ศูนย์การเรียนรู้การผลิตข้าวสังหยดอินทรีชีวภาพครบวงจรเพื่อขับเคลื่อนชุมชนท้องถิ่นให้น่าอยู่ที่บ้านควนพัง (ต่อเนื่องปี2)

แบบบันทึกการติดตามสนับสนุนโครงการ ครั้งที่ 1

รหัสโครงการ 58-03879
สัญญาเลขที่ 58-00-2045

ชื่อโครงการ ศูนย์การเรียนรู้การผลิตข้าวสังหยดอินทรีชีวภาพครบวงจรเพื่อขับเคลื่อนชุมชนท้องถิ่นให้น่าอยู่ที่บ้านควนพัง (ต่อเนื่องปี2)
รหัสโครงการ 58-03879 สัญญาเลขที่ 58-00-2045
ระยะเวลาตามสัญญา 15 กันยายน 2558 - 15 ตุลาคม 2559

ส่วนที่ 1 : ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม

1.1 ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 1 นายไพฑูรย์ ทองสม
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 2
วันที่ลงพื้นที่ติดตาม 10 ตุลาคม 2558
วันที่ส่งรายงานถึง สสส. 21 กุมภาพันธ์ 2559
1.2 ผู้ให้ข้อมูล
ลำดับชื่อ-สกุลผู้ให้ข้อมูลที่อยู่หมายเลขโทรศัพท์
1 นางวิมล ส้มนิ่ม บ้านควนพัง ม.2 ต.ควนพัง อ.ร่อนพิบูลย์ จ.นครศรีธรรมราช

ส่วนที่ 2 : ข้อมูลโครงการและความก้าวหน้าการดำเนินงาน

2.1 วัตถุประสงค์และตัวชี้วัดความสำเร็จโครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ตัวชี้วัดความสำเร็จ

1.

เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของคนในชุมชนให้มีเศรษฐกิจครัวเรือนดีขึ้นด้วยวิถีการผลิตข้าวสังข์หยดอินทรีย์ชีวภาพครบวงจร

  1. จำนวนครัวเรือนที่ปรับเปลี่ยนจากการทำสวยยาง สวนปาล์ม มาทำนาอินทรีย์ชีวภาพ ไม่น้อยกว่า 30 ครัวเรือน
  2. รายได้เฉลี่ยของครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 ของรายได้เฉลี่ยนก่อนเข้าร่วมโครงการ(ประมาณ 3,000 บาทต่อเดือนต่อครัวเรือน)
  3. เกิดศูนย์เรียนรู้การผลิตข้าวสังข์หยดอินทรีย์ชีวภาพครบวงจร 1 ศูนย์

2.

เพื่อพัฒนากระบวนการเรียนรู้สู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการผลิตข้าวสังข์หยดอินทรีย์ชีวภาพครบวงจร

  1. จำนวนจำนวนสมาชิกสภาผู้นำที่มาจากกรรมการหมู่บ้าน และสมาชิก อบต. และตัวแทนชาวนา ร้อยละ 80
  2. จำนวนหลักสูตรการเรียนรู้ที่พัฒนาขึ้นเพื่อใช้ในการจัดกระบวนการถ่ายทอดความรู้ไม่น้อยกว่า 3 หลักสูตร
  3. จำนวนครัวเรือนในชุมชนไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ปรับพฤติกรรมโดยใช้สารเคมมีในการเกษตร (ประเมินโดยการสังเกตโดยคณะทำงานโครงการ ร่วมกับการสำรวจปริมาณการขายสารเคมีเพื่อการเกษตรของร้านค้าในชุมชน)

3.

เพื่อปรับสภาพแวดล้อนในชุมชนให้เอื้อต่อการส่ง้สริมการผลิตและการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ที่เกิดจากการแปรรูปข้าวสังข์หยดอินทรีย์ชีวภาพ

  1. เกิดพื้นที่การผลิตข้าวสังข์หยดอินทรีย์รวมของชุมชนเพื่อใช้เป็ยฐานในการสร้างธนาคารเมล็ดพันธุ์และการส่งเสริมการบริโภค ไม่น้อยกว่า 10 ไร่
  2. มีการจัดตลาดนัดชุมชนเพื่อการจำหน่ายผลผลิตและผลิตภัณฑ์ที่แปรรูปจากข้าวสังข์ยหดอินทรีย์ อย่างน้อย เดือนละ 1 ครั้ง
  3. เกิดศูนย์เรียนรู้การผลิตข้าวสังข์หยดอินทรย์ชีวภาพครบวงจร 1 ศูนย์

4.

เพื่อส่งเสริมและผลักดันให้เกิดกลไกการขับเคลื่อนศูนย์การเรียนรู้และกระบวนการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนอย่างต่อเนื่อง

  1. เกิดสภาผู้นำร่วม 3 ฝ่ายประกอบด้วยภาครัฐภาคท้องถิ่น และตัวแทนจากหมู่บ้าน ในการบริหารจัดการศูนย์เรียนรู้ตลาดกลาง และพื้นที่สาธารณะเพื่อการผลิตเมล็ดพันธ์
  2. เกิดข้อตกลงร่วมภายในหมู่บ้านเกี่ยวกับการร่วมกลุ่มการผลิตและการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ข้าวสังข์หยดอินทรีย์ชีวภาพ

5.

เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบโครงการ และสนับสนุนการทำงานของโครงการ

  1. มีการเข้าร่วมการประชุมกับ สสส. สจรส.ม.อ. ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 ของจำนวนครั้งที่จัด
  2. มีการจัดทำป้าย "สถานที่นี้ปลอดบุหรี่" ติดตั้งในสถานที่จัดกิจกรรม
  3. มีการถ่ายภาพการดำเนินงานทุกกิจกรรม
  4. มีการจัดทำรายงานส่ง สสส. ตามระยะเวลาที่กำหนด
2.2 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ
กลุ่มเป้าหมายงบประมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงปริมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพ/สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ
ที่ตั้งไว้(บาท)เกิดขึ้นจริง(บาท)จำนวนที่ตั้งไว้(คน)จำนวนเกิดขึ้นจริง(คน)

กิจกรรมหลัก : ประชุมคณะทำงานและแกนนำในชุมชนi

5,000.00 20 ผลผลิต

เกิดคณะทำงานสภาผู้นำจำนวน 20 คน


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

ทีมสภาผู้นำได้พูดคุยสรุปผลการทำกิจกรรม และวางแผนการทำกิจกรรมในครั้งต่อไป ทำให้ทราบการเคลื่อนไหวของกิจกรรมตลอดเวลา

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 9 ครั้ง

  • คณะทำงาน เยาวชน และแกนนำในชุมชน อสม. จำนวน 43 คน
500.00 500.00 20 43 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • กลุ่มเจ้าหน้าที่ รพ.สต. บ้านทำเนียบ และ อสม. รวมทั้งประชาชนทั่วไปได้รับทราบเกี่ยวกับรายละเอียดของโครงการ ขั้นตอนการดำเนินโครงการร่วมไปถึงได้แสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับโครงการ ว่าเป็นโครงการที่ดี รักษาวัฒนธรรมและฟื้นฟูการทำนา ได้จัดตั้งคณะทำงานร่วมกัน และจะมีการประชุมเพื่อวางแผนการทำโครงการทุกเดือน

คณะทำงานโครงการ จำนวน 6 คน แกนนำชุมชน  จำนวน 33 คน ตัวแทนท้องที่ ท้องถิ่น ภาครัฐ 4 คน

0.00 0.00 20 43 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ชาวบ้านรับรู้การมีโครงการ สสสย่อยอดในปีที่ 2

  • คณะทำงานและประชาชน 20 คน
500.00 500.00 20 20 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • จากการประชุมทำให้แกนในชุมชน สภาผู้นำ และคณะทำงาน มีความเข้มแข็ง รู้จักแก้ปัญหา ในการทำกิจกรรมต่างๆ เกี่ยวกับโครงการเพิ่มขึ้น

คณะทำงานโครงการจำนวน 20 คน แกนนำในชุมชนที่เข้าร่วมดำเนินโครงการจำนวน 19 คน

500.00 500.00 20 39 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต

  1. จากการประชุมคือรายงานผลการดำเนินโครงการได้รับการเติมเต็มจากคณะทำงานและแกนนำที่เข้าร่วมโครงการจนได้เป็นรายงานที่สมบูรณ์ มีการปรับแผน แบ่งหน้าที่ เพื่อให้การดำเนินโครงการเป็นไปตามแผน และสอดคล้องกับสถานการณ์ในพื้นที่
  2. ปัญหาอื่น ๆ ในชุมชนได้รับการนำเสนอในที่ประชุม และที่ประชุมได้ใช้ทักษะในการแก้ไขปัญหาของชุมชน
  • ผลลัพธ์ ที่เกิดขึ้นคือปัญหาอื่น ๆที่นอกเหนือจากการดำเนินโครงการได้รับการนำมาพูดคุยในกลุ่มแกนนำชุมชน และร่วมกันหาทางออก จนสามารถนำไปเสนอต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อขับเคลื่อนในการแก้ปัญหาต่อไป
  • คณะทำงานในโครงการจำนวน 20 คน
  • ชาวบ้านที่สนใจเข้าร่วมโครงการ
500.00 500.00 20 22 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ได้วางแผนการทำกิจกรรมในงวดที่ 2 และได้รายงานการใช้เงินที่ผ่านมาในงวดที่ 1 สรุปค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้น
  • ทำให้ชุมชนมีความเข้มแข็ง รู้จักแก้ปัญหาต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

คณะทำงานในโครงการจำนวน 27 คน

500.00 500.00 20 27 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.ได้รับข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการดำเนินงานให้มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น 2.ผลลัพธ์ สมาชิกได้ช่วยกันพูดคุยและร่วมกันหาทางออกเพื่อขับเคลื่อนชุมชนให้น่าอยู่ยิ่งขึ้น

คณะทำงานโครงการ จำนวน 20 คน

500.00 500.00 20 20 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. ได้จัดทำรายงานข้อมูลต่างๆตามที่ตั้งไว้จนสำเร็๋จ
  2. ทำให้เกิดกลุ่มวิสาหกิจชุมชนสร้างรายได้ให้กับคนในชุมชน

คณะทำงาน จำนวน 20 คน

500.00 500.00 20 20 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. ได้ชี้แจงข้อมูลของโครงการให้สมาชิกรับทราบ
  2. ได้บอกรายละเอียดเกี่ยวกับการฝากเมล็ดพันธุ์ข้าว และขั้นตอนการรับฝาก
  3. เปิดโอกาสให้สมาชิกได้แสดงความคิดเห็น เพื่อปรับปรุงและแก้ไขให้มีประสิทธิภาพ

คณะทำงาน จำนวน 20 คน

500.00 500.00 20 20 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ได้รับข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับโครงการ การทำรายงาน และผลการดำเนินโครงการที่ผ่านมา

กิจกรรมหลัก : สำรวจข้อมูลเพื่อทำแผนที่นิเวศท้องนาi

5,400.00 40 ผลผลิต

ได้ร่างแผนที่ระบบนิเวศน์ทุ่งนาควนพัง จำนวน 1 ชุด ประกอบด้วยพื้นที่แสดงการทำนาอินทรีย์และนาเคมี


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

ทำให้ชาวบ้านทราบข้อมูลสถานการณ์การทำนาอินทรีย์และการทำนาเคมีในหมู่บ้าน

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

  • ประชาชนในชุมชนและเยาวชน 40 คน
5,400.00 5,400.00 40 40 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ได้สำรวจข้อมูลเพื่อทำแผนที่นิเวศ

  1. ได้ทำแผนที่ด้วยมือเกี่ยวกับระบบนิเวศ
  2. สามารถทำให้ประชาชนรู้ถึงข้อมูลชุมชนเกี่ยวกับสภาพในปัจจุบันในการทำนามากขึ้น
  3. ทำให้การทำนาได้ผลดีมากกว่าเดิม

กิจกรรมหลัก : เวทีคืนข้อมูลระบบนิเวศนาให้ชุมชนi

11,500.00 100 ผลผลิต

มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 100 คน


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

ประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับการทำนาอินทรีย์และการทำนาเคมี เห็นความแตกต่างเรื่องต้นทุนการผลิต การดูแลรักษา และอัตราเสี่ยงต่อการเป็นโรคเรื้อรังในชุมชน

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

  • ประชาชนในพื้นที่และคณะทำงานรวมทั้งแกนนำในชุมชน จำนวน 100 คน
11,500.00 12,200.00 100 100 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ประชาชนในชุมชนมีความรู้เกียวกับการผลิตข้าว ทั้งแบบเคมี คือ เสี่ยงต่อการเป็นโรค เนื่องจากในกระบวนการผลิตตั้งแต่เริ่มต้นจะใช้ปุ๋ยเคมี ใช้ยาฆ่าหญ้า จนกระทั่งเก็บเกี่ยว ข้าวออกรวงสวย แต่มีค่าใช้จ่ายเยอะ และเมื่อทานมาก ๆ จะส่งผลให้ร่างกายได้รับสารเคมีสะสม และแบบอินทรีย์ ใช้ปุ๋ยอินทรีย์ที่สามารถผลิตได้เองในหมู่บ้าน มีชาวบ้านมาร่วมมือร่วมแรงกันทำปุ๋ย ลงแขกทำนา จนได้ข้าวที่ออกรวงสวยและมีเงินเหลือเก็บเนื่องจากต้นทุนการผลิตไม่แพง ซึ่งสามรถนำความรู้ที่ได้ไปปรับปรุงแก้ไขปัญหาต่างๆ ในการผลิตข้าวเพิ่มขึ้น

กิจกรรมหลัก : กิจกรรมลงแขกพัฒนาศูนย์เรียนรู้i

6,000.00 50 ผลผลิต
  • เกิดความร่วมมือและทำงานร่วมกันระหว่างชาวบ้านที่ทำนาและนักวิชาการจาก ม.ทักษิณ
  • เกิดการจัดทำศูนย์เรียนรู้ร่วมกัน ได้ทำให้มีการร่วมกันสร้างองค์ความรู้เกิดขึ้นในชุมชน

ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

เกิดศูนย์เรียนรู้ในชุมชนที่ประชาชนร่วมกันพัฒนา คือ แปลงสาธิตการทำนาอินทรีย์ และอาคารศูนย์เรียนรู้การแปรรูปข้าวสังหยด

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

คณะทำงานและผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 50 คน

6,000.00 6,000.00 50 50 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ผลผลิต จากความร่วมมือร่วมใจของคนในชุมชนทำใหเเกิดศูนย์เรียนรู้การผลิตข้าวสังหยดอินทรีย์ครบวงจรขึ้น โดยศูนย์เรียนรู้มี 2 ส่วนหลัก คือส่วนที่เป็นแปลงนาสาธิต และอาคารศูนย์เรียนรู้การแปรรูปข้าวสังหยดและคนในชุมชนได้เข้ามาเรียนรู้กระบวนการผลิตได้จากการลงมือปฏิบัติจริง
  • ผลลัพธ์ เกิดศูนย์เรียนรู้ที่เกิดขึ้นมีประชาชนมาร่วมกันพัฒนามากกว่า 40 คน ทำให้เกิดการมีส่วนร่วมและมีหลักสูตรการเรียนรู้การผลิตข้าวสังหยดอินทรีย์ครบวงจร ประชาชนในพื้นที่ได้เรียนรู้โดยการปฏิบัติจริงในแปลงนาของตนเอง และเยาวชนสามารถเรียนรู้ได้จากแปลงนาสาธิตทำให้กระบวนการผลิตข้าวสังหยดอินทรีย์ได้รับการสืบทอด
  • ความเชื่อมโยงกับสุขภาวะ การดำเนินโครงการสร้างให้เกิดการมีส่วนร่วมของเยาวชนกับผู้ปกครองในการร่วมกันพัฒนาพื้นที่ ทำให้สุขภาวะทางสังคมของชุมชนดีขึ้นนอกจากนี้ยังก่อให้เกิดสุขภาวะทางจิตใจของคนในชุมชนที่ได้ร่วมกันแสดงออกถึงความจงรักษ์ภักดีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ในระหว่างการจัดกิจกรรมนี้ด้วย

กิจกรรมหลัก : กิจกรรมชวนน้องลงนา พัฒนาพื้นที่สาธารณะเพื่อการผลิตข้าวชุมชนi

10,600.00 40 ผลผลิต

เกิดกลุ่มเยาวชนผลิตข้าวอินทรีย์จำนวน 15 คน


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

เยาวชนได้เรียนรู้กระบวนการผลิตข้าวสังหยดอินทรีย์ชีวภาพ ตั้งแต่ ขั้นตอนการทำนา การถอนต้นกล้า และการดำนา

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

  • เยาวชนและคณะทำโครงการ จำนวน 15 คน
5,800.00 10,600.00 54 15 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • เยาวชนได้เรียนรู้กระบวนการผลิตข้าวสังข์หยดอินทรีย์ชีวภาพ ขั้นตอนการทำนา การถอนต้นกล้า และการดำนาทำให้สร้างความสามัคคีกันในหมู่ชาวบ้านและเยาวชนได้เป็นอย่างดีเยี่ยม

กิจกรรมหลัก : การสร้างกระบวนการเรียนรู้กระบวนการผลิตข้าวอินทรีย์ครบวงจรi

46,800.00 60 ผลผลิต

เกิดความร่วมมือในการสร้างศูนย์เรียนรู้ในชุมชนร่วมกันระหว่างนักวิชาการ ม.ทักษิณ และชาวบ้านที่ทำนาอินทรีย์ในชุมชน


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

เกิดหลักสูตรการเรียนรู้ก่อนการผลิตขึ้น โดยนักวิชาการเป็นคนทำหลักสูตรขึ้นมา ใช้องค์ความรู้ที่ได้จากชาวบ้านนำไปเขียนเป็นหนังสือเรียนอีกครั้ง

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

คณะทำงานร่วมกับนักวิชาการ ตัวแทนชุมชน จำนวน 60 คน

46,800.00 46,800.00 60 60 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ได้สาธิตการทำปุ๋ยอินทรีย์ โดยใช้วัสดุจากธรรมชาติ ได้แก่ แกลบ และขีวัว ผสมกันก่อนนำไปหมักอีก 15 วัน เพื่อจัดทำเป็นปุ๋ยใส่ในนาข้าว ทำให้ได้หลักสูตรการเรียนรู้เพื่อใช้ในศูนย์การเรียนรู้ของชุมชน เรื่อง หลักสูตรการเรียนรู้ก่อนการผลิต ซึ่งสอดคล้องกับความชาวบ้านในการเรียนรู้และสามารถนำไปปฏิบัติได้จริง

กิจกรรมหลัก : การประชุมร่วมกับ สสส. สจรส.ม.อ. และพี่เลี้ยงผู้ติดตามi

10,000.00 2 ผลผลิต

เข้าร่วมประชุมกับ สจรส.ม.อ. 3 ครั้ง คือ ปฐมนิเทศโครงการ อบรมการเขียนรายงานและประชุมจัดทำรายงานความก้าวหน้า


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

ได้รับคำแนะนำเรื่องการจัดทำเอกสารการเงินโครงการและการจัดทำรายงานกิจกรรม

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 5 ครั้ง

  • ตัวแทนคณะทำงานจำนวน 2 คน
1,090.00 1,090.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ได้รับความรู้เกี่ยวกับการบริหารจัดการโครงการ และการจัดทำรายงานต่างๆ ผ่านระบบเว็บไซด์ คนใต้สร้างสุข ซึ่งสามารถนำไปขยายผลและนำไปใช้ในการดำเนินโครงการได้เป็นอย่างดี

คณะทำงานโครงการ ประกอบด้วย ผู้รับผิดชอบโครงการ 1 คน และคณะทำงานที่ทำหน้าที่บันทึกข้อมูล 1 คน

2,250.00 640.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ผลผลิตที่เกิดขึ้นจากการเข้าร่วมกิจกรรมกับ สจรส.มอ. ครั้งนี้ทำให้ได้รับความรู้เกี่ยวกับแนวทางการรายงานผลโครงการ เทคนิควิธีการในการจัดเวทีสรุปบทเรียนหรือถอดบทเรียนในชุมชน และได้จัดทำรายงานผลการดำเนินโครงการให้เป็นปัจจุบัน ณ วันที่อบรม
  • ผลลัพธ์ที่ได้จากโครงการคือสามารถนำไปขยายผลความรู้ให้กับคณะทำงานโครงการ และนำเทคนิคกระบวนการในการจัดเวทีถอดบทเรียนไปใช้ในการจัดเวทีแก้ปัญหาต่าง ๆในชุมชนได้
  • ผู้รับผิดชอบโครงการ
2,250.00 1,288.00 2 1 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • เอกสารการเงินถูกต้อง ได้รับคำแนะนำเรื่องการเขียนรายงานผลกิจกรรม ต้องเพิ่มข้อมูลและรูปภาพให้สอดคล้องกับเนื้อหา ก่อนส่งรายงานให้ทาง สจรส.ม.อ.

คณะทำงานในโครงการ

2,160.00 2,160.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ได้มิตรภาพที่ดี และความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่กัน และแรงผลักดันให้สู้ต่อไปในการทำโครงการต่อยอด เพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่ตั้งไว้

ผู้รับผิดชอบโครงการและเจ้าหน้าที่การเงิน

2,250.00 1,000.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ได้รับคำแนะนำจากพี่เลี้ยงในการจัดทำเอกสารรายงานโครงการและเอกสารการเงิน ได้ภาพถ่ายในการทำโครงการแต่ละกิจกรรมเพื่อแสดงให้รู้ถึงกิจกรรมนั้นเป็นอย่างไรบ้าง และสามารถนำไปประกอบการทำรายงานฉบับสมบูรณ์ได้

กิจกรรมหลัก : ทำป้ายสัญลักษณ์เขตปลอดบุหรี่ ถ่ายภาพกิจกรรม และจัดทำรายงานi

3,000.00 2 ผลผลิต

เกิดป้ายลดบุหรี่ในชุมชนจำนวน 2 ป้าย ติดตั้งไว้ที่ รพ.สต.ทำเนียบ และโรงเรียนสุนทราภิบาล


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

ชาวบ้านไม่สูบบุหรี่ในสถานที่ติดป้าย

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 3 ครั้ง

  • อสม.จำนวน 3 คน
  • คณะทำงาน จำนวน 4 คน
  • เยาวชนจำนวน 3 คน
1,000.00 500.00 10 10 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • มีการติดตั้งป้ายเขตปลอดบุหรี่จำนวน 2 ป้าย ที่ รพ.สต.บ้านทำเนียบ และ โรงเรียนสุนทราภิบาล ซึ่งเป็นสถานที่ในการจัดประชุมกิจกรรมต่างๆ ของโครงการและประชุมหมู่บ้าน

ผู้รับผิดชอบโครงการและการเงินโครงการ

1,000.00 1,000.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ได้เอกสารการเงินที่ถูกต้อง และการเขียนรายงานที่ถูกต้อง ร่วมทั้งข้อมูลภาพต่างๆที่ชัดเจน

ผู้รับผิดชอบโครงการ และเจ้าหน้าที่การเงิน

1,000.00 1,000.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ได้รับคำแนะนำจากพี่เลี้ยงในการจัดทำรายงานและการคัดเลือกภาพมาประกอบการทำรายงาน
2.3.1 นวัตกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ

(นวัตกรรมคือ การจัดการความคิด กระบวนการ ผลผลิต และ/หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสม มาใช้งานให้เกิดประสิทธิผล และ/หรือประสิทธิภาพมากกว่าเดิมอย่างชัดเจน)

ชื่อนวัตกรรมคุณลักษณะ/วิธีการทำให้เกิดนวัตกรรมผลของนวัตกรรม/การนำไปใช้ประโยชน์
2.3.2 โครงการเด่น (Best Practice)

(โครงการเดิ่น คือ โครงการสร้างเสริมสุขภาพให้สัมฤทธิ์ผลที่เป็นรูปธรรมแล้วขยายผลอย่างยั่งยืน โดยแนวคิดกระบวนการ และผลงาน สามารถเป็นตัวอย่างที่จะนำไปขยายผลในชุมชน (Setting) อื่น ๆ ได้ การดำเนินงานมีส่วนร่วมของภาคีที่หลากหลาย มีการบริหารจัดการที่ดี โปร่งใสและตรวจสอบได้)

ชื่อ Best Practiceวิธีการทำให้เกิด Best Practiceผลของ Best Practice / การนำไปใช้ประโยชน์
2.3.3 เกิดแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านการสร้างเสริมสุขภาพในประเด็นต่าง ๆ
ชื่อ-สกุลที่อยู่ติดต่อได้สะดวกคุณสมบัติแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลง
2.3.4 มีสภาพแวดล้อมและปัจจัยทางสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพ

เกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพในชุมชนพื้นที่โครงการดังนี้

สถานที่/พื้นที่ ที่เปลี่ยนแปลงรายละเอียดการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น

ส่วนที่ 3 : ปัญหาและอุปสรรคสำคัญที่มีผลกระทบต่อการดำเนินงาน

3.1 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเด็นปัญหา/อุปสรรคการแก้ไขของผู้รับทุนข้อเสนอแนะ/การแก้ไขปัญหาและการเสริมพลังของผู้ติดตาม
3.2 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเภทความเสี่ยง / ปัจจัยเสี่ยงระดับความเสี่ยง
(จากมากไปหาน้อย)
ข้อมูล ข้อสังเกตุ และข้อคิดเห็นของผู้ติดตาม
3210
1. ความเสี่ยงด้านการดำเนินงาน (Operational Risks)
1.1 โครงสร้างการดำเนินงาน

 

1.2 ศักยภาพและทักษะการดำเนินงาน

 

1.3 ผลลัพธ์และผลสำเร็จของการดำเนินงาน

 

2. ความเสี่ยงทางการเงิน (Financial Risks)
2.1 ระบบและกลไกการบริหารจัดการ

 

2.2 การใช้จ่ายเงิน

 

2.3 หลักฐานการเงิน

 

ผลรวม 0 0 0 0
ผลรวมทั้งหมด 0 ระดับความเสี่ยง : ???
เกณฑ์วัดระดับความเสี่ยง ???
สรุปการแก้ไขความเสี่ยง แก้ไขแล้ว ยังไม่ได้แก้ไข

ส่วนที่ 4 : สรุปความเห็นของผู้ติดตาม

ส่วนที่ 4สรุปความเห็นของผู้ติดตาม
4.1 กรณีเบิกเงินงวด/ติดตามเยี่ยมชม มีแนวโน้มสำเร็จตามเป้าหมายโครงการและติดตามปกติ
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

มีการดำเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง และทางพี่เลี้ยงได้ประสานความร่วมมือกับ ม.ทักษิณ ให้ลงมาร่วมพัฒนาหลักสูตรการเรียนรู้การทำนาอินทรีย์ร่วมกับชาวบ้าน ทำให้โครงการประสบความสำเร็จและดำเนินการเสร็จในเวลาที่กำหนด

มีแนวโน้มเสี่ยง ต้องติดตามอย่างใกล้ชิด เนื่องจาก
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีความเสี่ยง ต้องยุติโครงการ เนื่องจาก
4.2 กรณีสรุปปิดโครงการ ดำเนินงานได้ตามแผนปฏิบัติการและสามารถปิดโครงการได้
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ไม่เป็นไปตามแผนปฏิบัติการ ให้ดำเนินการจัดระบบการเงิน ระบบรายงานให้ถูกต้องก่อนปิดโครงการ
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ส่วนที่ 5 : สรุปภาพรวมของการติดตามประจำงวด (ข้อสังเกต/สิ่งดีๆ ที่ค้นพบ/ข้อพึงระวัง/บทเรียนที่ได้)

  • เกิดความร่วมมือกับนักวิชาการ ม.ทักษิณ พัฒนาหลักสูตรกระบวนการทำนาอินทรีข้าวสังหยด และได้พัฒนาไปแล้ว 1 หลังสูตร คือ หลักสูตรก่อนการผลิต
  • เยาวชนเข้ามาร่วมดำเนินการเรียนรู้จัดทำแผนที่นิเวศท้องนา เกิดข้อมูลองค์ความรู็ที่สามารถเปรียบเทียบการทำนาเคมีและการทำนาอินทรีย์ได้

สร้างรายงานโดย ฮามีด๊ะ หวันนุรัตน์