แบบบันทึกการติดตามสนับสนุนโครงการ ครั้งที่ 3

รหัสโครงการ 58-03963
สัญญาเลขที่ 58-00-1916

ชื่อโครงการ รักษ์เกาะสาหร่าย หมู่ที่ 5 ตำบลเกาะสาหร่าย อำเภอเมือง จังหวัดสตูล
รหัสโครงการ 58-03963 สัญญาเลขที่ 58-00-1916
ระยะเวลาตามสัญญา 15 กันยายน 2558 - 15 ตุลาคม 2559

ส่วนที่ 1 : ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม

1.1 ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 1 นางสาวอนัญญา แสะหลี
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 2 นางกัลยทรรศน์ ติ้งหวัง
วันที่ลงพื้นที่ติดตาม 15 ตุลาคม 2559
วันที่ส่งรายงานถึง สสส. 15 ตุลาคม 2559
1.2 ผู้ให้ข้อมูล
ลำดับชื่อ-สกุลผู้ให้ข้อมูลที่อยู่หมายเลขโทรศัพท์
1 นางสาวสะอีด๊ะ สาดน ต.เกาะสาหร่าย อ.เมือง จ.สตูล 0894663235

ส่วนที่ 2 : ข้อมูลโครงการและความก้าวหน้าการดำเนินงาน

2.1 วัตถุประสงค์และตัวชี้วัดความสำเร็จโครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ตัวชี้วัดความสำเร็จ

1.

เพื่อสร้างจิตสำนึกให้กับคนในชุมชนในการจัดการขยะ

  • เกิดแกนนำ 2 รุ่น อาสาสมัครสาธารณสุข 25 คน เยาวชน 25 คน
  • มีความรู้การคัดแยกขยะ

2.

เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชนสามารถพึ่งตนเองได้

  • เกิดครัวเรือนต้นแบบ 30 ครัวเรือน
  • เกิดธนาคารขยะ
  • มีกติการ่วม

3.

เพื่อพัฒนายกระดับกลไกการขับเคลื่อนงานของชุมชน

  • มีคณะทำงานโครงการจำนวน 15 คน จำนวน 1 ชุด
  • มีสภาหมู่บ้านจำนวน 1 สภา
  • สมาชิกสภาประกอบด้วยกรรมการหมู่บ้านและตัวแทนกลุ่มต่าง ในชุมชนจำนวน 35 คน
  • มีการประชุมสภาผู้นำ 10 ครั้ง
  • มีผู้เข้าร่วมประชุมไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80
  • มีแผนปฏิบัติการในชุมชนอย่างน้อย 5แผนงาน

4.

เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบโครงการ และสนับสนุนการทำงานของโครงการ

  • มีการเข้าร่วมการประชุมกับ สสส. สจรส.ม.อ. ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 ของจำนวนครั้งที่จัด
  • มีการจัดทำป้าย "สถานที่นี้ปลอดบุหรี่" ติดตั้งในสถานที่จัดกิจกรรม
  • มีการถ่ายภาพการดำเนินงานทุกกิจกรรม
  • มีการจัดทำรายงานส่ง สสส. ตามระยะเวลาที่กำหนด
2.2 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ
กลุ่มเป้าหมายงบประมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงปริมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพ/สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ
ที่ตั้งไว้(บาท)เกิดขึ้นจริง(บาท)จำนวนที่ตั้งไว้(คน)จำนวนเกิดขึ้นจริง(คน)

กิจกรรมหลัก : ประชุมสภาผู้นำหมู่บ้านจำนวน10ครั้งต่อปีi

8,750.00 0 ผลผลิต
  • ประชุมสภาผู้นำหมู่บ้านในงวดที่ 3 จำนวน 2 8รั้งประกอบด้วยครั้งที่ 9 จัดกิจกรรมวันที่ 12 ต.ค.59 มีผู้เข้าร่วมประชุม 35 คน และครั้งที่ 10 จัดกิจกรรมวันที่ 14 ต.ค.59 มีผู้เข้าร่วมประชุมจำนวน 35 คน เป็นการประชุมวางแผนการทำงานและทบทวนการทำงานของพื้นที่

ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)
  • คณะทำงานได้จัดทำแผนงานกิจกรรมอยา่งต่อเนื่องในชุมชน
  • คณะทำงานได้หารือเรื่องข้อมูลเรื่องการจัดการขยะ นำไปสู่ชุมชน เพื่อพัฒนาต่อไปให้ยั่งยืน

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 10 ครั้ง

  • ตัวแทนฝ่ายปกครอง ครู เยาวชน นายกอบต. ส.อบต. ผู้นำศาสนา
875.00 750.00 35 30 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • เพื่อเป็นกลไกในการขับเคลื่อนงานของชุมชนอย่างต่อเนื่อง มีแผนปฏิบัติการในการทำงานแต่ล่ะครั้ง
  • มีสภาผู้นำเยาวชน จำนวน 1 สภา และสภาผู้นำ จำนวน 1 สภา

คณะกรรมการโครงการ  ผู้นำชุมชน  เยาวชน

875.00 750.00 35 30 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • จัดเวทีครัวเรือน ในวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2559
  • กำหนดสถานที่ดูงานนอกสถานที่ วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2559
  • คณะทำงานประกอบด้วย เยาวชน จำนวน 15 คน และแกนนำชุมชน จำนวน 15 คน
875.00 875.00 35 30 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • คณะทำงานโครงการร่วมกับเยาวชนได้ปรึกษาหารือ วิเคราะห์สังเคราะห์ข้อมูลขยะ
  • ได้นัดและกำหนดวันในการสังเคราะห์ข้อมูลในวันที่ 3 มีนาคม 2559 จำนวน 1 วัน ณ มาตาฮารีโฮมเสตย์
  • ได้มีกลุ่มเป้าหมาย วิเคราะห์สังเคราะห์ข้อมูลขยะ จำนวน 31 คน พร้อมวิทยากร 1 คน
  • ทีมคณะกรรมการได้จัดรูปแบบในการสังเคราะห์ข้อมูล ร่วมกับเยาวชน
  • สภาผู้นำหมู่บ้าน เยาวชนอสม. แม่บ้าน กลุ่มองค์กรต่าง ๆ จำนวน 35 คน
875.00 875.00 35 35 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • การสรุปการเงิน สรุปภาพกิจกรรมที่ผ่านมา ตามแผนที่วางไว้ในโครงการ

สภาผู้นำชุมชน เยาวชน อสม. กลุ่มแม่บ้าน กลุ่มองค์กรต่าง ๆอบต. จำนวน 35 คน

875.00 875.00 35 35 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ได้เพิ่มเติมเรื่องการจัดการขยะ ในชุมชน โรงเรียน ตามสถานที่ รีสอร์ทต่าง ๆ และที่สาธารณประโยชน์ ริมทะเล ช่วยกันรักษาดูแล เพื่อไม่ให้กระทบต่อชุมชนในการต้อนรับนักท่องเที่ยว และการจัดการขยะให้เป็นระบบ ของชุมชนและอบต.ที่รับผิดชอบในการเก็บขยะ เพื่อทำลายให้ถูกลักษณะและเหมาะสม
  • สภาผู้นำชุมชน เยาวชน อสม. กลุ่มแม่บ้าน องค์กรหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง อบต. จำนวน 35 คน
875.00 875.00 35 35 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ดำเนินการแก้ไขปฏิทินการดำเนินงาน ของแต่ละกิจกรรมและได้วางปฏิทินการดำเนินงานใหม่ ในการดำเนินกิจกรรมโครงการครั้งต่อไป
  • สภาผู้นำหมู่บ้าน สภาเยาวชนตำบลเกาะสาหร่าย อสม. กลุ่มแม่บ้าน อบต. ฝ่ายปกครอง
875.00 875.00 39 39 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ได้ความร่วมมือจากคณะทำงานและทีมสภาผู้นำเยาวชน อสม. กลุ่มแม่บ้าน อบต.
    • ได้จัดทำแผนงานกิจกรรมอยา่งต่อเนื่องในชุมชน
    • ได้ข้อมูลเรื่องการจัดการขยะ นำไปสู่ชุมชน เพื่อพัฒนาต่อไปให้ยั่งยืน
  • คณะกรรมการสภาผู้นำเยาวชน กลุ่มอสม. แม่บ้าน อบต. ฝ่ายปกครอง คณะครู
875.00 875.00 35 35 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

  - ขบวนการการทำงานของคณะกรรมการทีมสภาเยาวชน กลุ่ม อสม. แม่บ้าน คณะครู ฝ่ายปกครอง - มอบหมายให้รับผิดชอบกิจกรรมที่จะจัดทีมสภาผู้นำหมู่บ้าน ในด้านจิตอาสาต่อชุมชน - ทีมสภาผู้นำเยาวชนได้รู้บทบาทหน้าที่การทำงานต่อชุมชนและเรื่องการทำงานด้านจิตอาสา

  • กลุ่มอสม. กลุ่มแม่บ้าน กลุ่มสภาเด็กและเยาวชน ฝ่ายปกครอง ฝ่ายท้องถิ่น อนามัย อบต.
875.00 875.00 35 30 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

  - ชุมชนได้ความรู้จากวิทยากร จากการคัดแยกขยะ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในครัวเรือน
- หน่วยงานในชุมชน ให้ความร่วมมือในกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง

  • อสม. แม่บ้านสภาเด็กเยาวชนตำบลเกาะสาหร่าย ผู้นำชุมชน อนามัย อบต.
875.00 875.00 35 35 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • กรรมการให้ความร่วมมือ และทุกหน่วยงานให้ความร่วมมือด้านการจัดการขยะ อย่างลงตัว
  • อบต. โรงเรียน อนามัย ให้ความร่วมมือกับกิจกรรมการจัดการขยะในชุมชน

กิจกรรมหลัก : แลกเปลี่ยนเรียนรู้ต่างพื้นที่i

13,900.00 0 ผลผลิต
  • แลกเปลี่ยนเรียนรู้ต่างพื้นที่เรื่องการจัดการขยะในครัวเรือนและชุมชนจัดกิจกรรมวันที่ 31 ส.ค.59 มีผู้เข้าร่วมจำนวน 30 คน

ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)
  • ผู้ที่ไปแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ได้มีความรู้เพิ่มเติม จากการไปแลกเปลี่ยนในครั้งนี้ และสามารถนำมาพัฒนาหมู่บ้านชขับเคลื่อนในการจัดการขยะได้ต่อไป

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

  • กลุ่ม อสม. กลุ่มแม่บ้าน ผู้นำชุมชน อบต.
13,900.00 9,700.00 30 34 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

  - ผู้ทีไปแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ได้มีความรู้เพิ่มเติม จากการไปแลกเปลี่ยนในครั้งนี้ และสามารถนำมาพัฒนาหมู่บ้านได้ต่อไป

กิจกรรมหลัก : ประชุมครัวเรือนนำร่อง จำนวน 60 ครัวเรือนi

11,440.00 0 ผลผลิต
  • ประชุมครัวเรือนนำร่อง ในการจัดการขยะจัดกิจกรรมวันที่ 24 ส.ค.59 มีผู้เข้าร่วมประชุมจำนวน 62 คนเป็นการคัดเลือกและทำความเข้าใจครัวเรือนที่มีความสนใจเรื่องการจัดการขยะ

ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)
  • ได้ร่วมกันกำหนดกติการ่วมในการเป็นครัวเรือนต้นแบบ
  • ครัวเรือนได้ความรู้จากวิทยากร เรื่องการคัดแยกขยะ การทำปุ๋ยหมักชีวภาพ จุดปลอดขยะในชุมชน เกี่ยวกับขยะอันตราย การวางจุดทิ้งขยะให้เป็นระบบ เพื่อความเรียบร้อยในชุมชน และได้มีการแบ่งสีถังขยะได้อย่างชัดเจน

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

  • กลุ่มครัวเรือนอาสา จำนวน 62 ครัวเรือน อสม. แม่บ้าน และกลุ่มจิตอาสาในชุมชน
11,440.00 11,240.00 60 62 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

  - ครัวเรือนได้ความรู้จากวิทยากร เรื่องการคัดแยกขยะ การทำปุ๋ยหมักชีวภาพ จุดปลอดขยะในชุมชน เกี่ยวกับขยะอันตราย การวางจุดทิ้งขยะให้เป็นระบบ เพื่อความเรียบร้อยในชุมชน และได้มีการแบ่งสีถังขยะได้อย่างชัดเจน

กิจกรรมหลัก : อบรมให้ความรู้ครัวเรือนนำร่องเรื่องการจัดการขยะi

18,440.00 0 ผลผลิต
  • อบรมให้ความรู้ครัวเรือนนำร่องเรื่องการจัดการขยะจัดกิจกรรมวันที่ 20 ก.ย.59 มีผู้เข้าร่วมประชุมจำนวน 62 คน เป็นการอบรมให้ความรู้การจัดการขยะการนำขยะไปแปรรูปในรูปแบบต่างๆ

ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)
  • ครัวเรือนนำร่อง มีความเข้าใจเรื่องการคัดแยกขยะ การทำทำปุ๋ยหมักชีวภาพ การทำปุ๋ยหมักชีวภาพจากมูลสัตว์และเศษอาหาร หรือขยะเปียก
  • มีความรู้เพิ่มเติมการนำขยะมารีไซเคิลมาทำปุ๋ยหมัก ขยะที่ขายได้นำไปขาย ขยะอันตรายนำไปแลกเป็นของใช้ - สร้างจิตสำนึกให้กับทุกคนในเรื่องการจัดการขยะ ลดการใช้ถุงพลาสติก โฟม

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

  • กลุ่มแม่บ้าน กลุ่มอสม. ครัวเรือนนำร่อง จำนวน 62 ครัวเรือน อบต. สภาเยาวชนบ้านเกาะสาหร่าย ผู้นำชุมชน
18,440.00 16,690.00 62 62 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ครัวเรือนนำร่อง มีความเข้าใจเรื่องการคัดแยกขยะ การทำทำปุ๋ยหมักชีวภาพ การทำปุ๋ยหมักชีวภาพจากมูลสัตว์และเศษอาหาร หรือขยะเปียก
    • มีความรู้เพิ่มเติมการนำขยะมารีไซเคิลมาทำปุ๋ยหมัก ขยะที่ขายได้นำไปขาย ขยะอันตรายนำไปแลกเป็นของใช้
    • สร้างจิตสำนึกให้กับทุกคนในเรื่องการจัดการขยะ ลดการใช้ถุงพลาสติก โฟม

กิจกรรมหลัก : อบรมให้ความรู้และจัดตั้งธนาคารขยะi

17,620.00 0 ผลผลิต
  • อบรมให้ความรู้และจัดตั้งธนาคารขยะจัดกิจกรรมวันที่ 20 ก.ย.59 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 61 คน เป็นการพูดคุยเรื่องการจัดตั้งธนาคารขยะและวางแผนในการจัดซื้อขยะ

ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)
  • มีการเรียนรู้ขยะอันตราย การดูแลสุขภาพ การประชาคมเรื่องขยะ มีการรับซื้อขยะในชุมชน
  • มีธนาคารขยะในชุมชน

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

  - กลุ่มแม่บ้าน กลุ่มอสม. กลุ่มครัวเรือนจิตอาสา ข้าราชการ พนักงาน อบต. อนามัย โรงเรียนบ้านเกาะสาหร่าย

17,620.00 13,250.00 61 61 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • มีการเรียนรู้ขยะอันตราย การดูแลสุขภาพ การประชาคมเรื่องขยะ มีการรับซื้อขยะในชุมชน
  • มีการเรียนรู้ขยะอันตราย การเดินสำรวจขยะอันตรายทุกครัวเรือน
    • ทำประชาคม ธนาคารขยะ แลกไข่มีการวัดความดัน ช่างน้ำหนัก ให้กับชาวบ้านที่มาแลกขยะ เพราะเกี่ยวกับสุขภาพ
    • แต่งตั้งคณะกรรมการพร้อมแบ่งหน้าที่ให้กับกรรมการธนาคารขยะ
    • มีการรับซื้อขยะในชุมชน ทุกวันที่ 5 ของทุกเดือน เริ่มจากเวลา 14.00 น. - 17.00 น.

กิจกรรมหลัก : ประชุมคณะกรรมการประเมินครัวเรือนต้นแบบจำนวน 15 คนi

5,000.00 0 ผลผลิต
  • ประชุมคณะกรรมการประเมินครัวเรือนต้นแบบจัดกิจกรรมวันที่ 24 ก.ย.59 มีผู้เข้าร่วมประชุมจำนวน 15 คน เป็นการประชุมคณะทำงานเพื่อวางเกณฑ์ในการลงพื้นที่คัดเลือกครัวเรือนต้นแบบดีเด่นที่มีการปฏิบัติตามเกณฑ์

ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

ได้เกณฑ์ในการประเมินครัวเรือนต้นแบบ คือ

  • ครัวเรือนมีการวางแผนการคัดแยกขยะ
  • ครัวเรือนมีการทำปุ๋ยหมักจากมูลสัตว์
  • ครัวเรือนมีความสะอาด รักสิ่งแวดล้อมในครัวเรือน
  • ครัวเรือนต้องเป็นต้นแบบให้กับชุมชน

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

  - ตัวแทนชุมชน ตัวแทนท้องที่ ตัวแทนท้องถิ่น คณะครู ตัวแทน รพ.สต จำนวน 15 คน

5,000.00 5,000.00 15 15 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

  - ครัวเรือนมีการวางแผนการคัดแยกขยะ
- ครัวเรือนมีการทำปุ๋ยหมักจากมูลสัตว์ - ครัวเรือนมีความสะอาด รักสิ่งแวดล้อมในครัวเรือน - ครัวเรือนต้องเป็นต้นแบบให้กับชุมชน

กิจกรรมหลัก : ลงพื้นที่ประเมินโดยคณะกรรมการ แบ่งประเมินจำนวน 2 วันi

4,500.00 0 ผลผลิต
  • ลงพื้นที่ประเมินโดยคณะกรรมการลงพื้นที่ประเมินจำนวน 2 วีน คือวันที่ 2-3 ต.ค.59 ลงพื้นที่จำนวน 15 คน เป็นการลงพื้นที่ประเมินครัวเรือนต้นแบบตามเกณฑ์ที่วางไว้

ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)
  • ได้ครัวเรือนต้นแบบจาก 60 ครัวเรือน นำร่อง ของโครงการรักษ์เกาะสาหร่าย ที่ได้เข้าร่วมโครงการมาตลอดทุกกิจกรรม
  • ครัวเรือนอาสา ได้มีการคัดแยกขยะก่อนไปทิ้ง
  • ครัวเรือนอาสา ได้ทำปุ๋ยหมัก นำเศษอาหารไปให้สัตว์เลี้ยง เช่น เป็ด ไก่ปลา
  • ครัวเรือนอาสา ได้ทำความสะอาด จัดบริเวณบ้าน เพื่อความเรียบร้อย เป็นบ้านที่น่ามอง
  • ครัวเรือนอาสา ได้จัดการเรื่องการแพร่พันธุ์ของยุงลายในครัวเรือนตนเอง ทุกๆ วันศุกร์ อาทิตย์ละ 1 ครั้ง

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

  • คณะกรรมการ จำนวน 15 คน
4,500.00 4,500.00 15 15 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ครัวเรือนอาสา 60 ครัวเรือนนำร่อง ของโครงการรักษ์เกาะสาหร่าย ที่ได้เข้าร่วมโครงการมาตลอดทุกกิจกรรม
    • ครัวเรือนอาสา ได้มีการคัดแยกขยะก่อนไปทิ้ง
    • ครัวเรือนอาสา ได้ทำปุ๋ยหมัก นำเศษอาหารไปให้สัตว์เลี้ยง เช่น เป็ด ไก่ปลา
    • ครัวเรือนอาสา ได้ทำความสะอาด จัดบริเวณบ้าน เพื่อความเรียบร้อย เป็นบ้านที่น่ามอง
    • ครัวเรือนอาสา ได้จัดการเรื่องการแพร่พันธุ์ของยุงลายในครัวเรือนตนเอง ทุกๆ วันศุกร์ อาทิตย์ละ 1 ครั้ง

กิจกรรมหลัก : รณรงค์ประชาสัมพันธ์ในชุมชนi

3,600.00 0 ผลผลิต
  • รณรงค์ประชาสัมพันธ์ในชุมชนครั้งที่ 5 จัดกิจกรรมวันที่ 30 ก.ย.59 มีผู้ร่วมรณรงค์จำนวน 6 คน

ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)
  • ชาวบ้านให้ความสนใจข้อมูลการประชาสัมพันธ์
  • คนในชุมชนเกิดความตระหนักเรื่องการจัดการขยะ

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 6 ครั้ง

  • พนักงาน อบต. ประชาชนในชุมชน
600.00 600.00 35 35 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

  - พนักงานอบต. และประชาชนในชุมชนเกิดความรู้และเข้าใจมากยิ่งขึ้น - มีต้นไม้เพิ่มยิ่งขึ้น

  - นักเรียนโรงเรียนบ้านเกาะสาหร่าย และประชาชนในชุมชน

600.00 600.00 65 65 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

  - นักเรียนและประชาชนในชุมชนเกิดความรู้มากยิ่งขึ้น - มีต้นไม้เพิ่มมากขี้น  

  • กลุ่ม อสม. ประชาชนในชุมชน
600.00 600.00 40 40 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

  - กลุ่ม อสม. ประชาชนในชุมชน เกิดความรู้เพิ่มมากขึ้น - มีต้นไม้ในที่สาธารณะเพิ่มมากขึ้น

  - ประชาชนในหมู่บ้าน

600.00 600.00 30 30 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

  - ประชาชนที่เข้าร่วมกิจกรรม ได้รับความรู้ เรื่องการจัดการขยะ มากยิ่งขี้น - พัฒนามัสยิดบ้านเกาะยะระโตดใหญ่ ให้ดูสะอาดยิ่งขึ้น - มีต้นไม้ ในที่สาธารณะเพิ่มมากขึ้น 

  - ประชาชนทั่วไปภายในชุมชน

600.00 600.00 1 20 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

  - ชาวบ้านที่เข้าร่วมกิจกรรมได้รับความรู้ในการจัดการขยะ - สำนักสงฆ์เกิดความสะอาดมากยิ่งขึ้น - มีต้นไม้ในสาธารณะเพิ่มขึ้น

  • สอบต. เยาวชน ประธานอสม. กรรมการสำนักสงฆ์ประธานสภาเด็ก
600.00 0.00 6 6 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

  - ทุกหน่วยงานให้ความร่วมมือ ในการประชาสัมพันธ์ดังกล่าว

กิจกรรมหลัก : จัดประชุมผู้เกี่ยวข้อง เพื่อวางมาตรการในการลดการนำเข้าขยะในชุมชน และร้านค้า 1 ครั้งi

6,120.00 0 ผลผลิต
  • จัดประชุมผู้เกี่ยวข้องเพื่อวางมาตรการในการลดทางนำขยะในชุมชนและร้านค้าจัดกิจกรรมวันที่ 26 ก.ย.59 มีผู้เข้าร่วมประชุมจำนวน 36 คน เป็นการประชุมเพื่อจัดทำกติการ่วมของหมู่บ้าน

ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)
  • ได้กติการ่วมโดยมีมาตรการความร่วมมือในการไปซื้อสินค้าไม่เอาถุงพลาสติก เปลี่ยนเป็นถุงผ้าหรือตะกร้า
  • การแยกขยะเปียก เช่น ปลาเปลือกผลไม้ สามารถนำมาทำปุ๋ยหมัก แล้วนำมาใช้ใส่ต้นไม้
  • ขยะที่ย่อยยากแต่บางอย่างสามารถนำมาใช้ได้อีกคือมีการแยกออกเป็นแต่ละประเภท
  • ขยะอันตราย ต้องการเก็บให้ถูกวิธี - การงดใช้โฟมในร้านค้า เพราะมีสารอันตรายต่างๆ
  • น้ำมันให้ใช้แค่ 2 ครั้ง
  • การทำอาหารต้องมีพื้นที่สูง 10 เซนติเมตร
  • ถ้วยชามต้องมีผ้าสีขาวปิดไว้
  • อาหารควรมีการแยก ผักและอาหารสด ถ้ามีเป็นกล่องจะดีมาก
  • ช้อนต้องตั้งให้ถูกต้อง ปลายขึ้นบน
  • ร้านของชำ ชั้นวางของต้องสูง ต้องมีการแยกขนม มีการแนะนำการใช้ถุง ย่าม หรือตะกร้า ควรสำรวจขนมที่ซื้อมาขายให้มีประโยชน์ต่อผู้บริโภค การใส่ผงชูรสไม่ดีต่อสุขภาพ

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

  • ร้านค้าที่ขายของชำ ร้านค้าที่ขนมพื้นบ้าน ขนมพื้นเมือง
6,120.00 6,020.00 36 40 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • การมองความร่วมมือในการไปซื้อของ ไม่เอาถุงพลาสติก เปลี่ยนเป็นถุงผ้าหรือตะกร้า
    • การแยกขยะเปียก เช่น ปลาเปลือกผลไม้ สามารถนำมาทำปุ๋ยหมัก แล้วนำมาใช้ใส่ต้นไม้
    • ขยะที่ย่อยยากแต่บางอย่างสามารถนำมาใช้ได้อีกคือมีการแยกออกเป็นแต่ละประเภท
    • ขยะอันตราย ต้องการเก็บให้ถูกวิธี
    • การงดใช้โฟมในร้านค้า เพราะมีสารอันตรายต่างๆ
    • น้ำมันให้ใช้แค่ 2 ครั้ง
    • การทำอาหารต้องมีพื้นที่สูง 10 เซนติเมตร
    • ถ้วยชามต้องมีผ้าสีขาวปิดไว้
    • อาหารควรมีการแยก ผักและอาหารสด ถ้ามีเป็นกล่องจะดีมาก
    • ช้อนต้องตั้งให้ถูกต้อง ปลายขึ้นบน
    • ร้านของชำ ชั้นวางของต้องสูง ต้องมีการแยกขนม มีการแนะนำการใช้ถุง ย่าม หรือตะกร้า ควรสำรวจขนมที่ซื้อมาขายให้มีประโยชน์ต่อผู้บริโภค การใส่ผงชูรสไม่ดีต่อสุขภาพ

กิจกรรมหลัก : สรุปบทเรียนการทำงานโครงการi

7,940.00 0 ผลผลิต
  • สรุปบทเรียนการทำงานโครงการจัดกิจกรรมวันที่ 12 ต.ค.59 มีผู้เข้าร่วมประชุมจำนวน 35 คน

ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)
  • ได้ร่วมกันทบทวนการทำงานโครงการที่ผ่านมาว่าในการจัดกิจกรรมเกิดประโยชน์กับชุมชนอย่างไร
  • ช่วยการแลกเปลี่ยนจนได้ข้อมูลที่จะนำไปสู่การขับเคลื่อนงานของพื้นที่ต่อไป

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

  • กลุ่ม อสม.
  • กลุ่มแม่บ้าน
  • กลุ่มเยาวชนเกาะสาหร่าย
  • ข้าราชการ
  • อบต.
  • อนามัย
  • โรงเรียน
  • ผู้นำชาวบ้าน
7,940.00 7,740.00 35 40 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • สรุปผลการทำงานโครงการที่ผ่านมา
    • ประชุมวางแผนแบ่งบทบาทหน้าที่ในากรจัดกิจกรรม
    • ประสานวิทยากรมาช่วยในการจัดกระบวนการ
    • พัฒนาศักยภาพทีมสภาหมู่บ้านเพื่อให้มีแนวคิดหลักในการทำงานจิตอาสาและทำให้รู้จักตัวตนของตนเองและผู้อื่น
    • สรุปผลการจัดกิจกรรม

กิจกรรมหลัก : การประชุมร่วมกับ สสส. สจรส.ม.อ. และพี่เลี้ยงผู้ติดตามi

10,000.00 2 ผลผลิต
  • งวดที่ 3 พบพี่เลี้ยงจำนวน 2 ครั้ง คือวันที่ 22 ส.ค.59 และวันที่ 15 ต.ค.59 เพื่อตรวจสอบเอกสารการเงิรและปิดโครงการ
  • เข้าร่วมงานสร้างสุขภาคใต้วันที่ 3-5 ต.ค.59 โดยตัวแทนคณะทำงานพื้นที่จำนวน 2 คน

ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)
  • ได้รับข้อมูลจากภาคีเครือข่ายทุกหน่วยงาน
  • ได้เห็นนวัตกรรม ของโครงการ ที่ได้ต่อยอด สสส. มาตลอด
  • สามารถปิดโครงการได้

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 11 ครั้ง

  • เจ้าหน้าที่ข้อมูลโครงการ
2,000.00 1,240.00 2 1 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ได้รู้แนวทางในอบรม เพื่อจะเอามาใช้ในการดำเนินโครงการตามเป้าหมายที่วางไว้
  • ได้รับความรู้จากการอบรมคีย์ข้อมูลของโครงการ
  • ได้รับความรู้การทำรายรับรายจ่าย ในด้านการเงิน
  • ผู้รับผิดชอบดครงการ  นายอำหรน  หมัดตุกังผุ้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 5 นางสาวสะอีด๊ะ  สาดล  ประธานโครงการ   นางสาวรำล๊ะ  วัฒนะ  กรรมการ
0.00 500.00 3 3 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ได้ทำการดำเนินการตามแผนที่วางไว้แล้ว

ผู้รับผิดชอบโครงการของแต่ละพื้นที่ ที่ได้รับการอนุมัติโครงการ

2,000.00 540.00 2 0 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

บันทึกรายงานผลการทำกิจกรรมโครงการ เข้าใจการเขียนใบสำคัญรับเงิน การออกใบเสร็จร้านค้าที่ถูกต้อง มีการบริหารวางแผนทำกิจกรรมและเข้าใจเรื่องการเขียนรายงานผลลัพธ์ผลิต

  • น.ส. สะอีด๊ะ สาดล
  • น.ส. วริสา สาดล
0.00 740.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • เข้าใจหลักการในการจัดทำรายงานการดำเนินกิจกรรมโครงการ และการจัดทำเอกสารการเบิกจ่ายงบประมาณมากยิ่งขึ้น
  • ผู้รับผิดชอบโครงการ 2 คน
0.00 740.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ทำรายงาน  ลงข้อมูล  ทำรายงานการเงิน
  • ตรวจเอกสารกิจกรรมโครงการ พร้อมกับรายงานการเงิน เพื่อปิดงวดโครงการ ครั้งที่ 1
2,000.00 1,500.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ตรวจเอกสารกิจกรรมโครงการ พร้อมกับรายงานการเงิน เพื่อปิดงวดโครงการ ครั้งที่ 1

คณะทำงานโครงการ

0.00 740.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เข้าใจการทำการเงิน

คณะทำงานโครงการ

0.00 740.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เข้าใจการทำการเงิน

  - นางสาวสะอีด๊ะ  สาดล
- นางสาวรำล๊ะ วัฒนะ

3,400.00 3,400.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

  - ได้รับข้อมูลจากภาคีเครือข่ายทุกหน่วยงาน
- ได้เห็นนวัตกรรม ของโครงการ ที่ได้ต่อยอด สสส. มาตลอด

ผู้รับผิดชอบโครงการ

600.00 740.00 2 1 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ได้รายงาน

  • พี่เลี้ยงโครงการ
  • พื้นที่ปฏิบัติการ
0.00 0.00 1 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ได้มีการตรวจสอบเอกสารการเงินโครงการจนสามารถปิดโครงการได้
  • พื้นที่คณะทำงานได้เติมเต็มข้อมูลในรายงานกิจกรรม

กิจกรรมหลัก : ทำป้ายสัญลักษณ์เขตปลอดบุหรี่ ถ่ายภาพกิจกรรม และจัดทำรายงานi

3,000.00 2 ผลผลิต
  • รูปถ่ายภาพกิจกรรม วันที่ 15 ต.ค.59

ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)
  • ได้ภาพถ่ายกิจกรรมมาจัดทำรายงาน

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 2 ครั้ง

คนในชุมชน

1,000.00 535.00 2 250 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จัดพื้นที่เขตปลอดบุหรี่ในชุมชน ได้ตระหนักไม่สูบบุหรี่ในพื้นที่ดังกล่าว

ผู้รับผิดชอบ

2,000.00 2,000.00 2 1 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ได้รายงาน และรูปภาพเผยแพร่ให้ผู้สนใจต่อไป

2.3.1 นวัตกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ

(นวัตกรรมคือ การจัดการความคิด กระบวนการ ผลผลิต และ/หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสม มาใช้งานให้เกิดประสิทธิผล และ/หรือประสิทธิภาพมากกว่าเดิมอย่างชัดเจน)

ชื่อนวัตกรรมคุณลักษณะ/วิธีการทำให้เกิดนวัตกรรมผลของนวัตกรรม/การนำไปใช้ประโยชน์
2.3.2 โครงการเด่น (Best Practice)

(โครงการเดิ่น คือ โครงการสร้างเสริมสุขภาพให้สัมฤทธิ์ผลที่เป็นรูปธรรมแล้วขยายผลอย่างยั่งยืน โดยแนวคิดกระบวนการ และผลงาน สามารถเป็นตัวอย่างที่จะนำไปขยายผลในชุมชน (Setting) อื่น ๆ ได้ การดำเนินงานมีส่วนร่วมของภาคีที่หลากหลาย มีการบริหารจัดการที่ดี โปร่งใสและตรวจสอบได้)

ชื่อ Best Practiceวิธีการทำให้เกิด Best Practiceผลของ Best Practice / การนำไปใช้ประโยชน์
2.3.3 เกิดแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านการสร้างเสริมสุขภาพในประเด็นต่าง ๆ
ชื่อ-สกุลที่อยู่ติดต่อได้สะดวกคุณสมบัติแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลง
2.3.4 มีสภาพแวดล้อมและปัจจัยทางสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพ

เกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพในชุมชนพื้นที่โครงการดังนี้

สถานที่/พื้นที่ ที่เปลี่ยนแปลงรายละเอียดการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น

ส่วนที่ 3 : ปัญหาและอุปสรรคสำคัญที่มีผลกระทบต่อการดำเนินงาน

3.1 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเด็นปัญหา/อุปสรรคการแก้ไขของผู้รับทุนข้อเสนอแนะ/การแก้ไขปัญหาและการเสริมพลังของผู้ติดตาม
3.2 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเภทความเสี่ยง / ปัจจัยเสี่ยงระดับความเสี่ยง
(จากมากไปหาน้อย)
ข้อมูล ข้อสังเกตุ และข้อคิดเห็นของผู้ติดตาม
3210
1. ความเสี่ยงด้านการดำเนินงาน (Operational Risks)
1.1 โครงสร้างการดำเนินงาน
  • การดำเนินงานพื้นที่มีโครงสร้างการทำงานคณะทำงานสภาผู้นำหมู่บ้านแต่คณะทำงานมีประสบการณ์ในการบริหารจัดการโครงการน้อย มีตัวแทนท้องถิ่นเข้ามาช่วยในการจัดทำรายงานกิจกรรมและร่วมวางแผนในการทำงานการจัดการขยะในชุมชน
1.2 ศักยภาพและทักษะการดำเนินงาน
  • คนทำงานมีความรู้ความเข้าใจแต่ยังขาดทักษะในบางเรื่องทำให้การทำงานยังล่าช้าอยู่และทำงานก็มีภาระงานหลายด้านทำให้ส่งผลต่อการทำงานโครงการ
1.3 ผลลัพธ์และผลสำเร็จของการดำเนินงาน
  • จากการติดตามทำให้ผลการทำงานของพื้นที่เป็นไปตามแผนงานที่วางไว้โดยมีท้องถิ่นได้นำเรื่องการจัดการขยะในชุมชนเข้าไปในแผนงานของท้องถิ่น
2. ความเสี่ยงทางการเงิน (Financial Risks)
2.1 ระบบและกลไกการบริหารจัดการ
  • มีการเบิกจ่ายเงินโดยสามารถถอนเงินจากบัญชีได้ 2 ใน 3 ในการดำเนินโครงการมีการปฏิบัติตามแผนงาน และเกิดประโยชน์สูงสุดกับกลุ่มเป้าหมายจึงมีการทำงานเชิงรุก ประชาสัมพันธ์ถึงชุมชน และนำทุนทางสังคมด้านคน กลุ่ม องค์กรในชุมชนมาร่วมในโครงการ
2.2 การใช้จ่ายเงิน
  • มีแนวทางจัดหาทรัพยากรทางด้านการเงิน ตามแผนการใช้จ่ายแต่อาจจะไม่ตรงกับหมวดแต่ก็มีการปรับแก้ไขอย่างถูกต้อง มีการวางแผนการใช้เงินอย่างมีประสิทธิภาพ
2.3 หลักฐานการเงิน
  • มีเอกสารหลักฐานการใช้จ่ายเงินครบทุกกิจกรรม
  • มีเอกสารทางการเงินถูกต้องและมีใบปะหน้าทุกกิจกรรม
  • มีการเก็บเอกสารในแฟ้มเพื่อการค้นหาได้สะดวก
ผลรวม 0 0 0 0
ผลรวมทั้งหมด 0 ระดับความเสี่ยง : ???
เกณฑ์วัดระดับความเสี่ยง ???
สรุปการแก้ไขความเสี่ยง แก้ไขแล้ว ยังไม่ได้แก้ไข

ส่วนที่ 4 : สรุปความเห็นของผู้ติดตาม

ส่วนที่ 4สรุปความเห็นของผู้ติดตาม
4.1 กรณีเบิกเงินงวด/ติดตามเยี่ยมชม มีแนวโน้มสำเร็จตามเป้าหมายโครงการและติดตามปกติ
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีแนวโน้มเสี่ยง ต้องติดตามอย่างใกล้ชิด เนื่องจาก
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีความเสี่ยง ต้องยุติโครงการ เนื่องจาก
4.2 กรณีสรุปปิดโครงการ ดำเนินงานได้ตามแผนปฏิบัติการและสามารถปิดโครงการได้
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น
  • จากการติดตามการดำเนินงานของพื้นที่คณะทำงานให้ความสำคัญกับการทำกิจกรรมที่มีการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องแต่ขาดการบันทึกการประชุมและมีคนทำงานที่สามารถใช้คอมพิวเตอร์น้อยทำให้มีมีคนที่ช่วยคีย์ข้อมูลแต่ก็มีทางท้องถิ่นมอบเจ้าหน้าที่มาให้ช่วยในเรื่องข้อมูลแต่ก็ได้เป็นบางครั้งเนื่องจาก เจ้าหน้าที่มีงานประจำแต่ด้วยความพยายามของผู้ประสานงานโครงการทำให้กิจกรรมบรรลุไปตามแผนงานกิจกรรมที่วางไว้
ไม่เป็นไปตามแผนปฏิบัติการ ให้ดำเนินการจัดระบบการเงิน ระบบรายงานให้ถูกต้องก่อนปิดโครงการ
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ส่วนที่ 5 : สรุปภาพรวมของการติดตามประจำงวด (ข้อสังเกต/สิ่งดีๆ ที่ค้นพบ/ข้อพึงระวัง/บทเรียนที่ได้)

  • จากการติดตามการดำเนินงานโครงการเป็นไปตามแผนงานที่วางไว้ มีท้องถิ่นหน่วยงาน เช่น โรงเรียน ท้องถิ่น รพสต.เข้ามามีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมและร่วมกันวางแผนการทำงาน และท้องถิ่นนำการจัดการขยะเข้าไปอยู่ในแผนของท้องถิ่น ซึ่งกิจกรรมที่ดำเนินการคือการประชุมสภผู้นำหมู่บ้านที่มมีตัวแทนของคณะกรรมการหมู่บ้านและตัวแทนกลุ่มองค์กรต่างๆที่มีในชุมชน ได้ไปแลกเปลี่ยนเรียนรู้การทำงานต่างพื้นที่ทำให้ผู้ที่ไปแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ได้มีความรู้เพิ่มเติม จากการไปแลกเปลี่ยนในครั้งนี้ และสามารถนำมาพัฒนาหมู่บ้านชขับเคลื่อนในการจัดการขยะได้ ประชุมครัวเรือนนำร่อง ในการจัดการขยะจนได้กำหนดกติการ่วมในการเป็นครัวเรือนต้นแบบซึ่งในครัวเรือนจะต้องมีการคัดแยกขยะ การทำปุ๋ยหมักชีวภาพ จุดปลอดขยะในชุมชน เกี่ยวกับขยะอันตราย การวางจุดทิ้งขยะให้เป็นระบบ เพื่อความเรียบร้อยในชุมชน และได้มีการแบ่งสีถังขยะได้อย่างชัดเจน เมื่อได้ครัวเรือนนำร่องแล้วก็อบรมให้ความรู้ครัวเรือนนำร่องเรื่องการจัดการขยะทำให้เขาเข้าใจเรื่องการคัดแยกขยะ การทำทำปุ๋ยหมักชีวภาพ การทำปุ๋ยหมักชีวภาพจากมูลสัตว์และเศษอาหาร หรือขยะเปียก การนำขยะมารีไซเคิลมาทำปุ๋ยหมัก ขยะที่ขายได้นำไปขาย ขยะอันตรายนำไปแลกเป็นของใช้ สร้างจิตสำนึกให้กับทุกคนในเรื่องการจัดการขยะ ลดการใช้ถุงพลาสติก โฟม มีการอบรมให้ความรู้และจัดตั้งธนาคารขยะเพื่อรับซื้อขยะของคนในชุมชนและในระหว่างการดำเนินกิจกรรมก็มีการประชาสัมพันธ์ให้คนในชุมชนได้รับทราบเรื่องอันตรายจากขยะและร่วมกันเดินรณรงค์ให้คนในชุมชนเกิดความตระหนักในการคัดแยกขยะและนำขยะที่ขายได้นำมาขายที่แปรรูปได้ก็แปรรูปใช้ในครัวเรือน สุดท้ายมีการประชุมคณะกรรมการประเมินครัวเรือนต้นแบบเพื่อประเมินครัวเรือนนำร่องที่มีการจัดการขยะได้ครบวงจรแล้วมีการลงพื้นที่ทำการประเมินครัวเรือนต้นแบบนำมาสู่การประกาศครัวเรือนต้นแบบดีเด่นที่ทำในเรื่อวการจัดการขยะได้ดี นำไปสู่การขยายผลสู่ครัวเรือนอื่นๆในชุมชนต่อไป

สร้างรายงานโดย Yuttipong Kaewtong