แบบบันทึกการติดตามสนับสนุนโครงการ ครั้งที่ 1

รหัสโครงการ 58-03963
สัญญาเลขที่ 58-00-1916

ชื่อโครงการ รักษ์เกาะสาหร่าย หมู่ที่ 5 ตำบลเกาะสาหร่าย อำเภอเมือง จังหวัดสตูล
รหัสโครงการ 58-03963 สัญญาเลขที่ 58-00-1916
ระยะเวลาตามสัญญา 15 กันยายน 2558 - 15 ตุลาคม 2559

ส่วนที่ 1 : ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม

1.1 ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 1 นางกัลยทรรศน์ ติ้งหวัง
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 2 นางสาวอนัญญา แสะหลี
วันที่ลงพื้นที่ติดตาม 13 พฤศจิกายน 2558
วันที่ส่งรายงานถึง สสส. 25 กุมภาพันธ์ 2559
1.2 ผู้ให้ข้อมูล
ลำดับชื่อ-สกุลผู้ให้ข้อมูลที่อยู่หมายเลขโทรศัพท์
1 นางสาวสะอีด๊ะสาดล ต.เกาะสาหร่าย อ.เมือง จ.สตูล 0894663235

ส่วนที่ 2 : ข้อมูลโครงการและความก้าวหน้าการดำเนินงาน

2.1 วัตถุประสงค์และตัวชี้วัดความสำเร็จโครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ตัวชี้วัดความสำเร็จ

1.

เพื่อสร้างจิตสำนึกให้กับคนในชุมชนในการจัดการขยะ

  • เกิดแกนนำ 2 รุ่น อาสาสมัครสาธารณสุข 25 คน เยาวชน 25 คน
  • มีความรู้การคัดแยกขยะ

2.

เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชนสามารถพึ่งตนเองได้

  • เกิดครัวเรือนต้นแบบ 30 ครัวเรือน
  • เกิดธนาคารขยะ
  • มีกติการ่วม

3.

เพื่อพัฒนายกระดับกลไกการขับเคลื่อนงานของชุมชน

  • มีคณะทำงานโครงการจำนวน 15 คน จำนวน 1 ชุด
  • มีสภาหมู่บ้านจำนวน 1 สภา
  • สมาชิกสภาประกอบด้วยกรรมการหมู่บ้านและตัวแทนกลุ่มต่าง ในชุมชนจำนวน 35 คน
  • มีการประชุมสภาผู้นำ 10 ครั้ง
  • มีผู้เข้าร่วมประชุมไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80
  • มีแผนปฏิบัติการในชุมชนอย่างน้อย 5แผนงาน

4.

เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบโครงการ และสนับสนุนการทำงานของโครงการ

  • มีการเข้าร่วมการประชุมกับ สสส. สจรส.ม.อ. ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 ของจำนวนครั้งที่จัด
  • มีการจัดทำป้าย "สถานที่นี้ปลอดบุหรี่" ติดตั้งในสถานที่จัดกิจกรรม
  • มีการถ่ายภาพการดำเนินงานทุกกิจกรรม
  • มีการจัดทำรายงานส่ง สสส. ตามระยะเวลาที่กำหนด
2.2 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ
กลุ่มเป้าหมายงบประมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงปริมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพ/สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ
ที่ตั้งไว้(บาท)เกิดขึ้นจริง(บาท)จำนวนที่ตั้งไว้(คน)จำนวนเกิดขึ้นจริง(คน)

กิจกรรมหลัก : ประชุมคณะทำงานโครงการจำนวน 1 ครั้งi

1,250.00 0 ผลผลิต

จัดกิจกรรมประชุมคณะทำงานโครงการวันที่ 13 พฤศจิกายน 2558 มีผู้เข้าร่วมประชุมจำนวน 22 คน ณ รีสอร์ทชุมชน เป็นการประชุมทำความเข้าใจการทำงานโครงการให้กับคณะทำงานได้รับทราบที่มาของโครงการและแนวทางการขับเคลื่อนงานในพื้นที่


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)
  • คณะทำงานโครงการมีความเข้าใจการทำงานโครงการตามแผนงาน และรับรู้ที่มาและแนวทางการขับเคลื่อนงานโครงการ

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 4 ครั้ง

  • พี่เลี้ยงโครงการ
0.00 0.00 1 1 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • คณะทำงานโครงการมีความเข้าใจหลักการทำงานของ สสส.ในการทำโครงการของพื้นที่
  • คณะทำงานได้มีการลงข้อมูลและจัดทำปฏิทินโครงการ
  • ผู้นำชุมชน
  • ผู้ประสานงานโครงการ
1,250.00 1,325.00 20 22 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • คณะทำงานโครงการมีความเข้าใจในการทำงานและมีส่วนร่วมในการวางแผนนำไปสู่การจัดตั้งสภาหมู่บ้านที่ต้องมีการประชุมร่วมกันทุกเดือน แบ่งบทบาทหน้าที่ในการทำงานโครงการ ซึ่งต้องมีฝ่ายบันทึกข้อมูล เจ้าหน้าที่การเงิน ประธานสภาที่สามารถนำกระบวนการพูดคุยได้ กิจกรรมหลักของโครงการคือ การประชุมสภาผู้นำหมู่บ้านประจำเดือนซึ่งประกอบด้วย คณะกรรมการหมู่บ้านและตัวแทนกลุ่มองค์กรต่างๆที่มีอยู่ในชุมชน กิจกรรมการจัดทำฐานข้อมูลเรื่องขยะ วิเคราะห์ข้อมูล คืนข้อมูลให้ชุมชน พัฒนาศักยภาพสภาผู้นำหมู่บ้าน และสุดท้ายก็มีการสรุปถอดบทเรียนการทำงานโครงการที่นำไปสู่การขยับงานในประเด็นต่างๆของพื้นที่

  • มีความเข้าใจการจัดทำเอกสารทางการเงิน ทาง สสส.สนับสนุนเพิ่มจำนวน 13,000 บาท ซึ่งในการสนับสนุนงบประมาณแบ่งเป็น 3 งวด การเบิกจ่ายงบประมาณพื้นที่สามารถมีเงินสดในมือได้ไม่เกิน 5,000 บาท

  • พี่เลี้ยงโครงการ
  • พื้นที่รับผิดชอบโครงการประกอบด้วยตัวแทนคณะทำงานโครงการและเจ้าหน้าที่ข้อมูล
0.00 0.00 1 1 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ทีมคณะทำงานโครงการของพื้นที่มีความเข้าใจสามารถจัดการเอกสารได้ถูกต้อง
  • สามารถปิดโครงการงวดที่ 1 ได้
  • พี่เลี้ยงโครงการ
  • คณะทำงานโครงการจำนวน 2 คน
0.00 0.00 3 3 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • คณะทำงานพื้นที่เข้าใจการจัดทำเอกสารการเงิน
  • ได้มีการปรับปฏิทินการทำงานของพื้นที่
  • เติมเต็มรายงานกิจกรรม

กิจกรรมหลัก : จัดเวทีชี้แจงทำความเข้าใจโครงการให้กับคนในชุมชนได้รับทราบจำนวน 100 คนi

4,300.00 0 ผลผลิต

จัดเวทีชี้แจงโครงการวันที่ 1 ก.พ. 59 มีผู้เข้าร่วมประชุมจำนวน 130 คน เป็นการทำความเข้าใจโครงการให้คนในชุมชนได้รับทราบ


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)
  • คนในชุมชนรับทราบที่มาและแนวทางการทำงานโครงการที่จะนำไปสู่การทำงานแบบมีส่วนร่วมของคนในชุมชน

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

  • แม่บ้าน
  • อสม.
  • ผู้นำศาสนา
  • ผู้นำชุมชน
  • เยาวชน
4,300.00 4,200.00 100 130 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ชาวบ้านได้เรียนรู้วิธีการคัดแยกขยะที่ถูกต้อง
    • การวางแนวทางการดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ เป็นไปในทางเดียวกันกิดขึ้น

กิจกรรมหลัก : ประชุมสภาผู้นำหมู่บ้านจำนวน10ครั้งต่อปีi

8,750.00 0 ผลผลิต

มีการประชุมคณะทำงานสภาผู้นำชุมชนจำนวน 2 ครั้ง ครั้งที่ 1 จัดกิจกรรมวันที่ 3 ธ.ค. 58 มีผู้เข้าร่วมประชุมจำนวน ครั้งที่ 2 จัดกิจกรรมวันที่ 30 ม.ค. 59 มีผู้เข้าร่วมประชุมจำนวน 30 คน เป็นการประชุมพูดคุยประจำเดือนเพื่อหารือการขับเคลื่อนงานในการขับเคลื่อนงานในชุมชน


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)
  • กลไกสภาผู้นำได้มีส่วนร่วมในการออกแบบ วางแผนการทำงานในชุมชน

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 10 ครั้ง

  • ตัวแทนฝ่ายปกครอง ครู เยาวชน นายกอบต. ส.อบต. ผู้นำศาสนา
875.00 750.00 35 30 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • เพื่อเป็นกลไกในการขับเคลื่อนงานของชุมชนอย่างต่อเนื่อง มีแผนปฏิบัติการในการทำงานแต่ล่ะครั้ง
  • มีสภาผู้นำเยาวชน จำนวน 1 สภา และสภาผู้นำ จำนวน 1 สภา

คณะกรรมการโครงการ  ผู้นำชุมชน  เยาวชน

875.00 750.00 35 30 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • จัดเวทีครัวเรือน ในวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2559
  • กำหนดสถานที่ดูงานนอกสถานที่ วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2559
  • คณะทำงานประกอบด้วย เยาวชน จำนวน 15 คน และแกนนำชุมชน จำนวน 15 คน
875.00 875.00 35 30 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • คณะทำงานโครงการร่วมกับเยาวชนได้ปรึกษาหารือ วิเคราะห์สังเคราะห์ข้อมูลขยะ
  • ได้นัดและกำหนดวันในการสังเคราะห์ข้อมูลในวันที่ 3 มีนาคม 2559 จำนวน 1 วัน ณ มาตาฮารีโฮมเสตย์
  • ได้มีกลุ่มเป้าหมาย วิเคราะห์สังเคราะห์ข้อมูลขยะ จำนวน 31 คน พร้อมวิทยากร 1 คน
  • ทีมคณะกรรมการได้จัดรูปแบบในการสังเคราะห์ข้อมูล ร่วมกับเยาวชน
  • สภาผู้นำหมู่บ้าน เยาวชนอสม. แม่บ้าน กลุ่มองค์กรต่าง ๆ จำนวน 35 คน
875.00 875.00 35 35 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • การสรุปการเงิน สรุปภาพกิจกรรมที่ผ่านมา ตามแผนที่วางไว้ในโครงการ

สภาผู้นำชุมชน เยาวชน อสม. กลุ่มแม่บ้าน กลุ่มองค์กรต่าง ๆอบต. จำนวน 35 คน

875.00 875.00 35 35 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ได้เพิ่มเติมเรื่องการจัดการขยะ ในชุมชน โรงเรียน ตามสถานที่ รีสอร์ทต่าง ๆ และที่สาธารณประโยชน์ ริมทะเล ช่วยกันรักษาดูแล เพื่อไม่ให้กระทบต่อชุมชนในการต้อนรับนักท่องเที่ยว และการจัดการขยะให้เป็นระบบ ของชุมชนและอบต.ที่รับผิดชอบในการเก็บขยะ เพื่อทำลายให้ถูกลักษณะและเหมาะสม
  • สภาผู้นำชุมชน เยาวชน อสม. กลุ่มแม่บ้าน องค์กรหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง อบต. จำนวน 35 คน
875.00 875.00 35 35 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ดำเนินการแก้ไขปฏิทินการดำเนินงาน ของแต่ละกิจกรรมและได้วางปฏิทินการดำเนินงานใหม่ ในการดำเนินกิจกรรมโครงการครั้งต่อไป
  • สภาผู้นำหมู่บ้าน สภาเยาวชนตำบลเกาะสาหร่าย อสม. กลุ่มแม่บ้าน อบต. ฝ่ายปกครอง
875.00 875.00 39 39 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ได้ความร่วมมือจากคณะทำงานและทีมสภาผู้นำเยาวชน อสม. กลุ่มแม่บ้าน อบต.
    • ได้จัดทำแผนงานกิจกรรมอยา่งต่อเนื่องในชุมชน
    • ได้ข้อมูลเรื่องการจัดการขยะ นำไปสู่ชุมชน เพื่อพัฒนาต่อไปให้ยั่งยืน
  • คณะกรรมการสภาผู้นำเยาวชน กลุ่มอสม. แม่บ้าน อบต. ฝ่ายปกครอง คณะครู
875.00 875.00 35 35 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

  - ขบวนการการทำงานของคณะกรรมการทีมสภาเยาวชน กลุ่ม อสม. แม่บ้าน คณะครู ฝ่ายปกครอง - มอบหมายให้รับผิดชอบกิจกรรมที่จะจัดทีมสภาผู้นำหมู่บ้าน ในด้านจิตอาสาต่อชุมชน - ทีมสภาผู้นำเยาวชนได้รู้บทบาทหน้าที่การทำงานต่อชุมชนและเรื่องการทำงานด้านจิตอาสา

  • กลุ่มอสม. กลุ่มแม่บ้าน กลุ่มสภาเด็กและเยาวชน ฝ่ายปกครอง ฝ่ายท้องถิ่น อนามัย อบต.
875.00 875.00 35 30 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

  - ชุมชนได้ความรู้จากวิทยากร จากการคัดแยกขยะ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในครัวเรือน
- หน่วยงานในชุมชน ให้ความร่วมมือในกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง

  • อสม. แม่บ้านสภาเด็กเยาวชนตำบลเกาะสาหร่าย ผู้นำชุมชน อนามัย อบต.
875.00 875.00 35 35 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • กรรมการให้ความร่วมมือ และทุกหน่วยงานให้ความร่วมมือด้านการจัดการขยะ อย่างลงตัว
  • อบต. โรงเรียน อนามัย ให้ความร่วมมือกับกิจกรรมการจัดการขยะในชุมชน

กิจกรรมหลัก : ประชุมทีมสภาผู้นำในการจัดทำแบบสำรวจข้อมูลสถานการณ์ปัญหาขยะที่มีในพื้นที่หมู่ที่ 5 บ้านเกาะสาหร่ายi

9,470.00 0 ผลผลิต

จัดกิจกรรมวันที่ 6 ก.พ. 59 มีผู้เข้าร่วมประชุมจำนวน 34 คน เป็นการประชุมออกแบบแบบสำรวจขยะที่มีในชุมชน


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

คณะทำงานมีความเข้าใจ รู้ข้อดีของการจัดทำฐานข้อมูลสถานการณ์ปัญหาในเรื่องขยะที่มีในชุมชน และได้ร่วมกันออกแบบสำรวจในการจัดทำฐานข้อมูลปัญหาขยะที่มีในพื้นที่ ได้ชุดข้อมูลสำรวจปัญหาขยะในพื้นที่ จำนวน 1 ชุด

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

  • แกนนำในชุมชนอสม. แม่บ้านเยาวชนคณะครูและประชาชนทั่วไป
  • ประชุมเพื่อทำความเข้าใจเรื่องข้อดีของการได้มาซึ่งข้อมูลและร่วมกันออกแบบ แบบสำรวจที่จะต้องลงเก็บข้อมูล
9,470.00 9,370.00 36 34 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • นัดทีมคณะทำงานมาหารือตกลงกำหนดวันในการลงเก็บข้อมูลในวันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2558
  • ได้แบบสำรวจข้อมูลจำนวน 1 ชุด

กิจกรรมหลัก : ประชุมทีมคณะทำงานลงเก็บข้อมูลi

4,400.00 0 ผลผลิต

จัดกิจกรรมวันที่ 7 ก.พ. 59 มีผู้เข้าร่วมประชุมจำนวน 31 คน เป็นการประชุมคณะทำงานทำความเข้าใจ วางแผนในการลงพื้นที่สำรวจข้อมูล


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)
  • ทีมคณะทำงานเก็บข้อมูลมีความเข้าใจแบบสำรวจและมีแผนในการเก็บข้อมูล
  • ได้ข้อสรุปกำหนดวันในการลงพื้นที่เก็บข้อมูล

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

  • มีแกนนำ อสม.และกลุ่มเยาวชนเข้าร่วม จำนวน 31คน
  • มีการแบ่งโซนการรับผิดชอบตามเขตความรับผิดชอบของ อสม.
  • เยาวชนจับคู่กับแกนนำในการลงพื้นที่สำรวจ
4,400.00 4,240.00 31 31 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ได้ข้อสรุปกำหนดวันในการลงพื้นที่เก็บข้อมูลเป็นวันที่13 กุมภาพันธ์2558

กิจกรรมหลัก : การประชุมร่วมกับ สสส. สจรส.ม.อ. และพี่เลี้ยงผู้ติดตามi

10,000.00 2 ผลผลิต

จัดกิจกรรมปฐมนิเทศน์โครงการวันที่ 7-8 ต.ค. 58 เป็นการชี้แจงทำความเข้าใจการดำเนินงานตามแผนโครงการที่ได้วางไว้และอบรมเขียนรายงานกิจกรรมให้กับพื้นที่รับโครงการวันที่ 4 ธ.ค. 58 ได้มีการพบพี่เลี้ยงอย่างต่อเนื่องเพื่อปรึกษาเรื่องการจัดการเอกสารการเงินและการรายงานกิจกรรมในเวบไซค์


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)
  • ตัวแทนคณะทำงานพื้นที่รับโครงการมีความเข้าใจการทำงานและสามารถดำเนินจัดกิจกรรมได้ตามแผนงานที่วางไว้

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 11 ครั้ง

  • เจ้าหน้าที่ข้อมูลโครงการ
2,000.00 1,240.00 2 1 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ได้รู้แนวทางในอบรม เพื่อจะเอามาใช้ในการดำเนินโครงการตามเป้าหมายที่วางไว้
  • ได้รับความรู้จากการอบรมคีย์ข้อมูลของโครงการ
  • ได้รับความรู้การทำรายรับรายจ่าย ในด้านการเงิน
  • ผู้รับผิดชอบดครงการ  นายอำหรน  หมัดตุกังผุ้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 5 นางสาวสะอีด๊ะ  สาดล  ประธานโครงการ   นางสาวรำล๊ะ  วัฒนะ  กรรมการ
0.00 500.00 3 3 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ได้ทำการดำเนินการตามแผนที่วางไว้แล้ว

ผู้รับผิดชอบโครงการของแต่ละพื้นที่ ที่ได้รับการอนุมัติโครงการ

2,000.00 540.00 2 0 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

บันทึกรายงานผลการทำกิจกรรมโครงการ เข้าใจการเขียนใบสำคัญรับเงิน การออกใบเสร็จร้านค้าที่ถูกต้อง มีการบริหารวางแผนทำกิจกรรมและเข้าใจเรื่องการเขียนรายงานผลลัพธ์ผลิต

  • น.ส. สะอีด๊ะ สาดล
  • น.ส. วริสา สาดล
0.00 740.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • เข้าใจหลักการในการจัดทำรายงานการดำเนินกิจกรรมโครงการ และการจัดทำเอกสารการเบิกจ่ายงบประมาณมากยิ่งขึ้น
  • ผู้รับผิดชอบโครงการ 2 คน
0.00 740.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ทำรายงาน  ลงข้อมูล  ทำรายงานการเงิน
  • ตรวจเอกสารกิจกรรมโครงการ พร้อมกับรายงานการเงิน เพื่อปิดงวดโครงการ ครั้งที่ 1
2,000.00 1,500.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ตรวจเอกสารกิจกรรมโครงการ พร้อมกับรายงานการเงิน เพื่อปิดงวดโครงการ ครั้งที่ 1

คณะทำงานโครงการ

0.00 740.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เข้าใจการทำการเงิน

คณะทำงานโครงการ

0.00 740.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เข้าใจการทำการเงิน

  - นางสาวสะอีด๊ะ  สาดล
- นางสาวรำล๊ะ วัฒนะ

3,400.00 3,400.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

  - ได้รับข้อมูลจากภาคีเครือข่ายทุกหน่วยงาน
- ได้เห็นนวัตกรรม ของโครงการ ที่ได้ต่อยอด สสส. มาตลอด

ผู้รับผิดชอบโครงการ

600.00 740.00 2 1 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ได้รายงาน

  • พี่เลี้ยงโครงการ
  • พื้นที่ปฏิบัติการ
0.00 0.00 1 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ได้มีการตรวจสอบเอกสารการเงินโครงการจนสามารถปิดโครงการได้
  • พื้นที่คณะทำงานได้เติมเต็มข้อมูลในรายงานกิจกรรม

กิจกรรมหลัก : ทำป้ายสัญลักษณ์เขตปลอดบุหรี่ ถ่ายภาพกิจกรรม และจัดทำรายงานi

3,000.00 2 ผลผลิต

จัดทำป้ายรณรงค์เขตปลอดบุหรี่วันที่ 9 พ.ย. 58 เพื่อประชาสัมพันธ์รณรงค์สถานที่ปลอดบุหรี่ในชุมชน


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)
  • ได้ป้ายรณรงค์ประชาสัมพันธ์เขตปลอดบุหรี่

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 2 ครั้ง

คนในชุมชน

1,000.00 535.00 2 250 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จัดพื้นที่เขตปลอดบุหรี่ในชุมชน ได้ตระหนักไม่สูบบุหรี่ในพื้นที่ดังกล่าว

ผู้รับผิดชอบ

2,000.00 2,000.00 2 1 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ได้รายงาน และรูปภาพเผยแพร่ให้ผู้สนใจต่อไป

2.3.1 นวัตกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ

(นวัตกรรมคือ การจัดการความคิด กระบวนการ ผลผลิต และ/หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสม มาใช้งานให้เกิดประสิทธิผล และ/หรือประสิทธิภาพมากกว่าเดิมอย่างชัดเจน)

ชื่อนวัตกรรมคุณลักษณะ/วิธีการทำให้เกิดนวัตกรรมผลของนวัตกรรม/การนำไปใช้ประโยชน์
2.3.2 โครงการเด่น (Best Practice)

(โครงการเดิ่น คือ โครงการสร้างเสริมสุขภาพให้สัมฤทธิ์ผลที่เป็นรูปธรรมแล้วขยายผลอย่างยั่งยืน โดยแนวคิดกระบวนการ และผลงาน สามารถเป็นตัวอย่างที่จะนำไปขยายผลในชุมชน (Setting) อื่น ๆ ได้ การดำเนินงานมีส่วนร่วมของภาคีที่หลากหลาย มีการบริหารจัดการที่ดี โปร่งใสและตรวจสอบได้)

ชื่อ Best Practiceวิธีการทำให้เกิด Best Practiceผลของ Best Practice / การนำไปใช้ประโยชน์
2.3.3 เกิดแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านการสร้างเสริมสุขภาพในประเด็นต่าง ๆ
ชื่อ-สกุลที่อยู่ติดต่อได้สะดวกคุณสมบัติแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลง
2.3.4 มีสภาพแวดล้อมและปัจจัยทางสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพ

เกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพในชุมชนพื้นที่โครงการดังนี้

สถานที่/พื้นที่ ที่เปลี่ยนแปลงรายละเอียดการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น

ส่วนที่ 3 : ปัญหาและอุปสรรคสำคัญที่มีผลกระทบต่อการดำเนินงาน

3.1 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเด็นปัญหา/อุปสรรคการแก้ไขของผู้รับทุนข้อเสนอแนะ/การแก้ไขปัญหาและการเสริมพลังของผู้ติดตาม
3.2 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเภทความเสี่ยง / ปัจจัยเสี่ยงระดับความเสี่ยง
(จากมากไปหาน้อย)
ข้อมูล ข้อสังเกตุ และข้อคิดเห็นของผู้ติดตาม
3210
1. ความเสี่ยงด้านการดำเนินงาน (Operational Risks)
1.1 โครงสร้างการดำเนินงาน

การดำเนินงานพื้นที่มีโครงสร้างการทำงานแต่ยังไม่นำกลไกที่มีใช้ประโยชน์ในการทำงานแบบมีส่วนร่วมแต่ทางพี่เลี้ยงก็ให้คำแนะนำให้ทางผู้ประสานงานโครงการได้ชักชวนคนที่มีความเข้าใจมาช่วยงานในพื้นที่

1.2 ศักยภาพและทักษะการดำเนินงาน

คนทำงานมีความรู้ความเข้าใจแต่ยังขาดทักษะในบางเรื่องทำให้การทำงานยังล่าช้า พี่เลี้ยงก็ให้คำแนะนำการทำงานทำให้มีคนทำงานที่มีทักษะในการทำงานเพิ่มมากขึ้น

1.3 ผลลัพธ์และผลสำเร็จของการดำเนินงาน

จากการพูดคุยทำให้ผลการทำงานของพื้นที่เป็นไปตามแผนงานที่วางไว้

2. ความเสี่ยงทางการเงิน (Financial Risks)
2.1 ระบบและกลไกการบริหารจัดการ

มีการเบิกจ่ายเงินโดยสามารถถอนเงินจากบัญชีได้ 2 ใน 3 แต่ก็ยังถอนเงินมาไว้เป็นเงินสดในมือมากกว่า 5,000 บาททางพี่เลี้ยงก็ให้คำแนะนำให้พื้นที่นำเงินที่เกินไปฝากคืนในบัญชีธนาคาร

2.2 การใช้จ่ายเงิน

มีการใช้จ่ายเงินไปตามแผนงานกิจกรรมที่วางไว้

2.3 หลักฐานการเงิน

ยังขาดความเข้าใจในการจัดทำเอกสารการเงินพี่เลี้ยงก็ให้คำแนะนำทำให้คณะทำงานพื้นที่มีความเข้าใจมากขึ้น

ผลรวม 0 0 4 0
ผลรวมทั้งหมด 4 ระดับความเสี่ยง : ???
เกณฑ์วัดระดับความเสี่ยง ???
สรุปการแก้ไขความเสี่ยง แก้ไขแล้ว ยังไม่ได้แก้ไข

ส่วนที่ 4 : สรุปความเห็นของผู้ติดตาม

ส่วนที่ 4สรุปความเห็นของผู้ติดตาม
4.1 กรณีเบิกเงินงวด/ติดตามเยี่ยมชม มีแนวโน้มสำเร็จตามเป้าหมายโครงการและติดตามปกติ
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

กิจกรรมสามารถดำเนินการได้ถึงแม้จะล่าช้าไปบ้างแต่ในส่วนการถอนเงินเพื่อจัดกิจกรรมทางพื้นที่ได้ถอนเงินมาไว้ในมือเกิน 5,000 บาทด้วยเหตุผลการเดินทางมาถอนเงินเนื่องเป็นพื้นที่เกาะแต่ทางพี่เลี้ยงก็ได้ให้คำแนะนำให้พื้นที่ได้นำเงินไปฝากคืนแล้วถอนเงินมาใช้ตามกิจกรรม

มีแนวโน้มเสี่ยง ต้องติดตามอย่างใกล้ชิด เนื่องจาก
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีความเสี่ยง ต้องยุติโครงการ เนื่องจาก
4.2 กรณีสรุปปิดโครงการ ดำเนินงานได้ตามแผนปฏิบัติการและสามารถปิดโครงการได้
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ไม่เป็นไปตามแผนปฏิบัติการ ให้ดำเนินการจัดระบบการเงิน ระบบรายงานให้ถูกต้องก่อนปิดโครงการ
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ส่วนที่ 5 : สรุปภาพรวมของการติดตามประจำงวด (ข้อสังเกต/สิ่งดีๆ ที่ค้นพบ/ข้อพึงระวัง/บทเรียนที่ได้)

  • พื้นที่มีการพัฒนากลไกคณะกรรมการหมู่บ้านเป็นกลไกสภาผู้นำหมู่บ้านที่มีสมาชิกเพิ่มมาจากกลุ่มองค์กรต่างๆที่มีในชุมชน
  • เกิดการทำงานแบบมีส่วนร่วมมีหน่วยงานเข้ามามากขึ้น เช่น อบต. โรงเรียน

สร้างรายงานโดย อนัญญา แสะหลี