดมะพร้าวแข่งขึันว่าทีมไหนสามารถทำได้เร็วกว่ากัน และมีรางวัลเล้กน้อยๆให้ไป เมื่อเสร็จจากกินกรรมนันทนาการแล้วนั้น ก้ไก้มีการให้ความรู้เรื่องการแปรรูปอาหารต่างอธิบายหารแปรูรุปจากชุมชนต่างๆ ที่มีอยู่มากมาย โดยวันนี้จะเน้นเรื่องกล้วย มาทำการแปรรูป ซึ่งการจะทำการแปรูนั้นก้ได้บอกปรโยชน์ของกล้วยซึ่งมีมากมายด้วยกัน เพราะกล้วยตามที่มีในชุมชนนั้นก้มีหลายชนิด ทั้งกล้วยน้ำว้า กล้วยไช่ กล้วยหอม เป้นต้น โดยได้รับความรู้ว่าการทานกล้วยแค่ 2 ลูกนั้นจะเพิ่มพลังงานในร่างกายได้เทียบกับการออกกำลังกายถึง 90 นาทีเลย เพราะในกล้วยนั้นมีน้ำตาลธรรมชาติอยุ่ และกล้วยยังมีเส้นใยและกากอาหารวิตามินแร่ะาตุต่างๆที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย เช่น ะาตุเหล็ก ธาตุฟอสฟอรัส ธาตุโพแทสเซียม ธาตุแมดนีเซียม คาร์โบไฮเดรต โปรตีน วิตตามินเอ วิตตามินบี6 เป็นต้น และบอกเทคนิคประดยชน์ของกล้วยที่เราไม่รู้มาก่อน 1.กล้วยสามารถลดกลิ่นปากได้ดีในรดับหนึ่งยิ่งเป็นกล้วยน้ำว้ายิ่งลดได้ดี 2.กล้วยช่วยเพิ่มพลังให้สมองของเรา มีสารที่ทำให้เกิดสมาธิและมีการตื่นตัวตลอดเวลา 3.กล้วยมีสารต้านอนุมูลอิสระอยู่เหมือนกันซึ่งสามารถชะลอการแก่ของร่างกายได้ 4.กล้วยมีส่วนช่วยในการลดความอ้วนได้เพราะ ช่วยปรับระดับน้ำตาลในเลือดช่วยลดให้อาการอยากกินของจุกจิกได้พอสมควร 6.กล้วยสามารถทำให้ผู้ที่มีอาการนอนไม่หลับได้และยังลดอาการหงุดหงิดได้อีกด้วย นอกจากนี้ส่วนอืนๆของกล้วยก้สามารถนำมาทำประโยชนืได้ เช่น ยางกล้วยสามารถนำมาห้ามเลือดได้ ใบอ่อนของกล้วยหากนำไปอังไฟให้นิ่ม ก็ใช้ประคบแก้อาการเคล็ดขัดยอกได้ นำผลดิบมาบดให้ละเอียดทั้งลูกผสมกับน้ำสะอาด รับประทานแก้อาการท้องเสีย เป้นต้น และในส่วนของการแปรุปรูปคือการถนอนมอาหารให้สามารถเก้บได้นานกว่าเดิน เพื่อเปลี่ยนแปลงรสชาติให้มีความอร่อยเพิ่มขึ้น ดดยได้นำกระทิที่ผู่เข้าร่วมปอกนั้นมาทำกล้วยบวชชีที่หลายคยอาจจะพอทำเป็น และการทำกล้วยไข่เชื่อมโดยบอกเทคนิคการเลือกกล้วยที่มีลักษณะห่ามๆ และขนมกล้วย ซึ่งก้จัดเป็นการแปรรูปอย่างหนึ่งเหมือนกันการนำกล้วยมาปรุ่งแต่งให้มีรสชาติอร่อย และการทำแบบลักษณะแห้งคือการนำกล้วยไปตากแดดวึ่งเป็นการถนอนมด้วยความร้อน หรือการทำกล้วยฉาบซึ่งเป็นการทอดซุ่งมีทั้งสูตรหวานและสูตรเค็มตามความชื่นชอบของแต่ละคน มาสอนขึ้นตอนการทำต่างๆ ซึ่งสามารถเก็บได้นานหลายเดือนถ้าใส่ใยภาชนะบรรจุที่ป้องกันอากาศและสำหรับผู่ที่ถนัดด้านการแปรูปสามารถทำเป็นอาชีพเสริมได้ ซึ่งจะเห็นได้ว่าแค่กล้วยนั้นก็สามาถนำมาทำเป็นเมนูขนมหวานได้หลายเมนูหรือจะเป็นอาหารคาวก็ไก้ โดยการปลูกกล้วยนั้นก็สามารถปลูกได้ง่าย ไม่ว่าจะปลูกแซมข้างๆบ้าน พื้นที่สวนต่างๆ

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต 1.มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 100 คน

ผลลัพธ์ 1.ได้เรียนรู้จากสถานที่จริงซึ่งเป็นบ้านตัวอย่างที่ได้ทำอยู้แล้ว และได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้กันในด้านการกรีดยางพาราทั้งต้นเล้กและต้นที่มีขนาดสูงใหญ่ต้องใช้ไม้ต่อในการกรีกยางไปแลพทำให้ได้มีน้ำยางที่ไหลมากที่สุด 2.ผุ้เข้าร่วมมีความนุกสนามในการทำกิจกรรมครั้งนี้เพราะมีกิจกรรมนันทนาการแต่ก้ใช้วิถีเพื่อบ้านที่ชาวบ้านทั่วไปทำอยู่แล้วนั้นมาแข่งกัน เสริมสร้างความสามัคคีในหมู้คณะและการได้รับประโยชน์ความรู้มากมายจากกล้วยนั้น อีกทั้งการแปรรูปกล้วยที่มีอยู่ในชุมชนนั้น ซึ่งเป็นที่ชื่นชอบของแม้บ้านเป็นอย่างมากได้เรียนรู้เทคนิคการทำขนมหวานจากกล้วย และการทำกล้วยฉาบเพื่อเป็นแนวทางในการทำอาชีพเสริมได้

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 100 คน จากที่ตั้งไว้ 100 คน
ประกอบด้วย

แกนนำชุมชนคณะทำงานตัวแทนครัวเรือน ประชาชนผู้สนใจเข้าร่วมโครงการ

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

1.พื้นที่เหมาะสมกับการปลูกต้นกล้วยมีน้อย เนื่องจากในพื้นที่มียางพาราและปาล์มอายุเยอะ 2.ผู้เข้าร่วมโครงการจึงต้องหาพื้นที่ที่มีแสงเพียงพอต่อการปลูกต้นกล้วย เช่น ข้างถนน หน้าบ้าน เป็นต้น

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นายยงยุทธ สุขพิทักษ์
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

พบพี่เลี้ยงเพื่อติดตามโครงการ26 มีนาคม 2559
26
มีนาคม 2559รายงานจากพื้นที่ โดย ณัฐชยา รัตนพันธ์
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อติดตามรายงานผลการดำเนินงาน

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

วันนี้เป็นกิจกรรมติดตามโครงการร่วมกับพี่เลี้ยงเพื่อติดตามความคืบหน้าของโครงการที่ ม.วลัยลักษณ์ อ.กำไลได้ให้ความรู้เรื่องการจัดทำโครงการ ได้ให้ผู้เข้าร่วมประชุมนั่งสมาธิก่อนเริ่มการประชุม ให้หลับตานึกถึงโครงการที่ได้ทำมาในระยะเวลา 6 เดือน ว่าจากที่ทำไปแล้ว มีใครที่มีพฤติกรรมเปลี่ยนไปบ้าง เกิดการรวมกลุ่มอย่างไรบ้าง สิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนไปในชุมชนมีอะไรบ้าง แล้วระยะเวลาที่เหลือเราจะทำอะไรต่อไปบ้างแล้วให้เขียนลงในกระดาษส่งพี่เลี้ยง และเรียนรู้การจดบันทึกรายงานบันทุกการรับรายจ่าย บันทึกการเงินเอกสารต้ฃ่างๆ กับพี่เลี้ยงและสจรส และการทำกับชุมชน

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต:1ผู้เข้าร่วมกิจกรรม 2 คน
ผลลัพท์1.ได้ทบทวนโครงการว่าได้ทำอะไรไปแล้วบ้าง และจะทำอะไรต่อไปบ้าง 2.ได้กลับไปดูกิจกรรมของตนเองว่า ต้องเพิ่มเติมอะไรอีกบ้างเพราะรายละเอียดกิจกรรมในเวปไซต์ และรูป ยังไม่ครบถ้วน

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 2 คน จากที่ตั้งไว้ 2 คน
ประกอบด้วย

คณะทำงาน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

1.ในเว็ปไซต์ รายละเอียดกิจกรรมยังไม่ครอบคลุม และยังไม่โหลดรูปบางกิจกรรม แก้ไข โดยการทำให้เรียบร้อย 2.เอกสารยังไม่เรียบร้อย แก้ไขโดยการแก้ไขให้เรียบร้อยตามคำแนะนำของพี่เลี้ยง

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นายยงยุทธ สุขพิทักษ์
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

เรียนรู้ ผังฟาร์ม ครั้งที่ 125 มีนาคม 2559
25
มีนาคม 2559รายงานจากพื้นที่ โดย ณัฐชยา รัตนพันธ์
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อเรียนรู้เกี่ยวกับผังฟาร์ม

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

วันนี้ ในการทำผังฟาร์มของหมู่บ้านโดยการจัดสรรดพื้นที่ในหมู่บ้านให้ครอบคลุมและเหมาะแก่สภาพพื้นที่ ในชุมชนมีการประกอบอาชีพทำวสวนยางพาราและสวนปาล์มเป็นส่วนใหญ่ โดยในผังฟาร์มนี้จะเป็นการทำผังเกี่ยวกับอาชีพเสริมนอกเหนือจากการทำอาชีพหลัก โดยจะแบ่งผังฟาร์มในหมู่บ้านจากการที่มีคนในชุมชนได้ทำจริงอยู่แล้ว แต่ในชุมชนยังมีการต่างคนต่างทำไม่ได้มีการรวมกลุ่มไม่ได้มีการแลกเปลี่ยนความรู้ประสบการณ์แต่อย่างใด ซึ่งการทำผังฟาร์มนี้ก็จากให้บ้านที่มีการทำอยู่แล้วให้เป็นบ้านตัวอย่างในการศึกษาเรียนรู้และให้มีจัดตั้งกลุ่มขึ้นใครที่สนใจอยากทำอะไรเป็นอาชีพเสริมก็สามารถเข้าร่วมกลุ่มนั้นๆได้ เพื่อพัฒนาศักยภาพของแต่ละกลุ่มนั้นๆให้ดียิ่งขึ้น ให้คนในชุมชนได้เรียนรู้และลงมือทำทั่วหมู่บ้านโดยในหมู่บ้านที่จะให้เป็นบ้านตัวอย่าง ด้านปศุสัตว์ 1.ฟาร์มไก่ไข่: นางจิตรติมา หนูไพยันต์ เป็นการเลี้ยงแบบฟาร์มเปิดมีประมาณ 500-700 ตัว เลี้ยงเองขายเองมีร้านค้าประจำ มีรายได้เมื่อหักจากการใช้จ่ายด้านอาหารและต่างๆแล้ว จะมีเดือนละ 5000-6000 บาทเป็นรายได้เสริมจากอาชีพหลักจากการทำสวยยางพารา 2.ปลาในบ่อ : นายปรีชาทิมกลับ เลี้ยงปลาทัมทิบ ปลาดุก ครอบครัวทำอาชีพข้าราชการทั้งคู่ มีบ้อเลี้ยง 2 บ่อ บ่อละ 3000-5000 ตัวเป็นรายได้เสริมในครัวเรือน เมื่อจับปลาได้จะขายหน้าบ้านให้คนในชุมชนได้ซื้อกัน 3.วัว : นายอุดร รัตนบุรีและนายสมภาส เจ้ยทอง นายอุดรรับจ้างกรีดยางและเลี้ยงวัวไว้ในสวน ประมาณ 10 ตัว ส่วยนายสมภาสจะมีสวยยางเป้นของตัวเองและจะปลุกหย้าให้วัวกินในพื้นที่สวนตนเอง มีมูลวัวไว้ขายและหมักใช้ปุ๋ยรวมทั้งเศษหญ้าที่เหลือจากวัวกินสามารถนำมาหมักเป็นปุ๋ยได้ เป็นพันธืพื้นบ้านเลี้ยงไว้ 30 ตัวปัจจุบันนายสมภาสได้เลี้ยงแพะ 30 ตัว เพราะแพะเป็นสัตว์ที่กินง่ายกินพืชเกือบทุกชนิด 4.ไก่บ้านพื้นเมือง : ประพันธ์ คงสอง เลี้ยงไก่บ้านเลี้ยงไว้ขายเนื้อไก่ และมีไก่แจ้ปะปนไปด้วยเพราะเป้นที่ต้องการของตลาด และทำให้มีการเลี้ยงขยายๆไปหลายบ้านเพราะไก่มีราคาดี เช่นนางสมส่วน ศรีสุข นายกนกพล รันตบุรี นายประเสริฐ หนูเล็ก นางปรีดาวัญ รัตนบุรี นายประคอง สมศักดิ์ ซึ่งเป็นการเลี้ยงแบบพื้นบ้านไม่ได้มีการจัดการที่ครบวงจรเท่าที่ควร
5.เป็ด : นางสาคร รัตนบุรี เลี้ยงเป็ดประมาร 50 ตัวเลี้ยงเพื่อกินไข่และตัวให้ชาวบ้านใกล้เคียงเพื่อเป็นอาชีพเสรืม เป้นการเลี้ยงแบบชีวภาพให้เป้ดกินหยวก รำข้าวเปลือกเพื่อให้ไขโตแดงดี
ด้านการเกษตรผสมผสาน มี
1.นายประจวบ รักบ้าน วรรณละภา ไทยเกื้อ และนางปรีดา รัตนพันธ์ ปลูกผักผสมผสาน ปลุกมะเขือ ถั่วฝักยาว มันสำปะหลั่วง ในสวยฃน ปลุกมะนาว ปลุกข้าวโพดสลับสับเปลี่ยนไปในฟดูต่างๆ ปลูกเขรียงแวมไว้ในสวน เป้นการจัดพื้นที่ในสวนและบริเวรบ้านให้มีผักชนิดต่างๆดดยหมุนเวียนไปและใช้พื่นที่ให้คุ่มค่ามากที่สุด 3.นางออง รัตบุรี ทำข้าวไร่ เป็นอาหารหลักไว้กินในบ้าน ปลูกข่้าวโพดปลูกพืชหมุนเวียน ปลูกผักพืชใบอ่อน ปลุกต้นกล้วย นำไปขายที่ตลาดนัดเป็นรายได้เสริม โดยทั้งหมดนี้อยู่หมู่บ้านโดยพื้นที่การทำเกษตรต่างๆจะมีอยู่ใกล้แม่น้ำคลองมิน หรือเรียกว่ามาบชิงเป็นที่ลุ่มจึงมีน้ำในการทำเกษตรจึงให้บริเวณนี้ผังฟาร์มเกี่ยวกับการทำเกษตรผสมผสาส่วนพื้นที่ที่ไม่ได้อยู่ใกล้น้ำแต่ก้มีปศุสัตว์จะอยู่บริเวณทรายขาว โดยศูนย์รวมชุมชนจะอยู่ที่วัดนิคมคีรีใช้ในการประชุมแลกเปลี่ยนความรู้ รวมทั้งการมาทำบุญวัดร่วมมือจัดงานตามแต่ละประเพณีที่สือบทอดกันมา โดยการจัดผังฟาร์มนี้จะจัดจากบ้านที่เราคัดสรรมาแล้วมาเหมาะแก่การเป็นแบบอย่างแล้วจะให้เป็นสถานที่จากนั้นให้คนที่อยู่พื้นที่ใกล้รวมกลุ่มกันเรียนรู้ ตามสภาพของพื้นที่ในชุมชนเขาขาว ซึ่งการจัดแบ่งเป็นกลุ่มนี้ทำให้ผู้ที่เข้าร่วมที่สนใจและพาสำรวจรอบๆบิเวณพื้นที่ให้ดูถึงการปลูกพืชผักการนำแนวคิดของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลฯ การปลุกป่าสามอย่างประโยชน์สี่อย่างมาใช้ปลุกพื้นที่ อยากจะทำอะไรหรือถนัดด้านไหนก็สามารถเข้ามาสอบถามถึงรายละเอียดต่างๆ ทั้งปัญหาการทำกิจกรรม การดูแลต่างๆ

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต :

  1. มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 100คน
  2. ปราญช์ชาวบ้านได้มาพูดคุย แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการจัดทำผังฟาร์มมีการพูดแนะนำถึงข้อดีต่างๆและข้อเสียที่จะเกิดขึ้นแต่ส่วนมากได้รู้ถึงข้อดีมากว่าวึ้งให้ให้ชาวบ้านสนใจมากยิ่งขึ้น

ผลลัพท์ : มีบ้านตัวอย่างในการทำเกษตร ทั้งด้านปศุสัตว์ ด้านการเกษตรผสมผสานต่างๆอยู่แล้วนั้น แต่มีการทำที่เล็กน้อย ทำเรื่อยๆไม่ได้ตั้งใจที่จะเป็นอาชีพเสริมหรือมาลดรายได้แต่อย่างใดเมื่อผู่ที่เข้าร่วมกิจกรรมได้มาฟังทำให้จุดประกายหรือเป็นแนวทางในการที่คิดอยากจะพัในาให้เป้นรุปเป็นร่างที่ดีกว่าเดิม เพื่อสามารถลดรายได้และเป็นอาชีพเสริมได้ดียิ่งขึ้น

ปัญหาที่พบ :

  1. ปัญหาเกิดจากการขาดต้นทุนในการทำถึงแม้บางครอบครัวจะมีการเลี้ยงหรือปลูกผักอยู่บ้างแล้วแต่ยังมีการจัดการที่มีประสิทธิน้อย การดูแลไม่ครบวงจรทำให้ผลผลิตที่ออกมาน้อย วางแนวทางแก้ไขโดยให้ผู้มีควาามรู้และมีประสบการณ์ของการเลี้ยงสัตว์หรือปลูกผักนั้นๆมาแนะนำรายละเอียดพร้อมทั้งให้แม่พันธ์ที่ชาวบ้านสนใจคนละอย่างเพื่อนำไปเพาะขยายพันธ์ต่อไป
  2. ปัญหาที่บ้านชาวส่วนใหญ่ที่ปลุกพืชคือทุกบ้านมีกาารปลูกบ้างไม้ปลูกบ้างเมื่อนำไปจำหน่วยแล้วไม่สามารถไปจำหน่ายได้ดีเม่าที่ควร จึงเกืดในเรื่องของการตลาดที่มีสินค้ามากเกินไป จึงแนะนำให้ผู้ที่ปลูกผักนั้นๆมารวมกลุ่มและมีการปลูกที่ต่อเนื่อง เพื่อได้หาพ่อค้านอกพื้นที่มารับการซื้อ
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 100 คน จากที่ตั้งไว้ 100 คน
ประกอบด้วย

แกนนำชุมชนคณะทำงาน ตัวแทนครัวเรือน และประขาชนทั่วไป

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

 

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นายยงยุทธ สุขพิทักษ์
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

กลุ่มเรียนรู้ตามหลักสูตร ครั้งที่ 212 มีนาคม 2559
12
มีนาคม 2559รายงานจากพื้นที่ โดย ณัฐชยา รัตนพันธ์
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อเรียนรู้เกี่ยวกับการทำปุ๋ยน้ำชีวภาพ ปุ๋ยหมัก

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

ภาคเช้า เรียนรู้ทฤษฏีจากอาจารย์ จาก มทล.ศรีวิไชย (ไสใหญ่) โดยผู้ช่วยศาสตร์ราจารย์ สมคิด อินช่วย การทำปุ๋ยหมักต่างๆและน้ำหมักปุ๋ยชีวภาพและประชน์ในการนำไปใช้ทั้งให้ต้นไม้โตไว เร่งดอก ไล่แมลง ต่างๆ กระบวนการหมักทีีเกิดขึ้นภายในที่เกิดจากจุลินทรียที่มีอยู่ในธรรมชาตินั้นมาใช้ให้เกิดประโยชน์โดยยอาศัยการหมัก ซึ่งในระยะแรกจุลินทรียจะใช้น้ำตาลหรือกากน้ำตาลเป็นตัวที่ให้จุลินทรียเหล่านั้นกินเป็นอาหารแล้วจุลินทรียจะย่อยสารอาหารอย่างรวดเร็ว จึงทำให้อุณหภูมิเพิ่มขึ้นกว่า 40 องศาเซลเซียส จากนั้นระยะที่สอง เกิดไม่กี่วันถัดมาช่วงระยะนี้จะเกิดอุรหภูมิสุงขึ้น 50-75 องศาเซลเซียส วึ่งทำให้ดารย่อยสลายยาดขึ้นกว่าเดิม จึงต้องกลับกองปุ๋ยเป้นครั้งคราว เพื่อเพื่มอากาสถ่ายเทและกองปุ่ยมีการถ่ายเทความร้อนกระจายสม่ำเสมอ และควรกลับเอาวัสดุที่อยุ่ภายนอกให้เข้ามาได้รับความร้อนภานในกองด้วย โดนอาจารย์บอกว่าระยะมีการสังเคราะห์คล้ายฮิวมัสหรือการเกิดในดินที่มีแร่ธาตุสมบุรณืทั่วๆไป หลังจากนั้นระยยะที่สาม เป้นระยะดารบ่มมีอุณหภูมิปานกลาง แหล่งอาหารที่ใช้ได้ง่ายต่อจุลินทรียก้จะน้อยลง กิจกรรมของจุลินทรียก็จะลดต่ำลงด้วย อุรหภูมิจะใกล้เคียงกับอากาศรอบกองปุ๋ย วึ่งทำให้จุลินทรียเจริยเติบโตเพิ่มขึ้นอีกครั้งหนุ่ง ระยะนี้อาจกินเวลา 3-5 สัปดาหืหรือยืดเป็นเวลาหลายเดือน ขึ้นอยู่กับวัสดุที่ใช้และสถาพแวดล้อมภานในกองปุ๋ย วิ่งอาจารยืได้อะิบายคร่าวๆว่าในการหมักนั้นมีแบคทีเรียนต่างๆเข้ามาด้วย หรือเชื้อราต่างๆหรือเชื้อโรคต่างๆนั้นแต่ไม่ต้องกังวลเพราะเมื่อเกืดการหมักที่มีอุณหภูมิสูงพวกเชื้อโรถพวกนี้จะตายไป เพราะทนความร้อนไม่ได้ ส่วนแบคทีเรียที่ทนควาามร้อนได้ก้จะมีไม่มากและไม่ทำอันตรายต่อพืชผักต้นไม้
ภาคบ่าย ลงมือปฏิบัติเรียนรู้การทำปุ๋ยหมัก โดยมีส่วนผสมคือผัก ผลไม้ หรือเศษอาหารเหลือทิ้ง 1 ส่วน + กากน้ำตาล หรือน้ำตาลทรายแดง 1 ส่วนวิธีผสม : ผสมส่วนผสมเข้าด้วยกันทิ้งไว้ 7 วัน (น้ำหมักจะเริ่มเป็นสีน้ำตาลไหม้ มีกลิ่นหอมอมเปรี้ยว ถ้าน้ำหมัก มีสีน้ำตาลอ่อน และกลิ่นบูดแสดงว่าใส่น้ำตาลไม่พอให้เพิ่มกากน้ำตาลลงไปอีก กลิ่นบูดจะค่อยๆ หายไปหมักต่อไปเรื่อยๆ) ตวงน้ำหมักใส่ขวดหรือภาชนะเก็บในที่มืด ในห้องธรรมดาจะเก็บไว้ได้นาน 6 เดือน ถึง 1 ปีหรือใส่ในถังหมักไว้ การทำปุ๋ยแห้ง ส่วนผสม : เศษวัสดุจากพืช 10 ปี๊บ + แกลบ 10 ปี๊บ + มูลสัตว์ 10 ปี๊บ + รำอ่อน 1 ปี๊บ + น้ำหมักพืช 1 ช้อนแกง + กากน้ำตาล 4 ช้อนแกง + น้ำ 1 ถังฝักบัว (18 ลิตร)
วิธีผสม : นำส่วนผสมแห้งทั้งหมดคลุกให้เข้ากันนำน้ำผสมน้ำหมักพืชและกากน้ำตาล รดให้ทั่ว ตรวจสอบความชื้นของปุ๋ย โดยกำไว้ในมือ เมื่อปล่อยมือออกจะจับเป็นก้อนหลอมๆ พอแตะก้อนแล้วแตกเป็นใช้ได้ แล้วเกลี่ยกองปุ๋ยให้เสมอกันให้สูงจากพื้นไม่เกิน 30 ซ.ม. คลุมด้วยกระสอบป่านให้มิดชิด ถ้าผสมปุ๋ยในช่วงเช้า ตอนเย็นให้ทดสอบดู โดยสอดมือเข้าไปในกองปุ๋ยจะร้อนมาก และในวันรุ่งขึ้นจะเริ่มมีเส้นใยขาวๆ ปรากฏบนผิวกองปุ๋ยแสดงว่า จุลินทรีย์เริ่มทำงานทิ้งไว้ 3 วัน แล้วเปิดกระสอบป่านออกคลุกกับปุ๋ยให้ทั่วอีกครั้งหนึ่ง แล้วปิดกระสอบไว้ตามเดิม อีก 3 - 4 วันต่อมา ให้ทดสอบดูอีก ถ้าปุ๋ยมีความเย็นถือว่า ใช้ได้ ถ้ายังมีความร้อนอยู่ให้ทิ้งไว้ต่อไปอีกจนกว่าจะเย็นจึงสามารถนำไปใช้ได้
การทำปุ๋ยหมักชีวภาพแบบไล่แมลงแบบสูตรทั่วไป ส่วนผสม : นำน้ำหมักพืช กากน้ำตาล เหล้าขาว น้ำส้มสายชู อย่างละ 1 ขวด (ขวดกลม) และน้ำสะอาด 10 ขวด
วิธีทำ : ผสมส่วนผสมให้เข้ากันแล้วหมักทิ้งไว้ 15 วัน (ควรมีฝาปิดมิดชิด) ระหว่างการหมัก (ช่วง 15 วันแรก) ให้เปิดฝาคนทุกวันเช้า - เย็น เพื่อไม่ให้เป็นตะกอนนอนก้นและเพื่อระบายแก๊สออกครบกำหนดให้นำไปใช้ได้ หัวเชื้อนี้สามารถเก็บได้นาน 3 เดือน โดยไม่ต้องเปิดฝาระบายแก๊สเป็นครั้งคราว
การใช้ประโยชน์ : นำหัวเชื้อยาขับไล่แมลงนี้ไปผสมกับน้ำในอัตราส่วน 5 ช้อนแกง กากน้ำตาล 5 ช้อนแกงผสมกับน้ำ 10 ลิตร จากนั้นนำส่วนผสมไปฉีดพ่นต้นไม้สัปดาห์ละ 1 - 2 ครั้ง หรือตามความจำเป็น (ใช้บ่อยๆ ได้โดยไม่เป็นอันตรายต่อพืชและคน) โดยฉีดพ่นในช่วงเย็น สำหรับพืชที่กำลังแตกใบอ่อนให้ใช้ในอัตราส่วนที่เจือจางลงโดยหัวเชื้อที่ผสมน้ำแล้วหากใช้ร่วมกับพืชสมุนไพรต่างๆ เช่น สะเดา ข่า ตระไคร้หอม ยาสูบโดยนำหัวเชื้อยาขับไล่แมลงใส่เพิ่มลงไปอีก 5 ช้อนแกง (ต่อน้ำ 10 ลิตร) จะทำให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น ปุ๋ยคอกหมักแบบทั่วไป วิธีทำ : นำมูลสัตว์ แกลบเผา และรำละเอียดมาผสม เข้าด้วยกัน นำน้ำหมักพืช และกากน้ำตาลผสมน้ำรดกองปุ๋ยที่ผสมคลุกให้ทั่วให้มีความชื้นระดับเดียวกับการทำปุ๋ยชีวภาพ (ปุ๋ยแห้ง) เกลี่ยกองปุ๋ยบนพื้นให้หนาไม่เกิน 15 ซ.ม. คลุมด้วยกระสอบป่าน ทิ้งไว้ 3 - 5 วัน โดยไม่ต้องกลับเมื่อปุ๋ยเย็นลงนำไปใช้ได้ โดยทั้งหมดสามรถนำไปประยุกต์ใช้โโยอาจะให้มูลสัตว์ตามที่มีอยู่ในชุมชนมาใชได้

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต 1.มีผู้เข้าร่วมโครงการ100คน

ผลลัพธ์

  1. ผู้ที่เข้าร่วมสามารถเข้าใจหลักการทำงานของจุลทรีย์อย่างคร่าวๆว่าทำไมกองปุ๋ยถึงร้อนขึ้นจะได้ไม่ไปหาวิธีต่างๆทำที่ไปขัดขวางการทำงานของจุลินทีย์เหล่านี้ทำให้ปุ๋ยไม่สามารถเจรืยได้เต็มที่
  2. ได้รู้สูตรต่างๆของการทำปุ๋ยทั้งการนำวัสดุเหลือใช้ต่างๆ หรือมูลสัตว์ มาหมักทำปุ๋ยชีวภาพ ให้ผู้เข้าร่วมได้ใช้ปรโยชน์สูงสุดของวัสดุจากธรรมชาติที่มีอยู่ในชุมชนและเพื่อเป็นการลดการลดต้นทุนลดการใช้สารเคมีที่ส่งผลอันตรายต่อธรรมชาติและผู้บริโภค

ปัญหาที่พบ : ผู้เข้าร่วมโครงการขาดความรู้ในการหมักปุ๋ยเพราะเข้าใจว่าแค่ผสมส่วนต่างๆแล้วทิ้งไว้ไม่นานก้นำไปใช้ได้แต่กลับส่งผลให้พืชพันธ์เน่าเสียเป็นผลมาการการที่ปุ๋ยหมักยังหมักไม่เข้าที่ตัวปุ๋ยมีอุฯหภูมิสูงและยังมีเชื้อโรคต่างๆ เมื่อนำไปใช้เชื้อโรคเหล่านี้ก้ไปลำรายระบบราก หรือตินอ่อนให้เน่าเสียและตายในที่สุดและให้มองว่าการใช้ปุ๋ยหมักชีวภาพนี้ไม่ได้ประสิทธิภาพ เมื่อผู้เข้าร่วมได้มีความเข้าใจในเรื่องนี้แล้วก้สามารถตรวจเชคเวลาหรืออุณหภูมิของกองปุ๋ยได้และสามารถนำปุ่ยที่ปลอดภัยและมีคุรภาพดีเหล่านี้ไปใช้งานได้จริง

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 100 คน จากที่ตั้งไว้ 100 คน
ประกอบด้วย

แกนนำชุมชนคณะทำงาน ตัวแทนครัวเรือน และประขาชนทั่วไป

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

 

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นายยงยุทธ สุขพิทักษ์
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

กลุ่มเรียนรู้ตามหลักสูตร ครั้งที่ 117 กุมภาพันธ์ 2559
17
กุมภาพันธ์ 2559รายงานจากพื้นที่ โดย ณัฐชยา รัตนพันธ์
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อเรียนรู้เกี่ยวกับการทำการเกษตร

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

วันนี้เป็นกิจกรรมการเรียนรู้ตามหลักสูตรครั้งที่ 1ซึ่งวันนี้คณะทำงาน แกนนำชุมชน และผู้เข้าร่วมโครงการ มาพูดคุยเพื่อจะจัดตั้งกลุ่มแกนนำ โดยให้มาเรียนรู้อบรบปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ให้รู้จักพึ่งพาตนเอง 1.การมีความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไม่น้อยเกินไปและไม่มากเกินไป โดยไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น เช่น การผลิตและการบริโภคที่อยู่ในระดับพอประมาณ 2.ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับความพอเพียงนั้น จะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนคำนึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระทำนั้นๆ อย่างรอบคอบ 3.ภูมิคุ้มกัน หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆ ที่จะเกิดขึ้น โดยคำนึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ต่างๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคต ซึ่งในที่ประชุม เสนอให้จัดตั้งเป็นกลุ่มต่างๆ คือ -กลุ่มสมุนไพร มีปราชญ์ชาวบ้านคือ นายทิ้ง รัตนบุรีและ นายกิตติพงศ์ สุขอนันต์ มาให้ความรู้เรื่องสมุนไพรที่มีอยู่ตามชุมชนพร้อมทั้งสรรพคุณการปรุุงเพื่อบำรุงรักษาร่างกาย เช่นเมื่อเรามีไข้เล้กน้อยไอ เป็นเสมหะ โดยสามาถนำมะนาว ขิง กระเทียม ดีปลี มะขามป้อม มะแว้ง เป็นต้นมารัปประทานแก้ไอเสมหะเหล่านี้เป็นต้น โดยแนะนำความรู้กับกลุ่มที่มีความสนใจ ประชุมอาทิตย์ละครั้ง
- กลุ่มเกษตรผสมผสานคือการทำการเกาตรที่มีการเพาะปลูกหรือเลี้ยงสัตว์หลายๆชนิดอยู่พื้นที่เดียวกัน มีการนำวัสดุเหลือใช้จากจากการผลิตหนึ่งมาใช้ประโยชน์ต่ออีกต่อหนึ่งเพื่อให้เกิดการครบวงจร โดยเน้นการใช้พื้นที่ให้คุ้มค่าที่สุดซึ่งตามวิถีตามชุมชนทุกบ้านจะเป็นแบบนี้อยู่แล้วเพียงแต่ชนิดการปลูกพืชผักหรือการเลี้ยงสัตวืนั้นชาวบ้านยังไม่มีการนำมาใช้แบบเป็นวงจรหรืออกจะเป็นการปลูกพืชเชิงเดียวซะมากกว่า เช่นชาวบ้านปลูกสวนยางก็จะปลูกสวนยางเป็นแถวเรียงแนวอย่างเดียว ซึ่งสวนยางอาจมีพื้นที่ปลูกสละระหว่างแถวหรือพืชผลไม้ต่างๆได้มากกว่าปลูกแค่ต้นยางพาราเท่านั้น ในชุมชนก้จะมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และถามความคิดเห็น และศึกษาดูงานร่วมกัน โดยประชุมเดือนละครั้ง -นวดแผนไทย มีปราชญ์ด้านการนวดคือ นางสาวอรวัลย์ สกุลแก้วมาให้ความรู้ผู้ที่สนใจด้านการนวด โดยประชุมเดือนละ 2 ครั้ง
-แปรรูปอาหารหมายถึงการนำผลผลิตทางการเกษตรที่มีอยุ่ในชุมชนมาถนอมอาหารเพื่อเก็บรักษาไว้ให้นานขึ้น โดยผ่านกระบวนการต่างๆที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงคุณลักษณะของอาหารไปแล้วหรือผสมส่วนอื่นๆเข้าไป เช่นการนำผลไม้ที่สุกงอมมาทำการกวน หรือการนำผักมาดอง ซึ่งทำให้อาการสามารถเก้บได้นานยิ่งขึ้นและยังเป็นการเพิ่มมุลค่าของผลผลิตทางการเกษตรได้อีกด้วย รวบรวมผู้ที่สนใจด้านการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตรที่มีอยู่ในชุมชน ให้คนในชุมชนตระหนักถึงการแปรรูปอาหาร ถ้าต้องศึกษาเพิ่มเติมศักยภาพ เชิญวิทยาการด้านการแปรรูปอาหารมาให้ความรู้เพิ่มเติม โดยประชุมเดือนละ 2 ครั้ง -ไม้ดอกไม้ประดับ ผู้ที่สนใจด้านการตกแต้งไม้ดอกไม้ประดับและชอบปลูกไม้ดอกเหล้านี้ รวบรวมกลุ่มผู้ที่มีความชอบไม้ดอกไม้ประดับที่มีอยู่แล้วในชุมชน มาจัดเป็นกลุ่มเป็นองค์กร เป็นสภากลุ่มไม้ดอกไม้ประดับ โดยประชุมเดือนละครั้ง

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต:1.มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 100คน 2.มีการพูดคุย และเสนอความคิดเห็นในเรื่องที่จะเรียนรู้กัน

ผลลัพท์:1.ได้เสนอกลุ่มต่างๆ คือ กลุ่มสมุนไพร กลุ่มเกษตรผสมผสานนวดแผนไทย แปรรูปอาหาร ทำดอกไม้ประดับ

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 100 คน จากที่ตั้งไว้ 100 คน
ประกอบด้วย

แกนนำชุมชนคณะทำงานตัวแทนครัวเรือน ประชาชนผู้สนใจเข้าร่วมโครงการ

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

1.เวลาเรียนรู้น้อยไปที่จะหาโอกาสพัฒนาผู้เข้ารวมโครงการเรียนรู้แก้ไขโดยจัดการประชุมหลายๆครั้งเพื่อให้ได้มีเวลาเรียนรู้เพิ่มขึ้น

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นายยงยุทธ สุขพิทักษ์
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

การประชุมจัดทำรายงานงวดที่ 113 กุมภาพันธ์ 2559
13
กุมภาพันธ์ 2559รายงานจากพื้นที่ โดย ณัฐชยา รัตนพันธ์
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อปิดงวดรายงาน งวดที่ 1

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

วันนี้เป็นกิจกรรมการติดตามและ พบพี่เลี้ยงพื้นที่และ สจรส.มอโดยตัวแทนโครงการ 2 คน เข้าร่วมกิจกรรมเพื่อปิดรายงานงวดที่ 1 ที่ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ได้นำเอกสารให้ สจรส.มอ.ตรวจสอบเอกสาร รายงานผลการดำเนินงาน และพี่เลี้ยงได้แนะนำมาให้ปรับปรุง

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 2 คน
  2. การประชุมจัดทำรายงานงวดที่ 1 กับ สจรส.มอ.และพี่เลี้ยงและคืนเงินเปิดบัญชี 500 บาท
  3. ได้ทราบถึงสิ่งที่ต้องแก้ไขจากการตรวจรายงานและการตรวจเอกสาร ดังนี้
  • ค่าถ่ายเอกสารบิลร้านไม่ถูกต้อง และลงไม่ถูกหมวดแก้ไขโดย ต้องไปขอบิลจากร้านมาใหม่และในการบันทึกให้บันทึกในค่าใช้สอย
  • ขาดใบสำคัญรับเงินของผู้ประสานงานในบางกิจกรรมก้ไขโดยการต้องไปขอใบเสร็จรับเงินมา
  • การเขียนกิจกรรมไม่ตรงกันแก้ไขโดยการไปบันทึกใหม่ และดูกิจกรรมให้สอดคล้องกัน
  • รูปถ่ายกับกิจกรรม ไม่สัมพันธ์ กับจำนวนกิจกรรมเป้าหมายแก้ไข โดยเก็บกิจกรรมเสริม
  • การเขียนผลลัพธ์กว้างเกินไป การเขียนผลลัพธ์ยังไม่สัมพันธ์แก้ไขโดยการบันทึกใหม่
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 2 คน จากที่ตั้งไว้ 2 คน
ประกอบด้วย

ตัวแทนโครงการ 2 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

 

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

พบพี่เลี้ยงเพื่อปิดรายงานงวดที่ 110 กุมภาพันธ์ 2559
10
กุมภาพันธ์ 2559รายงานจากพี่เลี้ยง โดย yongyut
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อปิดงวดรายงาน งวดที่ 1

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

วันนี้ตัวแทนโครงการ เข้าพบพี่เลี้ยง เพื่อนำเอกสารการดำเนินงานมาส่งให้พี่เลี้ยงได้ตรวจสอบ พบว่า
1.การบันทึกรายงานกิจกรรม ย้งไม่ครอบคลุม ซึ่งได้ปรับปรุงแก้ไปแล้ว แต่ยังไม่ครบทุกฉบับ ให้ปรับปรุงต่อไป
2.รายงานการเงิน การตรวจสอบหลักฐานพบว่า ยังต้องปรับปรุง บางฉบับ และโครงการได้นำไปแก้ไขแล้ว เพื่อรอให้ สจรส.ตรวจสอบต่อไป ในวันที่ 13 - 14 กพ.59

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.โครงการได้เรียนรู้วิธีการปิดงวดรายงานกิจกรรม 2.โครงการได้เรียนรู้วิธีการปิดงวดรายงานการเงิน
3.โครงการได้เรียนรู้วิธีแก้ปัญหาการแก้ไขข้อมูลออนไลน์

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

ปิดรายงาน งวด 1 กับพี่เลี้ยงพื้นที่ ครั้งที่ 410 กุมภาพันธ์ 2559
10
กุมภาพันธ์ 2559รายงานจากพื้นที่ โดย ณัฐชยา รัตนพันธ์
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อตรวจสอบเอกสารปิดงวด

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

วันนี้เป็นกิจกรรมติดตามของพี่เลี้ยงโครงการ เพื่อปิดงวดครั้ง ที่ 1 โดยเดินทางมาพบพี่เลี้ยงที่ รพ.สต. เขาพระบาท เวลา 10.30 น. มาถึง ได้เรียนรู้ในเรื่อง: -การตรวจหลักฐานการทำงายงานโดยพี่เลี้ยงได้ตรวจดูเอกสารด้านการเงินและได้แนะนำในเรื่องเตรียมเอกสารด้านการเงินในเรื่องของบิลการเสียภาษี -การลงบันทึกโปรแกรมออนไลน์โดยได้แนะนำในการบันทึกในโปรแกรมออนไลน์ว่าให้เขียนรายละเอียดในแต่ละกิจกรรมให้มากกว่านี้และผลลัพธ์ที่ได้จากการทำกิจ ว่าได้อะไรบ้างได้อย่างไรส่วนรูปให้ใส่ขึ้นเว็บไซต์ได้เลย -การลงบันทึกรายรับรายจ่ายให้ลงให้ครบและให้ลองคิดคำนวนรายจ่ายออกมาดูว่าถูกต้องและตรงกับเอกสารไหม การทำบัญชีการเงินและการเตรียมเอกสารเพื่อการตรวจของ สจรส.มอ. ตรวจเอกสารทางการเงินเป็นใบสำคัญรับเงิน ใบเสร็จรับเงินผิดต้องแก้ไข เขียนรายงานการประชุมที่พบปะพี่เลี้ยงในแต่ละครั้ง 22.30นง เดินทางกลับบ้าน

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 2 คน
  2. ได้รวบรวมกิจกรรมได้ทุกกิจกรรม และได้แก้ไขในบางกิจกรรมได้ เช่น ในเรื่องของรูปภาพและเนื้อหาบางกิจกรรมที่ยังขาดรายละเอียด
  3. ได้เรียนรู้เพิ่มเติมในการบันทึกกิจกรรมเข้าเว็บไซต์ และการบันทึกรายละเอียดให้ชัดเจนเช่นผลลัพธ์ที่ได้รับจากการทำกิจกรรม แต่ละกิจกรรม
  4. เรียนรู้การทำบัญชีทางการเงิน
  5. จัดทำเอกสารการปิดงวดงบประมาณ การจัดเรียงเอกสารสำคัญทางเงิน การจัดเก็บเอกสาร โดยได้รู้ถึงการปิดงวดงบประมาณการทำกิจกรรม ได้รู้ถึงความสำคัญทางการเงินได้รู้ถึงน้ำใจของเพื่อร่วมงาน ความมีน้ำใจเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ความสามัคคีในทีมงาน ในการช่วยกันบันทึกกิจกรรมในเว็บไซต์ และการตรวจสอบเอกสาร ว่ากิจกรรมไหนบ้างที่ครบหรือขาดไป
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 2 คน จากที่ตั้งไว้ 2 คน
ประกอบด้วย

ผู้รับผิดชอบโครงการ และเจ้าหน้าที่การเงิน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ความไม่เข้าใจในระบบการทำงานด้านเอกสารทำให้งานล่าช้าแก้ไขโดยการทำความเข้าใจให้มากขึ้น และภายหลังจะได้ไม่ล่าช้า

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นายยงยุทธ์ สุขพิทักษ์
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

สภาผู้นำบ้านทรายขาว ครั้งที่ 61 กุมภาพันธ์ 2559
1
กุมภาพันธ์ 2559รายงานจากพื้นที่ โดย ณัฐชยา รัตนพันธ์
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อชี้แจงการปิดกิจกรรมในงวดแรกของโครงการให้ประชาชนเข้าร่วมได้รับทราบ

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

วันนี้เป็นกิจกรรมประชุมสภาผู้นำครั้งที่ 6 วันนี้เป็นกิจกรรม ประชุมสภาชุมชนครั้งที่ 5
วาระที่1 ประชุมคณะทำงาน นางเยาวภา คำแหง ผู้รับผิดชอบโครงการผังฟาร์มลดรายจ่ายที่บ้านทรายขาว ชี้แจงถึงการดำเนินกิจกรรมที่ผ่านมา คือ กิจกรรมปิดงวดรายงานร่วมกับพี่เลี้ยง ในวันที่ 30ม.ค. 2559ที่สำนักงานสนับสนุนบริการสาธารณสุขเขต 11 นครศรีธรรมราชได้ไปพบพี่เลี้ยงเพื่อติดตาม ผลงานของกิจกรรมเพื่อเตรียมความพร้อมให้ สจรส.มอ. และตรวจหลักฐาน
และได้เรียนรู้การบันทึกกิจกรรม บันทึกผลิต ผลลัพธ์ที่เกิดให้แต่ละกิจกรรมให้โหลดรูปภาพให้เรียบร้อยได้ตรวจสอบหลักฐานการเงิน ตรวจสอบหลังฐาน สมุดบัญชีธนาคาร ต้องดำเนินกิจกรรมใช้เงินมากกว่าร้อยละ 60ตรวจสอบหลักฐานประกอบการดำเนินงาน ลายมือชื่อผู้เข้าร่วมประชุม หลักฐานการเบิกจ่ายเงินและก็จะให้คณะทำงานบันทึกข้อมูลในเว็บไซต์เพิ่มเติมและบันทึกรูปภาพเพิ่มเติมให้ครบทุกกิจกรรม ส่วนใบเสร็จรับเงินก็จะให้ฝ่ายการเงินดำเนินการให้เรียบร้อยด้วย เพื่อจะได้ไปปิดรายงานร่วมกับพี่เลี้ยงอีกและจะได้เสร็จก่อนปิดงวดที่ 1 วาระที่2ชี้แจงกิจกรรมครั้งต่อ 1)กิจกรรมพบพี้เลี้ยงเพื่อปิดวงดรายงานที่ 1และตรวจสอบเอกสารในวันที่ 10กุมภาพันธ์ 2559ที่รพ.สต.เขาพระบาทต.เขาพระบาทอ.เชียรใหญ๋และ2)กิจกรรมปิดงวดรายงานที่ 1 ร่วมกับสจรส.มอ.และพี่เลี้ยงในวันที่ 13-14กุมภาพันธ์ 2559ที ม.วลัยวลัยลักษณ์เพื่อเป็นการตรวจสอบเอกสารและจะได้ปิดงวดรายงานที่ 1มติประชุมรับทราบ

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 30 คน
  2. การชีแจงการปิดงบประมาณงวดที่1 ให้แกนนำรับทราบคือจะปิดวงดที่ 1ในวันที่ 13-14ก.พ.2559 ที่มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
  3. ได้ชี้แจงกิจกรรมที่ทำต่อไปคือ กิจกรรมพบพี้เลี้ยงเพื่อปิดวงดรายงานที่ 1 ในวันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2559ที่รพ.สต.เขาพระบาท และ 2)กิจกรรมปิดงวดรายงานที่ 1 ร่วมกับสจรส.มอ.และพี่เลี้ยงในวันที่ 13-14กุมภาพันธ์ 2559ที ม.วลัยวลัยลักษณ์
  4. คณะทำงานได้ไปแก้ไขเกี่ยวกับรายงานการเงินที่ยังผิดอยู่และได้บันทึกกิจกรรมและบันทึกภาพเพิ่มเติม
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 30 คน จากที่ตั้งไว้ 30 คน
ประกอบด้วย

ผู้ใหญ่บ้าน คณะกรรมโครงการ และปรชาชนที่เข้าร่วมในโครงการ

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นายยงยุทธ์ สุขพิทักษ์
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

ติดตามผลการดำเนินงานงวดที่ 130 มกราคม 2559
30
มกราคม 2559รายงานจากพี่เลี้ยง โดย yongyut
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อปิดงวดรายงาน งวดที่ 1

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

วันนี้ตัวแทนโครงการ เข้าพบพี่เลี้ยง ที่สำนักสนับสนุนบริการสุขภาพที่ 11  นครศรีธรรมราช
เพื่อนำเอกสารการดำเนินงานมาส่งให้พี่เลี้ยงได้ตรวจสอบ พบว่า
1.การบันทึกรายงานกิจกรรม ย้งไม่ครอบคลุม ซึ่งได้ปรับปรุงแก้ไปแล้ว แต่ยังไม่ครบทุกฉบับ ให้ปรับปรุงต่อไป
2.รายงานการเงิน การตรวจสอบหลักฐานพบว่า ยังต้องปรับปรุง บางฉบับ และโครงการได้นำไปแก้ไขแล้ว เพื่อรอให้ สจรส.ตรวจสอบต่อไป ในวันที่ 13 - 14 กพ.59

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.โครงการได้เรียนรู้วิธีการปิดงวดรายงานกิจกรรม 2.โครงการได้เรียนรู้วิธีการปิดงวดรายงานการเงิน
3.โครงการได้เรียนรู้วิธีแก้ปัญหาการแก้ไขข้อมูลออนไลน์  และการโหลดรูปภาพ

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 2 คน จากที่ตั้งไว้ 2 คน
ประกอบด้วย

ตัวแทนโครงการ 2 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

ปิดงวดรายงานร่วมกับพี่เลี้ยง ครั้งที่ 330 มกราคม 2559
30
มกราคม 2559รายงานจากพื้นที่ โดย ณัฐชยา รัตนพันธ์
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อความเข้าใจ และการเรียนรู้ในการจัดเก็บเอกสาร

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

วันนี้เป็นกิจกรรมพี่เลี้ยงโครงการ เพื่อติดตามความคืบหน้าของโครงและการทำรายงานเพื่อปิดงวดที่ 1 09.30น. ได้ไปพบพี่เลี้ยงเพื่อติดตาม ผลงานของกิจกรรมเพื่อเตรียมความพร้อมให้ สจรส.มอ. ตรวจหลักฐาน
1.มีการบันทึกกิจกรรม แบบบันทึกผลกิจกรรม สิ่งที่เกิดขึ้น ผลลัพธ์ ผลกระทบ รายงานกิจกรรม เพื่อบันทึกข้อมูลในเอกสารเรียบร้อย ให้พิมพ์เข้าโปรแกรมออนไลน์ แต่ละกิจกรรมให้โหลดรูปภาพให้เรียบร้อย 2.หลักฐานการเงิน -ดำเนินตรวจสอบหลักฐานทางการเงิน -ตรวจสอบยอดเงินโครงการฯ และบันทึกออนไลน์ -ตรวตสอบการเขียนเงินสด -ตรวจสอบหลังฐาน สมุดบัญชีธนาคาร ต้องดำเนินกิจกรรมใช้เงินมากกว่าร้อยละ 60 3.หลักฐานประกอบการดำเนินงาน -ลายมือชื่อผู้เข้าร่วมประชุม -หลักฐานการเบิกจ่ายเงิน 4.บันทึกช่วยจำ -บันทึกข้อมูลเข้าโปรแกรมออนไลน์ให้เรียบร้อย -หลักฐานการเงินต้องถูกต้อง ครบถ้วน -ปิดงวดส่งเอกสาร

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. มีผู้เข้าร่วมโครงากร 2 คน
  2. ได้ตรวจความพร้อมของเอกสารได้ เข้าใจในการสรุปปิดงวดโครงการคือการได้ตรวจเช็ค เงินในการจ่ายแต่ละกิจกรรมและเอกสารด้านการเงินของแต่ละกิจกรรม
  3. ได้เข้าใจการลงบันทึกบัญชี ได้เข้าใจวิธีการบันทึกข้อมูลออนไลน์
  4. ได้ตรวจสอบความถูกต้องของเอกสารด้านการเงิน และมีความเข้าใจในด้านการเงินมากขึ้น ในการเขียนบิลคือต้องเขียนรายละเอียดให้ครบตามกำหนด
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 2 คน จากที่ตั้งไว้ 2 คน
ประกอบด้วย

ผู้รับผิดชอบโครงการและคณะกรรมโครงการ

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ใบเสร็จรับเงินในการถ่ายเอกสารยังไม่เรียบร้อยแก้ไข โดยการไปขอจากทางร้านมาใหม่

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นายยงยุทธ์ สุขพิทักษ์
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

สภาผู้นำบ้านทรายขาวครั้งที่ 514 มกราคม 2559
14
มกราคม 2559รายงานจากพื้นที่ โดย ณัฐชยา รัตนพันธ์
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อมีสภาผู้นำที่เข็มแข็ง

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

วันนี้เป็นกิจกรรม ประชุมสภาชุมชนครั้งที่ 5
วาระที่1 ประชุมคณะทำงาน นางเยาวภา คำแหง ผู้รับผิดชอบโครงการผังฟาร์มลดรายจ่ายที่บ้านทรายขาว ชี้แจงถึงการดำเนินกิจกรรมที่ผ่านมา
วาระที่2 เรื่องเพื่อพิจารณา -เรื่องมอบหมายให้คณะทำงาน ผู้นำชุมชนติดตามการทำบัญชีครัวเรือนที่บ้านเพื่อจะได้ทราบว่ามีการได้ทำบัญชีครัวเรือนกันไหมเพื่อเป็นการกระตุ้นให้ครัวเรือนได้ทำบัญชีครัวเรือนกัน วาระที่3 เรื่องอื่นๆ นัดประชุมครั้งต่อไป วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2559

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. ผู้เข้าร่วมกิจกรรม 30คน
  2. ติดตามกิจกรรมที่ได้ทำผ่านมา คือ 1)การติดตาม สจรส.มอ.และพี่เลี้ยงที่ ม.วลัยลักษณ์ได้เรียนรู้ การเขียนรายงาน และการเงินการบันทึก รายงานลงโปรแกรม ออนไลน์การประเมินผล คุณภาพกิจกรรมการหักภาษีณที่จ่าย 2)วิเคราะห์หนี้ครัวเรือนครั้งที่ 1 โดยการร่วมกันวิเคาระห์หนี้สินในแต่ละครัวเรือนและร่วมกันแสดงความคิดเห็นในการ่วมกันหาทางเพื่อลดค่าใช้จ่ายที่ไม่จำเป็น 3)จัดทำบัญชีครัวเรือน ครั้งที่ 1 โดยมีวิทยากรมาให้ความรู้ในการทำบัญชีครัวเรือนและได้ฝึกหัดการทำบัญชีครัวเรือนและได้ให้กลับไปทำที่บ้าน 4) จัดทำแผนครัวเรือนลดหนี้ ครั้งที่ 1ครัวเรือนที่เข้าร่วมกิจกรรม โดยครัวเรือนร่วมกันวางแผนว่าครัวเรือนตนเองจะลดหนี้ได้อย่างไร อะไรคือปัญหาความฟุ่มเฟือยในครัวเรือนเพื่อจะได้ลดในสิ่งที่ไม่จำเป็น
  3. การชี้แจงการปิดงบประมาณงวดที่1 ให้แกนนำรับทราบคือจะปิดวงดที่ 1ในวันที่ 13-14ก.พ.2559 ที่มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 30 คน จากที่ตั้งไว้ 30 คน
ประกอบด้วย

ประชาชนที่เข้าร่วม ผู่ใหญ่บ้านและคณะกรรมโครงการ

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นายยงยุทธ์ สุขพิทักษ์
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

จัดทำแผนครัวเรือนลดหนี้ ครั้งที่ 130 ธันวาคม 2558
30
ธันวาคม 2558รายงานจากพื้นที่ โดย ณัฐชยา รัตนพันธ์
circle
วัตถุประสงค์

แก้ปัญหาของตนเอง(ผู้เข้าร่วมโครงการ)

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

09.30น.-10.00น. ลงทะเบียน

10.00น. อาหารพร้อม และมาชี้แจงกิจกรรมที่จะทำกันครั้งนี้ โดยคณะทำงานโครงการ และผู้เข้าร่วมโครงการช่วยกัน เรื่องหนี้สินและจัดการแก้ปัญหาหนี้สินเพื่อส่งเสริมและคุยกันจะจัดกิจกรรมเรียนรู้ การนำวัสดุในครัวเรือนแลผลผลิตทีมีในชุมชน มาเพิ่มมูลค่าให้ครัวเรือน

12.00น. พักรับประทานอาหาร

13.00น. หนี้การศึกษาของบุตร เช่น ส่งลูกเรียนเอกชน หนี้จากผลผลิตตกต่ำ เกิดจากสภาพดินฟ้าอากาศ หนี้ใช้จ่ายฟุ่มเฟือย เช่น ซื้อโทรศัพท์ ซื้อรถยนต์ และหนี้การพนัน หนี้ที่เกิดจากการใช้ในครัวเรือน เช่น การที่ราคาผลผลิตตกต่ำ รายจ่ายมากกว่ารายได้

บันทึกผลการพูดคุยวันนี้ผู้รับผิดชอบโครงการและเจ้าหน้าที่จากสหกรณ์ ได้เล่าให้ฟังสถานการณ์หนี้สินของคนไทยและภาคใต้ ดังนี้
ในช่วงปี 2557 – 2558 ระยะเวลา 2ปีที่ผ่านมา ระดับหนี้ครัวเรือนของไทยปรับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง จนก่อให้เกิดความกังวลว่าหนี้ที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วอาจจะสร้างปัญหาต่อระบบเศรษฐกิจได้ โดยพบว่าระดับหนี้ครัวเรือนของไทยเพิ่มขึ้นจากปี 2554 ที่ร้อยละ 70.4 ต่อ GDP เป็นร้อยละ 82.3 ต่อ GDP ในปี 2556 และหากพิจารณาในมิติของแต่ละครัวเรือนแล้ว ก็มีแนวโน้มสูงขึ้นอย่างสอดคล้องกัน อย่างไรก็ตาม การวิเคราะห์ฐานะการเงินของครัวเรือนไม่สามารถพิจารณาด้านหนี้สินเพียงอย่างเดียว แต่จะต้องวิเคราะห์ด้านรายได้ การออม สินทรัพย์ สาเหตุการก่อหนี้ และความสามารถในการชาระหนี้ประกอบด้วย จึงจะสามารถวิเคราะห์ได้ว่าปัญหาหนี้ครัวเรือนไทยเข้าขั้นวิกฤติหรือไม่ทั้งนี้ หนี้ครัวเรือนที่มีแนวโน้มสูงขึ้นเป็นปัจจัยเสี่ยงต่อเสถียรภาพเศรษฐกิจและการเงินได้ โดยเฉพาะในช่วงเศรษฐกิจชะลอตัวอย่างในปัจจุบันย่อมกระทบต่อรายได้ของภาคครัวเรือน ทาให้การบริโภคและความสามารถในการชาระหนี้ลดลง จนอาจกลายเป็นหนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ และส่งผลกระทบต่อเสถียรภาพของระบบสถาบันการเงินและเศรษฐกิจมหภาคได้ในที่สุดดังนั้น จะเห็นว่าปัญหาหนี้ครัวเรือนเป็นปัญหาสาคัญที่ไม่ควรมองข้ามตั้งแต่ปี 2554 สัดส่วนครัวเรือนที่เป็นหนี้ของภาคใต้อยู่ที่ระดับร้อยละ 47.3 ลดลงจากร้อยละ 54.8 ในปี 2552 เนื่องจากราคาสินค้าเกษตรสาคัญของภาคใต้อย่างยางพารา และปาล์มน้ามัน ปรับตัวสูงขึ้นมาก ส่งผลให้รายได้เกษตรกรเพิ่มสูงขึ้นอย่างชัดเจนต่อมาปี 2556 สัดส่วนครัวเรือนที่มีหนี้กลับปรับเพิ่มขึ้นอีกครั้งมาอยู่ที่ระดับร้อยละ 48.1 เป็นผลจากการชะลอตัวของเศรษฐกิจ และส่งผลต่อพวกเราโดยตรงคือ ราคายางพาราตกต่ำ ทำให้มีหนี้สินเฉลี่ยต่อครัวเรือนเพิ่มขึ้นถึงระดับ 134,893 บาท

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. ผู้เข้าร่วมโครงการ80คน
  2. มีการยอมรับกันมากขึ้นเพราะผู้เข้าร่วมกิจกรรม กล้าบอกหนี้สินของตนเอง กล้าเปิดเผยปัญหาซึ่งกันและกัน โดยจะให้คนอื่นร่วมวางแผนในการลดค่าใช้จ่ายที่เกินความจำเป็นที่ฟุ่มเฟือย
  3. มีการร่วมกันแลกเปลี่ยน และหาทางออกในการลดค่าใช้จ่ายในครัวเรือน เช่น ค่าเสื้อผ้า ค่าโทรศัพท์ ค่าบุหรี่ ค่าหวย ก็ให้ลดในการจ่าย เพราะเป็นสิ่งที่ไม่จำเป็นมากเท่าไหร่
  4. มีแนวทางการบริหารจัดการหนี้ระดับครัวเรือน

แนวทางการลดหนี้และบริหารจัดการหนี้ครัวเรือน
จากการพูดคุย ประชาชนให้ความเห็นตรงกัน ว่า เราควรบริหารจัดการหนี้ มีแนวคิดดังนี้

1) หาแหล่งรายได้ที่หลากหลาย เป็นการลดการพึ่งพารายได้เพียงแหล่งเดียว การมีรายได้ที่หลากหลายเป็นการกระจายความเสี่ยงจากการสูญเสียรายได้จากแหล่งใดแหล่งหนึ่ง และทำให้ครัวเรือนยังคงมีความสามารถในการชาระหนี้ได้ดี
2) การลดค่าใช้จ่ายที่ไม่จำเป็น เป็นการสร้างวินัยทางการเงิน โดยเริ่มต้นจากการทำบัญชีครัวเรือน ซึ่งทำให้สามารถลดทอนค่าใช้จ่ายฟุ่มเฟือยและนำเงินส่วนที่เหลือมาชำระหนี้สินของครอบครัวได้
3) การสร้างวินัยในการออม หากครัวเรือนมีการออมและสะสมความมั่งคั่งเพียงพอต่อการใช้จ่ายในยามจำเป็นจะสามารถลดการพึ่งพาการกู้ยืมได้

4) การไตร่ตรองก่อนก่อหนี้ โดยพิจารณาถึงความจำเป็นในการก่อหนี้ และไตร่ตรองให้รอบคอบว่าหนี้ใดก่อให้เกิดประโยชน์ในอนาคต และลำดับความสาคัญของการก่อหนี้ก่อนการกู้ยืม ซึ่งทำให้ครัวเรือนสามารถบริหารหนี้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 80 คน จากที่ตั้งไว้ 80 คน
ประกอบด้วย

กลุ่มแกนนำ/ประชาชนทั่วไป/ผู้เข้าร่วมโครงการ

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

การไม่เข้าใจของแกนนำบางคนถึงการทำกิจกรรมนี้ จะมีผลกับการลดรายจ่ายอย่างไร

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นายยงยุทธ์ สุขพิทักษ์
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

จัดทำบัญชีครัวเรือน ครั้งที่ 123 ธันวาคม 2558
23
ธันวาคม 2558รายงานจากพื้นที่ โดย ณัฐชยา รัตนพันธ์
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อมีความรู้ความเข้าใจในการทำบัญชี

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

วันนี้เป็นกิจกรรมจัดทำบัญชีครัวเรือนครั้งที่ 1
09.00-09.30น. ลงทะเบียน 09.40-12.00น. นางสาวสุธสา จันทร์ปรุง นักวิชาการเกษตรชำนาญการวิทยากรผู้จะมาให้ความรู้การทำบัญชีครัวเรือน มาทำความเข้าใจกับผู้เรียนรู้ และสอนให้เห็นความสำคัญของการทำบัญชีครัวเรือนการทำบัญชี คือ การจดบันทึกข้อมูลเกี่ยวกับการใช้จ่ายเงินในการดำรงชีวิตของตัวเอง และภายในครอบครัวข้อมูลที่ได้จากการบันทึกจะเป็นตัวค่าใช้จ่ายที่จ่ายไปในแต่ละวันแต่ละ สัปดาห์แต่ละเดือน จะเป็นประโยชน์ต่อการวางแผนชีวิตและกิจกรรมต่างๆในชีวิต ในครอบครัวจะเป็นการการจดบันทึกรายการเกี่ยวกับการเงินทุกรายการ ทั้งที่ได้รับเข้ามาและที่ต้องจ่ายออกไปในแต่ละวัน

การทำบัญชีบันทึกรายรับ – รายจ่าย เป็นการบันทึกรายรับรายจ่ายของแต่ละวัน เปรียบเสมือนเป็นการวางแผนการเงินใช้จ่ายให้ถูกวิธี และทำให้ตัวเราเองเป็นคนที่มีระเบียบวินัยเพิ่มมากขึ้น จะได้งดรายจ่ายที่ไม่จำเป็น และสอนให้รู้ถึงประโยชน์ของการทำบัญชี

การทำบัญชีบันทึกรายรับ-รายจ่าย ประจำวัน ท่านสามารถแบ่งแยกเป็นตารางที่มีส่วนประกอบ ได้ดังนี้ รายรับ คือรายรับที่เราได้รับมาเช่นเงินเดือน ค่าขายของได้พ่อแม่ให้เงินมาจ่ายค่าขายผลผลิตทางการเกษตรได้เงินที่ได้จากการขายสินค้าเงินทีได้ จากการทำงาน เป็นต้นส่วนรายจ่ายคือสิ่งที่เราต้องจ่ายออกไปทั้งหมดเช่น ค่าอาหาร ค่าเชื้อเพลิงรถค่าปุ๋ย ค่าเทอมให้ลูก ค่าโทรศัพท์ค่าเสื้อผ้า ค่านำ้ค่าไฟ เป็นต้น ส่วนประโยชน์ของการทำบัญชีครัวเรือน 1.เพื่อจดบันทึกรายการการดำเนินกิจการเรียงลำดับก่อนหลัง ในเรื่องของการใช้จ่ายเงินในแต่ละวัน 2.ง่ายต่อการตรวจสอบการจ่ายเงิน ก็คือเราได้รู้ว่าเงินของเราได้จ่ายอะไรไปบ้างได้รับจากส่วนไหนบ้างรับมาเท่าไหรถือว่า 3. เพื่อควบคุมค่าใช้จ่ายภายในครัวเรือน 4. เพื่อรู้รับ-รู้จ่าย-รู้เก็บ..ไม่อด “จดแล้วไม่จน” จะได้มีเงินออมไว้ด้วย 5. เพื่อรับรู้รายได้และรายจ่ายที่แน่นอน รวมทั้งทราบค่าใช้จ่าย ที่ฟุ่มเฟือยค่าใช้จ่ายที่ไม่จำเป็น จะได้รู้และจะได้ลดในสิ่งที่ไม่จำเป็น และหยุดพักรับประธาน0อาหารว่างหลังจากนั้นก็เป็นบทเรียนและสอนบัญชีการทำเกษตรแยกบัญชีครัวเรือน คณะวิทยากรสอนให้ผู้เรียนรู้ทำบัญชีง่ายๆ ของผู้เข้าเรียนรู้ และมาเรียนรู้ถึงหลักการทำบัญชีรับ-จ่าย

12.00น. พักรับประทานอาหาร 13.00น.ภาคบ่าย ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้ฝึกการทำบัญชีครัวเรือน อย่าง่าย ทำบัญชีจริง โดยคณะวิทยากรให้ทำบัญชีครัวเรือนใน วันที่ผ่านมาหรือใครอาจจะทำในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็ได้ฝึกกันทำทุกคน หลังจากที่ทุกคนเข้าใจ และได้ลองฝึกหัดทำแล้ว วิทยากรก็ฝากให้ทุกคนได้กลับไปทำที่บ้าน แล้วค่อยมาเรียนรู้กันว่าไปทำมาแล้วมาสรุปกันแต่ละครัวเรือนนั้นมีการใช้จ่ายเป็นไงบ้างสิ่งไหนเป็นสิ่งที่ฟุ่มเฟือยไม่จำเป็นหรือสิ่งไหนเป็นสิ่งที่จำเป็นและหลังจากนั้นผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้ร่วมกันถ่ายรูปกับวิทยากร 15.00น. ปิดประชุม

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. ผู้เข้าร่วมกิจกรรม150คน
  2. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้เรียนรู้ถึงประโยชน์ในการทำบัญชีครัวเรือนเพราะจะได้รู้รายรับรายจ่ายของครัวเรือน
  3. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้ฝึกหัดการทำบัญชีครัวเรือนของแต่ละบ้าน
  4. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความสนใจที่จะทำบัญชีครัวเรือนเพราะจะได้รู้ การใช้จ่ายเงินในครัวเรือนสิ่งไหนที่ไม่จำเป็นหรือจำเป็นที่จะใช้จ่ายและจะได้มีเงินออมเก็บไว้ด้วย

การทำบัญชีครัวเรือนนั้น ทำให้เรารู้การใช้จ่ายของเราในแต่ละเดือน ช่วยให้สามารถตัดรายจ่ายที่ไม่จำเป็นในออกไปได้ทำให้มีเงินเหลือมากขึ้น เช่น ค่าบุหรี่ค่าซื้อหวยค่าโทรศัพท์ เป็นตันและทำให้รู้จักคิดให้รอบคอบก่อนจะใช้จ่ายอะไร จะได้รู้ว่าอะไรที่ไม่จำเป็นหรือจำเป็นที่จะต้องใช้ และจะได้มีเงินเหลือ เก็บไว้เป็นเงินออม เก็บไว้ใช้จ่ายยามจำเป็นอีกด้วย

หลักการทำบัญชีรับ-จ่าย

  • จัดทำแบบฟอร์มบัญชีรับจ่ายอย่างง่าย ให้สะดวกต่อการจดบันทึก - จดบันทึกรายการเรียงลำดับตามเหตุการณ์ที่เป็นจริงที่เกิดขึ้นในแต่ละอย่าง ในแต่ละวัน
  • สรุปยอดเงินรายรับรายจ่าย ประจำวัน เปรียบเทียบผลการดำเนินกิจการประจำวัน
  • ยอดเงินคงเหลือจะได้เป็นเงินออมส่วนหนึ่งเพื่อเก็บไว้ใช้จ่ายในยามจำเป็น
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 150 คน จากที่ตั้งไว้ 80 คน
ประกอบด้วย

สมาชิกสหกรณ์ ประชาชนที่สนใจการทำบัญชี บัญชีสหกรณ์จังหวัด ผู้ใหญ่บ้าน นักวิชาการเกษตรอำเภอ พนักงานสหกรณ์

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ผู้เข้าร่วมกิจกรรมบางคนเป็นผู้สูงอายุอาจเขียยนไม่ค่อยเห็นแก้ไข โดยการให้ลูกหลาน ช่วยเขียนให้

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นายยงยุทธ์ สุขพิทักษ์
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

วิเคราะห์หนี้ครัวเรือน ครั้งที่ 117 ธันวาคม 2558
17
ธันวาคม 2558รายงานจากพื้นที่ โดย ณัฐชยา รัตนพันธ์
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อให้ผู้เข้าร่วมทราบถึงสาเหตุที่มีหนี้สินและวิธีการลดหนี้สินครัวเรือน

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

วันนี้เรียนรู้การวิเคราะห์หนี้ครัวเรือน โดยเริ่มเวลา 9.30-10.30น. ชาวบ้านลงทะเบียนที่บ้านผู้ใหญ่ จากนั้นก็แบ่งกลุ่มช่วยกันวิเคราะห์การเกิดหนี้ของแต่ละคนในชาวบ้านที่เข้าร่วมประชุม และแลกเปลี่ยนข้อมูลที่ได้ไปสำรวจมาแต่ละครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการฯ เพื่อเป็นตัวอย่างในชุมชนต่อไป

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลการวิเเคราะห์หนี้ครัวเรือน จากการพูดคุยกับประชาชนถึง สาเหตุสำคัญของการก่อหนี้สินคือ

  1. ความอยากมี อยากได้ เกิดกิเลส รสนิยมสูงเกินกว่ารายได้ คือการก่อหนี้สินที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ กับวัตถุ และค่านิยม กับกระแสทางการตลาดที่คอย ออกผลิตภัณฑ์ สินค้าใหม่ๆ ทำให้เกิดความอยากสุดท้ายต้องก่อหนี้สินเพื่อสนองความต้องการความอยากของตนเอง
  2. อีกสาเหตุคือค่านิยมทางสังคมที่ผิดๆ เข้าทำนองเห็นช้างขี้แล้วอยากขี้ตามบ้าง เห็นคนอื่นเขา ซื้อทรัพย์สินใหม่ๆ ก็อยากซื้อตามเขาโดยไม่ดูตัวเองว่า เขาซื้อเพราะพื้นฐานครอบครัวที่ดี หรือคนรวย สามารถซื้อทรัพย์สินต่างๆได้ด้วยเงินสดไม่ต้องเสียดอกเบี้ย แต่การซื้อตามเขาต้องก่อหนี้สิน กู้ยืมเงินมาซื้อซึ่งต้องมีภาระการจ่ายดอกเบี้ยและผ่อนชำระเป็นช่วงระยะเวลาหนึ่งกว่าจะหมด
  3. การไม่รู้จักตัวเองรายได้ต่ำ รสนิยมสูง เพราะอยากได้-อยากมีเกินตัวคือ อยากไม่รู้จบ อันนั้นก็อยากมี อันนี้ก็อยากได้วิธีแก้ก็คือ พยายามลดความต้องการ ใช้ความอดทนมากๆ
  4. หลายคนยอมเป็นหนี้เพราะสามารถเห็นโอกาสในอนาคตคือ เมื่อมีการลงทุนแล้วคำนวณ คาดว่าหากขยายกิจการยอมเป็นหนี้ในวันนี้ แต่สามารถคืนเงินได้แน่แล้วที่เหลือก็จะกำไรล้วนๆต่อไปในอนาคต เมื่อเศรษฐกิจไม่ดีทำให้เป็นหนี้เพิ่มเติม
  5. เป็นหนี้ภาคบังคับ เห็นบ่อยและมีเยอะ ในกลุ่มเกษตรกรหรือนักเรียน นักศึกษา รัฐมักจะบังคับให้กู้เงิน เพื่อนำมาลงทุนเวลาเกิดภัยพิบัติทางธรรมชาติ เพื่อฟื้นฟู ไร่ นา สวน และทำให้เป็นหนี้ต่อๆ กันไปเรื่อย

วิธีการแก้

  1. ปัญหาความอยากมีอยากได้ และค่านิยมทางสังคมที่ผิดๆ ให้เรียนรู้ความเพียงพอ ทำบัญชีครัวเรือน ลดรายจ่าย
  2. การแก้ภาวะที่ตกอยู่ในปัญหาหนี้สิน วิธีการแก้ไขปัญหาหนี้สินที่ดี คือการป้องกันไม่ให้เกิดหนี้หรือก่อหนี้ โดยหยุดความอยาก มีอยากได้ และหยุดค่านิยมทางสังคมที่ผิดๆ
  3. ยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียงดีที่สุด

สรุปผลการดำเนินงานตามกิจกรรมโครงการ สรุปว่า

  1. ชุมชนเข้าร่วมกิจกรรมวิเคราะห์หนี้ 80 คน และได้ร่วมกันสรุปแนวทางการเกิดหนี้ในระดับครัวเรือน
  2. ได้ร่วมกันกำหนดแนวทางการลดหนี้ระดับครัวเรือน
  3. กลุ่มเป้าหมายได้เรียนรุู้และเข้าใจเส้นทางการเกิดหนี้ครัวเรือน
  4. จากการเชิญครัวเรือนเข้าร่วมโครงการฯ ได้มีการแบ่งกลุ่มแลกเปลี่ยนข้อมูลเหตุของการเกิดหนี้ โดยชาวบ้านให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 80 คน จากที่ตั้งไว้ 60 คน
ประกอบด้วย

ผู้นำชุมชนตัวแทนครัวเรือนสมาชิกสหกรณ์ สมาชิกกองทุน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นายยงยุทธ์ สุขพิทักษ์
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

กิจกรรมการพัฒนาศักยภาพโครงการในการบันทึกเวปไซด์และทำรายงาน สังเคราะห์ข้อมูล7 ธันวาคม 2558
7
ธันวาคม 2558รายงานจากพี่เลี้ยง โดย yongyut
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อพัฒนาศักยภาพโครงการในการบันทึกข้อมูล

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

วันนี้พี่เลี้ยง สจรส.มอ. ร่วมกับพี่เลี้ยงจังหวัดนครศรีธรรมราชได้มาสอนการเขียนรายงานและการจัดทำรายงานการเงิน 1.การเขียนรายงานต้องมีการเตรียมอุปกรณ์เครื่องเขียน การเขียนรายงานมีทั้งการบันทึก การทำ mind map สอนให้เขียนผลลัพธ์ ผลผลิต วิธีการจะได้มาซึ่งผลงาน ต้องทำการสนทนากลุ่ม มีการวิเคราะห์ผล การรวบรวมและต้องมีการบันทึกข้อมูลการเขียนรายงานเพื่อป้องกันความผิดพลาด วิธีการที่ที่สุดในการเขียนผลลัพธ์คือการถอดบทเรียนในการดำเนินงาน 2.การเขียนรายงานเวปไซด์ ให้ทุกโครงการเข้าไปทำการ log in เข้าโปรแกรม ไปโครงการในความรับผิดชอบ และไปเมนู รายงานผู้รับผิดชอบ ให้ไปคลิกบันทึกซึ่งมีการจัดทำปฏิทินโครงการไว้แล้วให้บันทึกชื่อกิจกรรม วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมายและขั้นตอนการทำงานให้บรรยายให้ละเอียด เล่าถึงกระบวนการทำงานผลลิตที่ได้ หรือสิ่งทีเกิดจากการดำเนินกิจกรรมครั้งนี้ และงบประมาณในการดำเนินงาน
3.การโหลดภาพกิจกรรม ให้โหลดภาพประมาณ 5 ภาพในการทำกิจกรรม การถ่ายภาพให้สื่อถึงกิจกรรมที่ดำเนินงาน 4.ผลผลิต เป็นผลทีเกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรมครั้งนั้น เช่น ผู้เข้าร่วมประชุมกี่คน ผู้ผ่านการอบรมกี่ครั้ง ครัวเรือนปลูกผักไว้กินเองกี่ครัวเรือน
5.ผลลัพธ์ เป็นการเปลี่ยนแปลงไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังการอบรมมีประชาชนเปลี่ยนพฤติกรรมกี่คน
6.การเขียนให้เชื่อมโยงสุขภาวะ เป็นการเชื่อมโยงภาวะของมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งกาย จิต ปัญญาและสังคม เชื่อมโยงเป็นองค์รวมอย่างสมดุล โดยครอบคลุมไม่เพียงเฉพาะบุคคล แต่ครอบคลุมไปยังครอบครัว ชุมชนและสาธารณะ การจัดทำรายงานการเงิน ให้คำนึงดังนี้
1.ถ้ามีการจ้างทำอาหาร เอกสารที่ควรมีประกอบด้วยรายชื่อคนเข้าร่วมกิจกรรม ใบสำคัญรับเงิน ใบเสร็จ สำเนาบัตรประชาชน เอกสารหักภาษีภาพถ่ายและรายงานกิจกรรม 2.ค่าตอบแทนวิทยากร ถ้าเกิน 1000 บาทให้หักภาษีด้วย 3.ค่าจ้างทำป้าย ให้ใช้ใบเสร็จจากทางร้าน

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต 1.กลุ่มเป้าหมาย 2 คน ได้เรียนรู้การเขียนรายงาน การทำรายงานการเงิน 2.กลุ่มเป้าหมาย ได้เรียนรู้วิธีการเขียนผลลัพธ์และผลผลิต 3.กลุ่มเป้าหมายได้เรียนรู้วิธีการเขียนหลักฐานทางการเงิน

ผลลัพธ์ 1.กลุ่มเป้าหมายได้ฝึกการจัดเอกสารและมีการปรับแก้ให้ถูกต้อง
2.กลุ่มเป้าหมายเข้าใจและสามารถสอนทีมงานได้

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 2 คน จากที่ตั้งไว้ 2 คน
ประกอบด้วย

ตัวแทนโครงการเข้าร่วมประชุม 2 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

การติดตาม สจรส.มอ. ครั้งที่ 27 ธันวาคม 2558
7
ธันวาคม 2558รายงานจากพื้นที่ โดย ณัฐชยา รัตนพันธ์
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อให้เข้าใจในการทำบัญชีและเอกสารกิจกรรมแต่ละครั้งเพื่อส่งกลับสจรส.มอ.

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

ไปพบ สจรส.มอ. ที่มหาวิทยาลัยทวลัยลักษณ์ ตึกรวม 5 ได้เรียนรู้ 1.การเขียนรายงาน และการเงิน -การบันทึก รายงานลงโปรแกรม ออนไลน์ -การประเมินผล คุณภาพกิจกรรม 2.การเก็บรวบรวม รายงานใน 1กิจกรรม เอกสาร: -รายชื่อ ผู้เข้าร่วมโครงการฯ -ใบสำคัญรับเงิน 1ใบ จากทางร้าน -สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน ผู้รับเหมา 1คน 2.2เอกสารทางภาษี 2.3รายงาน(บันทึกการทำกิจกรรม) 3.การหักภาษีหัก ณ ที่จ่าย -การหักภาษี ณ ที่จ่าย -ออกหนังสือรับรองการหัก ณ ที่จ่าย -ออกรายงานยืนแบบ ภงด.3
-นำส่ง ภงด.3 ภายในวันที่ 7ของเดือนถัดไป

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

สรุปผลการดำเนินงานตามกิจกรรมโครงการ สรุปว่า ผลผลิต

  1. ตัวแทนโครงการเข้าร่วมกิจกรรม 2 คน
  2. ได้ฝึกการบันทึกลงเวปไซด์ 1 กิจกรรม
  3. ได้ฝึกทำบัญชีเงินสดและการจ่ายภาษี ณ ที่จ่าย 1 ชุด

ผลลัพธ์

  1. มีความรู้และเข้าใจมากขึ้นเกี่ยวกับการเขียนผลลัพธ์ ผลผลิตจากการทำกิจกรรม
  2. มึความรู้และเข้าใจเรื่องภาษีและสามารถบันทึกข้อมูลภาษีได้
  3. มีความรู้ความเข้าใจมากขึ้นในการบันทึกกิจกรรมเข้าเว็บไซต์และบันทึกภาพในเว็บไซต์
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 2 คน จากที่ตั้งไว้ 2 คน
ประกอบด้วย

ผู้รับผิดชอบโครงการและคณะกรรมโครงการ

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ในการลงบันทึกข้อมูลในเว็บไซต์ยังไม่ค่อยถนัดมากแก้ไขโดยต้องฝึกและทำความเข้าใจให้มากขึ้น

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นายยงยุทธ์ สุขพิทักษ์
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

สภาผู้นำบ้านทรายขาว ครั้งที่ 414 พฤศจิกายน 2558
14
พฤศจิกายน 2558รายงานจากพื้นที่ โดย ณัฐชยา รัตนพันธ์
circle
วัตถุประสงค์

ได้สภาผู้นำที่เข็มแข็ง

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

วันนี้เป็นกิจกรรมประชุมสภาครั้งที่4
วาระที่1 แจ้งเพื่อทราบ นายสหพัฒน์ สุขอนันต์ ได้กล่าวชี้แจงในที่ประชุมติดตามกิจกรรมในครั้งที่ผ่านมา คือ ได้จัดทำป้ายโครงการ ผังฟาร์มลดรายจ่ายที่บ้านทรายขาวเพื่อใช้ป้ายในการประชาสัมพันธ์โครงการและได้จัดทำป้ายเขตปลอดบุหรี่เพื่อใช้ติดในที่ประชุมเพื่อเป็นการรณรงค์การงดสูบบุหรี่และกิจกรรมสำรวจข้อมูลครัวเรือนและหนี้สินของครัวเรือนซึ่งคณะทำงานก็ได้สำรวจไปแล้วจำนวน 266หลังคิดเป็นร้อยละ 75 % และยังเหลืออีก 114ครัวเรือนมติที่ประชุม รับทราบ วาระที่2 กำหนดหน้าที่รับผิดชอบ นายสหพัฒน์ สุขอนันต์ ได้กำหนดหน้าที่รับผิดชอบ 1.นายประจวบ รักบ้าน รับผิดชอบสถานที่ประชุมสถานที่ในการจัดกิจกรรม 2.นายสหพัฒน์ สุขอนันต์ รับผิดชอบประชาสัมพันธ์โครงการ ประชาสัมพันธ์กิจกรรมต่างๆที่จะทำ
3.นางเยาวภา คำแหง รับผิดชอบติดต่อและประสานงานกับวิทยากรในการมาอบรมให้ความรู้ ในเรื่องต่างๆในโครงการ 4.นางสำเร็จ สุชาติพงศ์ รับผิดชอบเอกสาร เอกสารในการลงทะเบียนรายชื่อเอกสารด้านการเงินเอกสารที่จะต้องใช้ในกิจกรรมต่างๆ 5.นส.วีรศยา รัตนบุรี รับผิดชอบอาหารในการจัดการแระชุมการทำกิจกรรมต่างๆในโครงการ มติที่ประชุม รับทราบ วาระที่3 แจ้งเพื่อทราบกิจกรรมในครั้งต่อไป นายสหพัฒน์ สุขอนันต์ ชี้แจงให้ทราบกิจกรรมในครั้งต่อไปคือกิจกรรมการติดตามดครงการจาก สจรส.มอ.และพี่เลี้ยงที่มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์เพื่อให้เข้าใจในการทำบัญชีและเอกสารกิจกรรมแต่ละครั้งเพื่อส่งกลับสจรส.มอ.รวมถึงการติดตามความก้าวหน้าของโครงการ ในวันที่7ธันวาคม2558กิจกรรมการวิเคราะห์หนี้ครัวเรือน ครั้งที่ 1ในวันที่ 17ธันวาคม 2558 มติที่ประชุม รับทราบ กิจกรรมการเรียนรู้การทำบัญชีครัวเรือนครั้งที่ 1ในวันที่23ธันวาคม2558และยังฝากให้ผู้ที่ได้รับผิดชอบหน้าที่ตามที่ได้รับมอบหมายให้ช่วยทำหน้าที่อย่างเต็มที่และทุกคนก็สามารถช่วยกันในแต่ฝ่ายได้

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม30คน
  2. การกำหนดหน้าที่รับผิดชอบในแต่ละคน
  3. ได้กำหนดกิจกรรม 1)การติดตามโครงการจาก สจรส.มอ.และพี่เลี้ยงที่มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ในวันที่7ธันวาคม2558 2)กิจกรรมการวิเคราะห์หนี้ครัวเรือน ครั้งที่ 1ในวันที่ 17ธันวาคม 2558 มติที่ประชุม รับทราบ 3) กิจกรรมการเรียนรู้การทำบัญชีครัวเรือนครั้งที่ 1ในวันที่23ธันวาคม2558
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 30 คน จากที่ตั้งไว้ 30 คน
ประกอบด้วย

กลุ่มแกนนำ 30คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นายยงยุทธ์ สุขพิทักษ์
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

สำรวจข้อมูลครัวเรือน(หนี้สิน)31 ตุลาคม 2558
31
ตุลาคม 2558รายงานจากพื้นที่ โดย ณัฐชยา รัตนพันธ์
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อประชาชนลดรายจ่าย

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

วันนี้เป็นกิจกรรมสำรวจข้อมูลหนี้สินครัวเรือนในชุมชนโดยได้นัดพบเพื่อเตรียมความพร้อมและชี้แจงกันอีกครั้งก่อนลงสำรวจจริง โดยนำแบบสอบถามที่ได้ร่วมกันออกแบบมาสำรวจ ซึ่งได้แบ่งกลุ่มคณะทำงานออกเป็นกลุ่มกลุ่มละ5คน ในการสำรวจทำการสำรวจข้อมูล 380ครัวเรือน ซึ่งจะใช้เวลา1เดือน ในการสำรวจข้อมูลซึ่งในแต่ละกลุ่มก็จะช่วยกันสำรวจข้อมูลและจะนำข้อมูลที่เก็บรวบรวมได้มาทำการวิเคราะห์แยกออกเป็นหมวดหมู่ เพื่อสรุปทำเป็นข้อมูลคืนให้กับชุมชนต่อไป และหลังจากนั้นนางเยาวภาคำแหงผู้รับผิดชอบโครงการก็ได้ให้กำลังใจกับคณะทำงานทุกคนให้มีความมุ่งมั่นตั้งใจในการทำงานเพื่อจะเป็นส่วนหนึ่งในการร่วมกันพัฒนาชุมชนซึ่งจะทำให้พวกเรามีความภาคภูมิใจในการทำงานและพัฒนาชุมชนพัฒนาบ้านเกิดของตนเอง หลังจากนั้นก็ได้ออกไปสำรวจแบ่งตามโซนที่ได้แบ่งไว้ให้สำรวจให้เสร็จในเวลา1เดือน และก็นัดกิจกรรมครั้งต่อไปในวันที่ 14 พ.ย. 2558 กิจกรรมสภาผู้นำบ้านทรายขาว ครั้งที่ 4

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. มีการแบ่งกลุ่มสำรวจเป็น 5กลุ่ม
  2. มีฐานข้อมูลในชุมชนเพื่อจะใช้เป็นข้อมูลในการพัฒนาต่อไป
  3. คณะทำงานมีความสามัคคีช่วยเหลือกันในการทำงาน เช่นในเวลาลงสำรวจข้อมูลก็จะช่วยกันสอบถามในแต่ละครัวเรือน
  4. คณะทำงานยังต้องทำความเข้าใจกับชาวถึงการสำรวจข้อมูลจะเกี่ยวข้องอย่างไรกับการลดรายจ่ายแก้ไขโดยต้องทำความเข้าใจประชาชนให้ทราบถึงการสำรวจข้อมูลเพื่อจะได้นำข้อมูลไปสรุปเป็นภาพรวมของหมู่บ้านและก็จะคืนข้อมูลให้ชุมชนทราบต่อไป
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 150 คน จากที่ตั้งไว้ 150 คน
ประกอบด้วย

กลุ่มเยาวชน อสม. ผู้สูงอายุ และประชาชนในหมู่บ้าน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

 

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นายยงยุทธ์ สุขพิทักษ์
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

สภาผู้นำบ้านทรายขาว ครั้งที่ 325 ตุลาคม 2558
25
ตุลาคม 2558รายงานจากพื้นที่ โดย ณัฐชยา รัตนพันธ์
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อวางแผนการทำกิจกรรมและติดตามการดำเนินกิจกรรม

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

วาระที่1 นายสหพัฒน์ สุขอนันต์ ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่1 ต.เขาขาว อ.ทุ่งสง เปิดประชุม ชี้แจงติดตามงานในครั้งที่ผ่านมา มติที่ประชุม รับทราบ วาระที่2 การับสมัครสมาชิกใหม่ นายสหพัฒน์ สุขอนันต์ ผู้ใหญ่บ้านได้ชี้แจงรายละเอียดการทำงานในโครงการ และเปิดรับสมาชิกเข้าร่วมโครงการ 60คน มติที่ประชุม รับทราบ วาระที่3 กำหนดหน้าที่รับผิดชอบ นายสหพัฒน์ สุขอนันต์ ได้กำหนดหน้าที่ให้กับแกนนำ แบ่งทีมลงสำรวจข้อมูลตามบ้านเรือนต่างๆ ในชุมชน โดยแบ่งเป็น 5 กลุ่มๆละ 2คน มติที่ประชุม รับทราบ วาระที่4 การกำหนดแบบสอบถาม คณะทำงานร่วมกันคุยกันเพื่อออกแบบแบบสำรวจข้อมูล ที่จะใช้สำรวจข้อมูลในชุมชน โดยการแสดงความคิดเห็นมาว่าจะเก็บข้อมูลเกี่ยวกับอะไรบ้าง ซึ่งจากการได้พูดคุยกัน ข้อมูลที่จะสำรวจก็จะประกอบด้วย -ข้อมูลพื้นฐานของครัวเรือน –ข้อมูลเกี่ยวกับรายได้รายรับ -และจะขอความร่วมมือจากเจ้าหน้าที่สหกรณ์ในการสำรวจหนี้สินของครัวเรือน -ข้อมูลสถานะสุขภาพ
คณะทำงานร่วมทำการเก็บแบบสำรวจ โดยแบ่งออกเป็นกลุ่มๆ ในการออกสำรวจข้อมูลในชุมชนและหลังจากได้ข้อมูลแล้วก็จะนำมาวิเคราะห์ซึ่งการวิเคราะห์ข้อมูลจะนำข้อมูลที่เก็บจากการสำรวจ มานั่งวิเคราะห์แยกเป็นรายข้อหนี้สินอะไรมากที่สุด อะไรน้อย มีการฟุ่มเฟือยมากแค่ไหน แยกเป็นรายได้ ทำให้ได้ทราบสถานะสุขภาพ ภาพรวมของหมู่บ้านและข้อมูลที่เป็นปัญหาหนี้สินเมื่อได้วิเคราะห์ข้อมูลก็จะนำข้อมูลมานำเสนอเป็นแผ่นพับ เพื่อแจกจ่ายข้อมูลให้กับทุกครัวเรือน ได้รับทราบสถานะสุขภาพของชุมชนตนเอง เป็นการสร้างความตระหนักร่วม และกิจกรรมครั้งต่อไปคือ คณะทำงานจะไปทำป้ายประชาสัมพันธ์โครงการ และป้ายเขตปลอกบุหรี่พเื่อมาติดไว้ที่ศาลาเอนกประสงค์เพื่อเป็นกรณรรงค์การเลิกสูบบุหรี่

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต

1.มีสมาชิกเข้าร่วม30คน 2.มีการแบ่งกลุ่มลงสำรวจข้อมูลเป็น 5 กลุ่ม

ผลลัพธ์

  1. มีการแบ่งงาน กันโดยการแบ่งเป็นกลุ่มๆในการสำรวจเพื่อความรวดเร็วในการสำรวจข้อมูล
  2. การกำหนดและช่วยกันออกแบบแบบสอบถาม เพื่อสำรวจข้อมูลพื้นฐาน
  3. มีการยอมรับกันมากขึ้นจากการได้ร่วมกันแสดงความเห็นเห็นในเรื่องของข้อมูลที่จะทำการเก็บข้อมูล เพื่อให้ได้ข้อมูลนำมาพัฒนาชุมชน
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 30 คน จากที่ตั้งไว้ 30 คน
ประกอบด้วย

ผู้ใหญ่บ้าน และคณะกรรมการหมู่บ้าน ประชุมร่วมกับประชาชน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

สมาชิกไม่ค่อยให้ความร่วมมือขอความร่วมมือ จากสมาชิกให้ช่วยกันทำกิจกรรม เพื่อเป็นการช่วยพัฒนาหมู่บ้าน

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นายยงยุทธ์ สุขพิทักษ์
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

จัดทำป้ายปลอดบุหรี่25 ตุลาคม 2558
25
ตุลาคม 2558รายงานจากพื้นที่ โดย ณัฐชยา รัตนพันธ์
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อไว้สำหรับประชาสัมพันธ์โครงการและรณรงค์การงดสูบบุหรี่

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

คณะทำงาน ผังฟาร์มลดรายจ่ายที่บ้านทรายขาว นางเยาวภา คำแหง ผู้รับผิดชอบโครงการ ได้ไป ทำป้ายกิจกรรมโครงการ 1 ป้าย ป้ายเขตปลอดบุหรี่ 1 ป้าย ป้ายปลอดสุรา 1 ป้าย เพื่อใช้ในการประชาสัมพัฯธ์ โครงการและเป็นการรณรงค์การงดสูปเหล้าและบุหรี่

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต

  1. มีป้ายชื่อโครงการ1ป้าย
  2. ป้ายเขตปลอดสุรา1ป้าย
  3. ป้ายเขตปลอดบุหรี่ 1ป้าย

ผลลัพธ์

  1. มีป้ายสำหรับใช้ประชาสัมพันธ์โครงการ
  2. มีป้ายเขตปลอดบุหรี่ และเขตปลอดสุรา เพื่อเป็นการรณรงค์การงดเหล้าและบุหรี่
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 2 คน จากที่ตั้งไว้ 2 คน
ประกอบด้วย

คณะทำงาน 2คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นายยงยุทธ์ สุขพิทักษ์
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

เปิดโครงการ16 ตุลาคม 2558
16
ตุลาคม 2558รายงานจากพี่เลี้ยง โดย yongyut
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อเข้าร่วมกิจกรรมเปิดเวทีโครงการ

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

วันนี้พี่เลี้ยงได้เปิดเวทีโครงการ โดยบอกถึงวัตถุประสงค์ คือ 1.มีสภาผู้นำที่เข้มแข็ง 2.มีการเรียนรู้ภูมิปัญยาต่างๆที่มีในหมู่บ้าน 3.มีการจดทำแผนครัวเรือนลดหนี้ 4.เรียนรู้เกษตรพื้นบ้านจากปราชญ์ชุมชน จัดทำเวทีโดยให้ปราญน์ชาวบ้านผู้นำชุมชน เข้ามาแนะนำความรู้ของตนเองให้คนในชุมชนรับทราบ พูดคุยปัญหาภายในหมู่บ้าน และนำกลุ่มต่างๆที่จัดตั้งขึ้น มาแลกเปลี่ยนความรู้ในด้านต่างๆ ให้มีความรู้เพิ่มขึ้น จัดเวทีพูดคุยในชุมชน 5.ทำผังฟาร์มของหมู่บ้านโดยการจัดสรรดพื้นที่ในหมู่บ้านให้ครอบคลุมและเหมาะแก่สภาพพื้นที่ ในชุมชนมีการประกอบอาชีพทำวสวนยางพาราและสวนปาล์มเป็นส่วนใหญ่ โดยในผังฟาร์มนี้จะเป็นการทำผังเกี่ยวกับอาชีพเสริมนอกเหนือจากการทำอาชีพหลัก ความรู้ประสบการณืแต่อย่างใด ซึ่งการทำผังฟาร์มนี้ก็จากให้บ้านที่มีการทำอยู่แล้วให้เป็นบ้านตัวอย่างในการศึกษาเรียนรู้และให้มีจัดตั้งกลุ่มขึ้นใครที่สนใจอยากทำอะไรเป็นอาชีพเสริมก็สามารถเข้าร่วมกลุ่มนั้นๆได้ เพื่อพัฒนาศักยภาพของแต่ละกลุ่มนั้นๆให้ดียิ่งขึ้น โดยให้คนในชุมชนได้เรียนรู้และลงมือทำทั่วหมู่บ้าน โดยจะมีการเรียนรู้  ในด้านปศุสัตว์ การทำฟาร์มไก่ไข    การเลี้ยงปลาในบ่อ การเลี้ยงวัว    เลี้ยงไก่บ้านพื้นเมือง    เลี้ยงป็ดไก่
ด้านการเกษตรผสมผสาน มี การปลูกผักผสมผสาน  การทำฟาร์มเห็ด  การทำข้าวไร โดยทั้งหมดนี้อยู่หมู่บ้านโดยพื้นที่การทำเกษตรต่างๆจะมีอยู่ใกล้แม่น้ำคลองมิน หรือเรียกว่ามาบชิงเป็นที่ลุ่มจึงมีน้ำในการทำเกษตรจึงให้บริเวณนี้ผังฟาร์มเกี่ยวกับการทำเกษตรผสมผสาส่วนพื้นที่ที่ไม่ได้อยู่ใกล้น้ำแต่ก้มีปศุสัตว์จะอยู่บริเวณทรายขาว โดยศูนย์รวมชุมชนจะอยู่ที่วัดนอคมคีรีใช้ในการประชุมแลกเปลี่ยนความรู้ รวมทั้งการมาทำบุญวัดร่วมมือจัดงานตามแต่ละประเพณีที่สือบทอดกันมา โดยการจัดผังฟาร์มนี้จะจัดจากบ้านที่เราคัดสรรมาแล้วมาเหมาะแก่การเป็นแบบอย่างแล้วจะให้เป็นสถานที่จากนั้นให้คนที่อยู่พื้นที่ใกล้รวมกลุ่มกันเรียนรู้ ตามสภาพของพื้นที่ในชุมชนเขาขาว

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.ประชาชนเข้าร่วมกิจกรรม ครบตามที่กำหนด 2.ประชาชนได้รับทราบวัตถุประสงค์โครงการ  และเกี่ยวกับผังฟาร์มที่จะมีในการทำโครงการ 3.ประชาชนได้สมัครใจเข้าร่วมกิจกรรม

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 30 คน จากที่ตั้งไว้ 30 คน
ประกอบด้วย

คณะทำงานและประชาชนผู้สนใจเข้าร่วมกิจกรรมเปิดเวทีโครงการ

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

สภาผู้นำบ้านทรายขาวครั้งที่ 216 ตุลาคม 2558
16
ตุลาคม 2558รายงานจากพื้นที่ โดย ณัฐชยา รัตนพันธ์
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อวางแผนการทำงานติดตามการดำเนินโครงการและประชาสัมพันธ์โครงการ

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

วันนี้เป็นกิจกรรมครั้งที่ 2
วาระที่1 แจ้งเพื่อทราบ นายสหพัฒน์ สุขอนันต์ ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่1 ต.เขาขาว อ.ทุ่งสง ประธานที่ประชุมแจ้งเพื่อให้รู้ข่าวสาร ของทางราชการให้ประชาชนในหมู่บ้านและชุมชนได้รับรู้ถึงข่าวสารของทางราชการ มติที่ประชุม รับทราบ

วาระที่2 พี่เลี้ยงโครงการลงพื้นที่เพื่อชี้แจงโครงการ นายสหพัฒน์ สุขอนันต์ ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่1 ต.เขาขาว อ.ทุ่งสง ประธานที่ประชุม แจ้งให้ผู้เข้าร่วมทราบ เรื่องโครงการผังฟาร์มลดรายจ่ายที่บ้านทรายขาว โดยสนับสนุนงบประมาณโครงการจาก สสส. (สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างสุขภาพ) โดยให้นางเยาวภา คำแหง ผู้รับผิดชอบโครงการและวันนี้ นายยงยุทธ์ สุขพิทักษ์พี่เลี้ยงโครงการได้มาชี้แจงเกี่ยวกับรายละเอียดโครงการ -โครงการผังฟาร์มลดรายจ่ายที่บ้านทรายขาว โดยสนับสนุนงบประมาณโครงการจาก สสส. (สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างสุขภาพ)ซึ่งคณะทีมงานได้ร่วมกลุ่มกันเพื่อของบประมาณจากสสส.เพื่อมาพัฒนาหมู่บ้านซึ่งคณะทำงานได้เข้าร่วมประชุมกับ สจรส.มอ.ที่โรงแรมลิกอร์ เพื่อรับฟังแนวทางการพัฒนาโครงการ ตามแนวคิดท้องถิ่นชุมชนน่าอยู่หลังจากนั้นก็ได้พบพี่เลี้ยง โดยพี่เลี้ยงไปแนะนำวิธีการเขียนโครงการ และวิเคราะห์ร่วมกับพี่เลี้ยง ที่ รพ.สต.บ้านสกรณ์นิคม เพื่อขึ้นรูปโครงการแล้วนำกิจกรรมโครงการที่ขึ้นรูปแล้ว มาปรึกษากับกลุ่มสมาชิกและตัวแทนชุมชนเพื่อปรับปรุงกิจกรรม และส่งให้พี่เลี้ยงดูกิจกรรม แล้วก็ได้พบพี่เลี้ยงและ สจรส.มอ.ที่ห้องประชุมศาลากลาง เพื่อเรียนรู้วิธีการบันทึกข้อมูลและก็ได้ไปปฐมนิเทศโครงการที่ ม.วลัยลักษณ์และในวันนี้ก็จะมาชี้แจงถึงรายละเอียดกิจกรรมโครงที่จะมีขึ้น

1) จะมีการคัดเลือกผู้นำ และคณะทำงาน เพื่อจัดตั้งสภาผู้นำและคณะทำงาน โดยคัดเลือกตัวแทนจากกลุ่มต่างๆซึ่งสภาชุมชนจะมีการประชุมทุกเดือนเพื่อเป็นการวางแผนการทำกิจกรรมการติดตามกิจกรรมติดตามความคืบหน้าของโครงการและเพื่อเป็นการพูดคุย และร่วมกันหาทางแก้ไขปัญหา และหาทางพัฒนาชุมชน

2) มีการออกแบบแบบสำรวจข้อมูล ซึ่งข้อมูลจะประกอบด้วย -ข้อมูลพื้นฐานของครัวเรือน –ข้อมูลเกี่ยวกับรายได้รายรับ -ข้อมูลเกี่ยวกับหนี้สินครัวเรือน -ข้อมูลสถานะสุขภาพโดยคนในชุมชนจะมาร่วมกันออกแแบบสอบถามเพื่อใช้สำรวจข้อมูลในชุมชนแล้วก็จะให้ทีมงานร่วมทำการเก็บแบบสำรวจ โดยแบ่งออกเป็นกลุ่มในการสำรวจ ซึ่งทุกคนจะสอบถามข้อมูลจากครัวเรือน โดยสอบถามให้มากที่สุด เพื่อจะได้ข้อมุลตามที่ต้องการตามแบบสอบถาม และหลังจากการสำรวจข้อมููลในชุมชน เป็นที่เรียบร้อยแล้ว ก็จะนำข้อมูลที่เก็บจากการสำรวจ นำมาวิเคาระห์ข้อมูล และจะนำข้อมูลคืนสู่ชุมชนต่อไป

3) มีการเรียนรู้การทำบัญชีครัวเรือน โดยมีวิทยากรผู้ที่มีความรู้ด้านการทำบัญชีครัวเรือน มาอบรบการทำบัญชีครัวเรือนเพื่อให้เห็นภาพรวมการใช้จ่ายประจำวันและหลังจากได้เรียนรู้การทำบัญชีครัวเรือนแล้วให้แต่ละครัวเรือนไปจัดทำการทำบัญชีเองที่บ้านและสรุปบัญชีของครัวเรือนของแต่ละครัวเรือนมาแลกเปลี่ยนการทำบัญชีที่ได้ว่าในแต่ละครัวเรือนมีการใช้จ่ายสิ่งไหนบ้างที่ฟุ่มเฟือยสิ่งไหนที่ไม่จำเป็นเพื่อจะให้ลดการใช้จ่ายในสิ่งที่ไม่จำเป็น

4)จะมีการวิเคราะห์หนี้สินครัวเรือน เชิญกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรมวิเคราะห์ชุมชนและวิเคราะห์ครัวเรือนของตนเอง เกี่ยวกับสาเหตุการเกิดหนี้สิน วิธีการลดหนี้สินครัวเรือน และแนวทางของชุมชนในการลดหนี้สิน ใครเป็นหนี้สินเท่าไหร่ มีด้านอะไรบ้าง หนี้ที่เราเป็นเกิดจากอะไรหนี้ที่เราเป็นนี้สามารถลดได้หรือไม่มีความจำเป็นหรือไม่ที่จะก่อหนี้เพิ่ม

1.5จัดทำแผนครัวเรือนลดหนี้ ทุกครัวเรือนที่เข้าร่วมกิจกรรมต้องร่วมกันประเมินตนเอง โดยมานั่งจัดทำแผนครัวเรือนเพื่อลดหนี้ โดยครัวเรือนร่วมกันวางแผนว่าครัวเรือนตนเองจะลดหนี้ได้อย่างไร อะไรคือปัญหาความฟุ่มเฟือยในครัวเรือน และครัวเรือนจะมีลำดับขั้นตอนลดหนี้ได้อย่างไร

1.6 รวมกลุ่มส่งเสริมอาชีพ แก้ปัญหาหนี้สิน โดยให้มาเรียนรู้อบรบปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ให้รู้จักพึ่งพาตนเอง โดยจัดตั้งเป็นกลุ่มต่างๆ
เช่น
-กลุ่มสมุนไพร ซึ่งจะมีปราชญ์ชาวบ้าน มาให้ความรู้เรื่องสมุนไพร กับกลุ่มที่มีความสนใจ
- กลุ่มเกษตรผสมผสาน โดยมีอยู่แล้วในวิถีชุมชนรวบรวมมาเป็นกลุ่ม มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และถามความคิดเห็น และศึกษาดูงานร่วมกัน
-นวดแผนไทย มีปราชญ์ด้านการนวดมาให้ความรู้ผู้ที่สนใจด้านการนวด
-การแปรรูปอาหาร รวบรวมผู้ที่สนใจด้านการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตรที่มีอยู่ในชุมชน เพื่อให้คนในชุมชนได้แปรรูปอาหารจากในชุมชน
-ไม้ดอกไม้ประดับ รวบรวมกลุ่มผู้ที่มีความชอบไม้ดอกไม้ประดับที่มีอยู่แล้วในชุมชน

1.7เรียนรู้การทำ ผังฟาร์มโดยเรียนรู้เกษตรพื้นบ้านจากปราชญ์ชุมชน จัดทำเวทีโดยให้ปราชญ์ชาวบ้านผู้นำชุมชน เข้ามาแนะนำความรู้ของตนเองให้คนในชุมชนรับทราบ พูดคุยปัญหาภายในหมู่บ้าน และนำกลุ่มต่างๆที่จัดตั้งขึ้น มาแลกเปลี่ยนความรู้ในด้านต่างๆ ให้มีความรู้เพิ่มขึ้น จัดเวทีพูดคุยในชุมชน ในการทำผังฟาร์มของหมู่บ้านโดยการจัดสรรพื้นที่ในหมู่บ้านให้ครอบคลุมและเหมาะแก่สภาพพื้นที่ ในชุมชนมีการประกอบอาชีพทำสวนยางพาราและสวนปาล์มเป็นส่วนใหญ่ โดยในผังฟาร์มนี้จะเป็นการทำผังเกี่ยวกับอาชีพเสริมนอกเหนือจากการทำอาชีพหลัก โดยจะแบ่งผังฟาร์มในหมู่บ้านจากการที่มีคนในชุมชนได้ทำจริงอยู่แล้ว แต่ในชุมชนยังมีการต่างคนต่างทำไม่ได้มีการรวมกลุ่มไม่ได้มีการแลกเปลี่ยนความรู้ประสบการณ์แต่อย่างใด ซึ่งการทำผังฟาร์มนี้ก็จะให้บ้านที่มีการทำอยู่แล้วให้เป็นบ้านตัวอย่างในการศึกษาเรียนรู้และให้มีจัดตั้งกลุ่มขึ้นใครที่สนใจอยากทำอะไรเป็นอาชีพเสริมก็สามารถเข้าร่วมกลุ่มนั้นๆได้ เพื่อพัฒนาศักยภาพของแต่ละกลุ่มนั้นๆให้ดียิ่งขึ้น และให้คนในชุมชนมรีส่วนร่วมในกิจกรรมทั่วหมู่บ้าน

1.8 แลกเปลี่ยนการเรียนรู้โดยนำบทเรียนของแต่ละกลุ่มที่ได้ศึกษามา แล้วนำความรู้และผลที่ได้จาการทำกิจกรรม และปัญหาต่างๆของแต่ละกลุ่มจากการทำกิจกรรมในโครงการนำมาคุยแลกเปลี่ยนกันในกลุ่ม ในชุมชน เพื่อจะมีการปรับปรุงและแก้ไข พร้อมทั้งมาประสานงานต่างๆ สู่การพัฒนาที่เพิ่มศักยภาพให้มากยิ่งขึ้น ซึ่งขอฝากให้คนในชุมชนได้ประชาสัมพันธ์ให้คนในชุมชนได้รับทราบ พร้อมชักชวน เข้าร่วมกิจกรรมเพื่อที่จะเป็นการพัฒนาชุมชนของบ้านทรายขาวเอง หลังจากนั้นนายสหพัฒน์ สุขอนันต์ ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 1กล่าวขอบคุณพี่เลี้ยงที่ได้มาพบปะและชี้แจงกิจกรรมให้คนในรชุมชนได้รับทราบ ขอขอบคุณครับ

นางเยาวภา คำแหงผู้รับผิดชอบโครงการ ได้ ชี้แจงกิจกรรมต่อไปคือการประชุมสภาผู้นำครั้งที่3

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. มีผู้เข้าร่วมโครงการ30คน
  2. คนในชุมชนได้ทราบถึงการชี้แจงกิจกรรมโครงการและกิจกรรมในโครงการ ที่จะมีกิจกรรมในชุมชน
  3. พี่เลี้ยงได้พบปะประชาชนและชี้แจงกิจกรรมที่จะเกิดของโครงการให้คนในชุมชนได้รับทราบ ถึงกิจกรรมที่จะทำในชุมชน
  4. คนในชุมชนมีความตั้งใจที่จะร่วมกิจกรรมโดยการช่วยในการประชาสัมพันธ์โครงการและชักชวนคนในชุมชนมาเข้าร่วมโครงการ
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 30 คน จากที่ตั้งไว้ 30 คน
ประกอบด้วย

ผู้นำชุมชนคณะทำงาน ผู้สูงอายุ ประชาชนวัยทำงาน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ประชาชนบางส่วนยังไม่เข้าใจในกิจกรรม จะต้องแก้ไขโดยใช้เวลาในการประชุมชี้แจง

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นายยงยุทธ์ สุขพิทักษ์
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

ปฐมนิเทศโครงการใหม่3 ตุลาคม 2558
3
ตุลาคม 2558รายงานจากพี่เลี้ยง โดย yongyut
circle
วัตถุประสงค์

เพือปฐมนิเทศโครงการใหม่

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

วันนี้ ทาง สจรส.มอ. ได้รวมกับพี่เลี้ยงจังหวัดนครศรีธรรมราช ได้ปฐมนิเทศโครงการใหม่ วันที่ 3 -4 ตุลาคม 2558 โดยในวันแรก ไ้ดพบกับ ผศ.ดร.พงศ์เทพ เพื่อชี้แจงทำความเข้าใจเกี่ยวกับแนวทางการดำเนินงานตามโครงการ
วันที่สอง พี่เลี้ยงได้แนะนะวิธีการเขียนรายงานตามเอกสาร และการเขียนเอกสารทางการเงิน  พร้อมทั้งเปิดโอกาสให้ได้ฝึกบัน่ทึกเวปไซด์โครงการ

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.ตัวแทนโครงการ 2 คน เข้าร่วมประชุมตามที่กำหนด 2.กลุ่มเป้าหมายได้เรียนรู้การบันทึกเอกสาร การจัดเตรียมเอกสาร 3.กลุ่มเป้าหมายได้ฝึกปฏิบัติบันทึกในเวปไซด์

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 2 คน จากที่ตั้งไว้ 2 คน
ประกอบด้วย

ตัวแทนโครงการ 2 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

ปฐมนิเทศโครงการใหม่3 ตุลาคม 2558
3
ตุลาคม 2558รายงานจากพื้นที่ โดย ณัฐชยา รัตนพันธ์
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อปฐมนิเทศโครงการใหม่

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

วันนี้ สจรส.มอ.ได้จัดปฐมนิเทศโครงการใหม่ที่ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
โดย อ.พงศ์เทพ ได้ชี้แจงแนวทางการทำโครงการ วัตถุประสงค์การดำเนินงาน อ.กำไล ได้แนะนำแนวคิดการทำโครงการ และขั้นตอนการทำโครง3 ระยะ ช่วงก่อนดำเนินงาน ระหว่างดำเนินงานและหลังดำเนินงาน อ.สุดา ได้แนะนำเรือ่งเกี่ยวกับเอกสารเงินในการเขียนบิลในการเขียนใบสำคัญรับเงินต้องมีรายละเอียดให้ครบถ้วนตามที่กำหนด อ.ถนอม ได้แนะนำเกี่ยวกับการถ่ายรูปในการทำกิจกรรม ว่าจะต้องถ่ายกิจกรรมให้เป็นกิจกรรมที่มีชีวิตและสามารถมองออกได้ว่าเป็นกิจกรรมอะไรกำลังทำกิจกรรมอะไรเพื่อเป็นการสื่อให้คนที่ดูภาพได้เห็นถึงกิจกรรมที่ได้ทำไปรวมถึงการบันทึกข้อมุลลงในเวปไซด์ และการบันทุกรูปในภาพในเว็บไซต์

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. ได้เรียนรู้วิธีการดำเนินงานตามโครงการในการทำกิจกรรมจะต้องมีการเก็บภาพถ่าย บันทึกกิจกรรมในเว็บไซต์เตรียมเอกสารด้านการเงินให้ถูกต้อง
  2. เรียนรู้วิธีดำเนินกิจกรรมตามโครงการ
  3. ได้วางแผนการดำเนินงานตามโครงการ ในการกำหนดกิจกรรมในปฏิทินโครงการ ว่ากิจกรรมจะทำในวันไหน ช่วงเดือนไหนและได้กำหนดการประชุมสภาผู้นำทุกเดือน
  4. ได้เรียนรู้ความเสี่ยง ต่อการดำเนินงาน อย่างเช่นการเบิกจ่ายเงินต้อง 2 ใน 3 คน ให้เบิกจ่ายตามรายกิจกรรม
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 2 คน จากที่ตั้งไว้ 2 คน
ประกอบด้วย

คณะทำงาน 2 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ยังไม่เข้าใจในการบันทึกข้อมูลขึ้นในเว็บไซต์ การบันทึกรูปในเว็บไซต์ การแก้ไขโดยจะสอบถามจากพี่เลี้ยงเลี้ยง และฝึกหัดในการบันทึกข้อมูลในเว็บไซต์

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นายยงยุทธ์ สุขพิทักษ์
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

สภาผู้นำบ้านทรายขาวครั้งที่ 116 กันยายน 2558
16
กันยายน 2558รายงานจากพื้นที่ โดย ณัฐชยา รัตนพันธ์
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อให้ประชนชนเกิดความรู้ความเข้าใจและร่วมมือทำกิจกรรมกับสสส.

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

วาระที่1 แจ้งเพื่อทราบ นายสหพัฒน์ สุขอนันต์ ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่1 ต.เขาขาว อ.ทุ่งสง ประธานในที่ประชุม แจ้งเพื่อให้รู้ถึงข่าวสารให้ที่ประชุมที่ทางหน่วยงานราชการให้ชาวบ้านรับรู้เพื่อให้ประชาชนได้รับรู้ถึงขาวสารและดำเนินงานในการพัฒนาหมู่บ้านและชุมชน มติที่ประชุม รับทราบ วาระที่2 ชี้แจงรายละเอียดของโครงการ สสส นายสหพัฒน์ สุขอนันต์ ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่1 ต.เขาขาว อ.ทุ่งสง ให้นำชี้แจงโครงการโดย นางเยาวภา คำแหง ชี้แจงในที่ประชุมให้ทราบถึงโครงการของ สสส ภายใต้ชื่อโครงการ ผังฟาร์มลดรายจ่ายที่บ้านทรายขาว เพื่อที่จะช่วยให้ประชาขนมีการดำรงชีพที่ดีขึ้น ในสถานการณ์ปัจจุบันเพื่อการอยู่รอดของประชาชนด้วยการจัดการตามแบบที่เขียนไว้ในโครงการ สสส ให้มีวิถีชีวิตที่ดีขึ้น เรียนรู้ พัฒนา ตนเองและครอบครัวในชุมชนให้มีภูมิป้องกัน มติที่ประชุม รับทราบ

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต 1.ผู้เข้าร่วมกิจกรรม 30คน 2.มีสภาผู้นำและคณะทำงาน 1 ชุด

ผลลัพธ์ 1.คนในชุมชนได้ทราบถึงการจัดทำโครงการ สสส.
2.ได้ทราบถึงการชี้แจงรายละเอียดเกี่ยวกับโครงการให้คณะทำงานและผู้เข้าร่วมกิจกรรมรับทราบถึงกิจกรรมที่จะทำในโครงการ 3.มีการพบปะพูดคุยกันในชุมชนมีการแลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็นกันในชุมชนมีการเสนอความคิดเห็นในการเลือกสภาผู้นำ 4.มีการยอมรับมากขึ้นกันในกลุ่มคือการได้ทำกิจกรรมร่วมกัน

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

ได้น้อยกว่าเป้าหมายมาก (1)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 30 คน จากที่ตั้งไว้ 30 คน
ประกอบด้วย

คณะทำงานและผู้นำชุมชน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นายยงยุทธ์ สุขพิทักษ์
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี