แบบบันทึกการติดตามสนับสนุนโครงการ ครั้งที่ 1

รหัสโครงการ 58-03932
สัญญาเลขที่ 58-00-1922

ชื่อโครงการ สร้างครัวคนห้วยยวนด้วยธนาคารริมคลอง (ต่อเนื่อง)
รหัสโครงการ 58-03932 สัญญาเลขที่ 58-00-1922
ระยะเวลาตามสัญญา 15 กันยายน 2558 - 15 ตุลาคม 2559

ส่วนที่ 1 : ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม

1.1 ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 1 นายเสณี จ่าวิสูตร
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 2 นส.จุรีย์ หนูผุด
วันที่ลงพื้นที่ติดตาม 30 มกราคม 2559
วันที่ส่งรายงานถึง สสส. 21 กุมภาพันธ์ 2559
1.2 ผู้ให้ข้อมูล
ลำดับชื่อ-สกุลผู้ให้ข้อมูลที่อยู่หมายเลขโทรศัพท์
1 นายภานุทัฑ มูสิกะ บ้านห้วยยวนเหนือ หมู่ 7 ต.เขาพระทอง อ.ชะอวด จ.นครศรีฯ

ส่วนที่ 2 : ข้อมูลโครงการและความก้าวหน้าการดำเนินงาน

2.1 วัตถุประสงค์และตัวชี้วัดความสำเร็จโครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ตัวชี้วัดความสำเร็จ

1.

เพื่อหนุนเสริมให้เด็กและเยาวชนเข้ามามีส่วนร่วม ในการจัดระบบการจัดการป่าต้นน้ำของชุมชน

  1. มีการพัฒนาฐานข้อมูลป่าต้นน้ำของชุมชน
  2. มีระบบการเฝ้าระวังไม่ให้มีการทำ ลายเพิ่มขึ้น
  3. มีการเพิ่มพื้นที่ป่าต้นน้ำเน้นในด้านพืชอาหาร
  4. มีเด็กและเยาวชนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการป่าต้นน้ำ

2.

เพื่อพัฒนาฐานข้อมูลป่าต้นน้ำของชุมชนให้มีความพร้อมในการเรียนรู้และวางแผน

  1. มีข้อมูลจำแนกพันธ์ไม้ออกเป็น สูญพันธ์ เสี่ยง หายาก เพื่อประกอบในการวางแผนฟื้นฟู เฝ้าระวังป้องกัน
  2. คณะทำงานมีความรู้ในการทำฝายมีชีวิต/การจัดการป่า
  3. มีแผนที่แสดงเขตป่า และแบ่งเขตการเฝ้าระวัง 3 เขต

3.

เพื่อพัฒนาเด็กและเยาวชนให้เข้ามามีส่วนร่วมปฏิบัติการในการจัดการป่าต้นน้ำ

  1. มีชุดลาดตระเวณเฝ้าระวังการทำลายป่า 3 ชุด 3 เขตพื้นที่
  2. มีฝายเก็บน้ำ 3 แห่ง
  3. มีพันธ์ไม้เพิ่มขึ้น 1500 ต้น
  4. มีสื่อประกอบการเรียนรู้และแสดงนิทรรศการ 1 ชุด
  5. มีเด็กและเยาวชนเข้าร่วมจัดตั้งเป็นกลุ่มรักษ์ป่า จำนวน 50 คน

4.

เพื่อพัฒนาศักยภาพสภาหมู่บ้านในการบริหารจัดการโครงการและเป็นกลไกในการพัฒนาหมู่บ้าน

  1. มีกลไกในการบริหารจัดการชุมชนโดยรูปแบบสภาหมู่บ้าน
    • สภาหมู่บ้านมีการประชุมทุกเดือน
    • ในการประชุมแต่ละครั้งมีผู้เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละแปดสิบ
    • ในการประชุมแต่ละครั้ง มีการปรึกษาหารือเรื่องโครงการและเรื่องอื่นๆของชุมชน
    • คณะทำงานที่ร่วมกันรับผิดชอบการดำเนินงานตามโครงการ จำนวน 15 คน

5.

เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบโครงการ และสนับสนุนการทำงานของโครงการ

  1. มีการเข้าร่วมการประชุมกับ สสส. สจรส.ม.อ. ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 ของจำนวนครั้งที่จัด
  2. มีการจัดทำป้าย "สถานที่นี้ปลอดบุหรี่" ติดตั้งในสถานที่จัดกิจกรรม
  3. มีการถ่ายภาพการดำเนินงานทุกกิจกรรม
  4. มีการจัดทำรายงานส่ง สสส. ตามระยะเวลาที่กำหนด
2.2 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ
กลุ่มเป้าหมายงบประมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงปริมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพ/สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ
ที่ตั้งไว้(บาท)เกิดขึ้นจริง(บาท)จำนวนที่ตั้งไว้(คน)จำนวนเกิดขึ้นจริง(คน)

กิจกรรมหลัก : ประชุมสภาหมู่บ้านเพื่อทำความเข้าใจในการดำเนินงานตามโครงการในปีที่สอง และเพื่อเตรียมการในการจัดเวทีเปิดโครงการi

5,550.00 35 ผลผลิต

เกิดคณะทำงานโครงการจำนวน 37 คน ประกอบด้วย วัยทำงาน 30 คน เด็กและเยาวชน 7 คน


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

ได้มีการประชุมวางแผนการจัดกิจกรรมเวทีเปิดโครงการร่วมกัน

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

  • วัยทำงาน 30 คน
  • วัยเรียน  7 คน
5,550.00 5,550.00 35 37 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต

  • มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 37 คน ประกอบด้วย คณะทำงานโครงการ จำนวน 30 คน เด็กเยาวชน จำนวน 7 คน
  • คณะทำงานโครงการเข้าร่วมประชุมพร้อมกันตามวัน เวลา สถานที่นัดหมาย จำนวน 37 คน ซึ่งเป็นการประสานงานที่มีผลในการประชุมเป็นอย่างมาก
  • คณะทำงานโครงการ เด็กเยาวชน เข้าใจที่มาของโครงการ เป้าหมาย วัตถุประสงค์ การดำเนินงานโครงการในระยะที่ 2โดยสมัครเข้าร่วมเป็นคณะทำงานเพิ่มเป็นจำนวน 20 คน
  • คณะทำงานโครงการได้วางแผน เตรียมงานวันเปิดโครงการในวันที่ 30 มกราคม 2559 ณ ศาลาหมู่บ้าน โดยแบ่งบทบาทหน้าที่ในการประสานงานผู้เข้าร่วม วิทยากร และเด็กเยาวชนเพื่อเป็นอาสาสมัครพิทักษ์ป่า เข้าร่วมในวันประชุมด้วย

กิจกรรมหลัก : ประชุมหมู่บ้านเพื่อเปิดโครงการ และทำความเข้าในการดำเนินงานตามโครงการและรับสมัครเด็กและเยาวชนเข้าร่วมโครงการเยาวชนหัวใจสีเขียวi

14,500.00 100 ผลผลิต

มีชาวบ้านและภาคีเครือข่ายเข้าร่วม 62 คน น้อยกว่ากลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คือ 100 คน ได้ทีมอาสามัครพิทักษ์ป่าจำนวน 25 คนเป็นเยาวชนในพื้นที่


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

ผู้เข้าร่วมประชุมเข้าใจเป้าหมายการทำโครงการและให้ความร่วมมือเข้าร่วมกิจกรรม

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

  • ตัวแทนครัวเรือน 45 คน
  • เด็กและเยาวชน 15 คน
  • พี่เลี้ยงโครงการ จำนวน 2 คน
14,500.00 14,500.00 100 62 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต

  • มีผู้เข้าร่วมประชุมจำนวน 65 คน คิดเป็นร้อยละ 50% ของกลุ่มเป้าหมายที่กำหนดไว้

ผลลัพธ์

  • ผู้เข้าร่วมประชุมได้รับทราบและเข้าใจรายละเอียดการดำเนินงานของโครงการและยินดีให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมของโครงการ
  • เด็กเยาวชนให้ความร่วมมือในการดำเนินงานกิจกรรมโครงการ และได้สมัครเข้าร่วมโครงการจำนวน 25 คน

กิจกรรมหลัก : เรียนรู้การจัดการป่าจากพื้นที่ที่มีรูปธรรมความสำเร็จi

42,400.00 65 ผลผลิต

เข้าร่วมเรียนรู้การจัดการน้ำด้วยการทำฝาย และเรียนรู้การทำสวนสมรมที่บ้านตะโหมด จ.พัทลุง


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

คณะทำงานและตัวแทนชาวบ้านได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้การทำฝายและสวนสมรม ได้แนวคิดจิตอาสาและการรวมกลุ่มของคนในชุมชนที่จะช่วยให้งานสำเร็จ

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 2 ครั้ง

วัยทำงาน  45 คน

เด็กวัยเรียน 15

21,200.00 21,200.00 65 60 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ผู้ร่วมศึกษาดูงานได้เรียนรู้การจัดการป่าต้นน้ำโดยชุมชน สิ่งสำคัญ คือ การรวมทีมชาวบ้านที่เป็นจิตอาสาในการลาดตระเวน การทำกิจกรรมอนุรักษ์ฟื้นฟูป่าต้นน้ำ และในช่วงบ่ายได้ไปเรียนรู้การทำฝายมีชีวิต เห็นประโยชน์ของการทำฝายว่าสามารถกักเก็บน้ำไว้ใช้ยามหน้าแล้งได้ ซึ่งสิ่งที่ได้เรียนรู้จะนำกลับมาใช้ในชุมชนต่อไป
  • คณะทำงาน 20 คน
  • ตัวแทนครัวเรือนจำนวน 20 คน
  • เด็กเยาวชน จำนวน 20 คน
21,200.00 21,200.00 65 60 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ผู้เข้าร่วมเรียนรู้จำนวน 65 คน ได้เรียนรู้การทำสวนสมรม ซึ่งปลูกพืชหลายอย่างในสวนยางพารา ทำให้ได้ความรู้ใหม่ว่า การปลูกพืชหลายอย่างในสวนยางทำให้เกิดความสมดุลร่วมกัน ไม่ต้องใส่ปุ๋ยบำรุงต้นไม้ ทำให้ประหยัดเงินและมีรายได้จากการขายสินค้าทางการเกษตรตลอดปี จึงช่วยลดปัญหายางพาราตกต่ำ เพราะช่วยเพิ่มรายได้ให้กับเกษตรกร
  • สิ่งที่ได้เรียนรู้ในวันนี้จะนำกลับไปทำและถ่ายทอดความรู้ให้กับคนในชุมชน

กิจกรรมหลัก : ทัวร์ป่าจัดทำข้อมูลจำแนกพันธ์ไม้ออกเป็น สูญพันธ์ เสี่ยง หายาก เพื่อประกอบในการวางแผนฟื้นฟู เฝ้าระวังป้องกันi

12,450.00 25 ผลผลิต

เด็กและเยาวชนที่เป็นทีมอาสาพิทักษ์ป่าได้ร่วมศึกษาข้อมูลเรื่องพันธุ์ไม้ จำนวน 25 คน


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

ได้ข้อมูลพันธุ์ไม้ที่หายาก เช่น ส้มหลุมพี ไผ่ป่า ได้ข้อมูลพันธุ์ไม้เสี่ยงสูญพันธ์ เช่น ไผ่ตง ไม้ค้อนตีหมา และได้ข้อมูลพันธุ์ไม้ต้องอนุรักษ์ เช่นเหรียง ไผ่หวาน

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 3 ครั้ง

ตัวแทนครัวเรือน  15 คน เด็กและเยาวชน  10 คน

4,150.00 4,150.00 25 25 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • เด็กและเยาวชนได้เรียนรู้การจำแนกพันธุ์ไม้เป็น 3 ประเภท คือ
  • 1.พันธุ์ไม้เสี่ยงหายาก เช่น ส้มหลุมพี ไผ่ป่า
  • 2.พันธุ์ไม้เสี่ยงสูญพันธุ์ เช่น ไผ่ตง ไม้ค้อนตีหมา
  • 3.พันธุ์ไม้ต้องอนุรักษ์ไว้เพื่อฟื้นฟู เช่น เหรียง ไผ่หวาน

เด็กวัยเรียน 15 คน

วัยทำงาน 10 คน

4,150.00 4,150.00 25 25 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต

1.จัดทำข้อมูลเพื่อจำแนกพันธืไม้ 2.ร่วมกันวางแผนฟื้นฟูเฝ้าระวังป้องกัน

ผลลัพธ์

1.ได้ข้อมูลพันธ์ไม้

2.แผนฟ้นฟูป่า และการเฝ้าระวัง โดยกำหนด 3 เขต ได้แก่ ป่าห้วยยวนเหนือ ป่าโล๊ะมังคุด ป่าคลองต่อยหอย

  • รองนายก อบต. ผู่ใหญ่บ้าน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน สมาชิก อบต. แกนนำกลุ่มหมู่บ้าน และแกนนำเยาวชน ร่วมกันทัวร์ป่าโหล๊ะมังคุด เพื่อจำแนกพันธ์ไม้ที่หายากและสูญพันธ์แล้ว นายสะอาดอินทร์แก้ว แก้นนำกลุ่มบ้านโหล๊ะมังคุดบอกไม้ที่สูญพันธ์ คือ พญาไม้ หรือ ขุนไม้ ไม้เหรียญทอง และไม้ที่หายาก ไม้เคียนหิน หรือหลาเต่า ไม้ตะบาก ไม้เคียนทราย ไม้มะค่า ไม้ลายตอก ไม้หอม ไม้ตลุมพอ ไม้ไข่เขียว ไม้ขนุนปาน

ตัวแทนครัวเรือน 15 คน เด็กและเยาวชน  10 คน

4,150.00 4,150.00 25 25 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต

  1. จัดทำข้อมูลเพื่อจำแนกพันธืไม้ 2.ร่วมกันวางแผนฟื้นฟูเฝ้าระวังป้องกัน

ผลลัพธ์

  1. ได้ข้อมูลพันธ์ไม้
  2. แผนฟื้นฟูป่า และการเฝ้าระวัง โดยกำหนด 3 เขต ได้แก่ ป่าห้วยยวนเหนือ ป่าโล๊ะมังคุด ป่าคลองต่อยหอย
  3. ป่าตอยหอย และป่าห้วยยวนมีผู้นำชุมชนแกนนำกลุ่มหมู่บ้านร่วมมือกันช่วยบอกพันธ์ไม้ ที่พบป่าตองหอยใบเร็ด ผักหวานป่า ต้นทุเรียน ต้นเป็นหนามคล้ายหลาโอน ชาวบ้านนิยมเอายอดมาทำอาหารมาแกง รถชาติมันๆหวานๆมีมากในพื้นที่ป่าลึกเข้าไปข้างใน พันธ์ไม้ลดน้อยลงเป็นไม้เนื้อแข็ง เช่น ตะลุมพอ ไม้ไขเขียวยังพอมีให้เห็นบ้างอยุ่ริมนำ้บริเวณป่าต้นนำ้ ด้านสังคม

กิจกรรมหลัก : รวบรวมและอนุบาลพันธ์ไม้ เช่นเหรียง ไผ่ตง ไผ่ป่า ไผ่หวาน ส้มหลุมพี ฯลฯ จำนวน 1500 ต้นi

14,800.00 100 ผลผลิต

มีคณะทำงานและเยาวชนในหมู่บ้านเข้าร่วม 70 คน น้อยกว่ากลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ คือ 100 คน


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

เด็กเยาวชนได้เรียนรู้การเพาะชำกล้าไม้เพื่อขยายพันธ์ุในต่อไป และได้เรียนรู้พันธุ์ไม้พื้นบ้าน

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

ตัวแทนครัวเรือน 50 คน เด็กวัยเรียน 20 คน

14,800.00 14,800.00 100 70 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • เด็กและเยาวชนได้เรียนรู้ชนิดของพันธุ์ไม้ และได้เรียนรู้การเพาะชำ วิธีการอนุรักษ์พันธุ์ไม้ เกิดการทำกิจกรรมร่วมกันระหว่างเด็กและผู้ปกครอง ทำให้เกิดการสร้างครอบครัวอบอุ่น และยังได้พันธุ์ไม้พื้นถิ่นกลับไปปลูกที่บ้าน

กิจกรรมหลัก : 2. ประชุมคณะทำงานโครงการ 15 คนและทีมบริหารกลุ่มเด็กฯ 5 คนเดือนละครั้งรวม 11 ครั้งi

0.00 20 ผลผลิต
  • เกิดคณะทำงานจำนวน 20 คน ประกอบด้วยวัยผู้ใหญ่ 15 คน และเด็กเยาวชนจำนวน 5 คน

ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

ได้สรุปผลการทำกิจกรรมร่วมกันทุกเดือนและวางแผนการดำเนินโครงการในเดือนถัดไป

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 11 ครั้ง

เด็กและเยาวชน  5 คน คณะทำงาน  15 คน

0.00 0.00 20 20 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ผลผลิต เกิดคณะทำงานโครงการจำนวน 20 คน เป็นวัยผู้ใหญ่ 15 คน ประกอบด้วยแกนนำชุมชน (ผู้ใหญ่บ้าน อบต.อสม.และ อพปร.) และกลุ่มเด็กเยาวชนจำนวน 5 คน ซึ่งคณะทำงานมีความเข้าใจและรับรู้เป้าหมายการทำโครงการในปีที่ 2

เด็กและเยาวชน  5 คน ตัวแทนครัวเรือน  15 คน

0.00 0.00 20 20 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • คณะทำงานเข้าร่วมประชุมครบจำนวน 20 คน ได้เตรียมการทำกิจกรรมเวทีเปิดโครงการ โดยแบ่งหน้าที่ของแต่ละฝ่าย ได้แก่ ฝ่ายรับผิดชอบอาหารและเครื่องดื่ม ฝ่ายเชิญชาวบ้านและหน่วยงานเข้าร่วม ฝ่ายเวที และฝ่ายอาคารสถานที่
  • คณะทำงานโครงการ จำนวน 12 คน
  • เด็กเยาวชน จำนวน 6 คน
0.00 0.00 20 18 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • คณะทำงานโครงการรับทราบการดำเนินงานกิจกรรมโครงการ และร่วมวางแผนการจัดกิจกรรมโครงการตามความเหมาะสมโดยมีการจัดปฏิทินการดำเนินงานเป็นระยะๆ ของเดือนถัดไปดังนี้
  • เดือนมกราคม 2559 มีกิจกรรมจะดำเนินงานจำนวน 4 กิจกรรมคือ
  • ประชุมคณะทำงานประจำเดือนมกราคม 2559
  • ประชุมสภาผู้นำประจำเดือนมกราคม 2559
  • กิจกรรมประชุมเพื่อเตรียมวันเปิดตัวโครงการฯ ในระยะปีที่ 2 ในวันที่ 23 มกราคม 2559
  • กิจกรรมวันเปิดตัวโครงการ กำหนดวันที่ 30 มกราคม 2559
  • คณะทำงานโครงการ
0.00 0.00 20 20 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. คณะทำงานโครงการจำนวน 20 คน เข้าร่วมประชุมโดยพร้อมเพรียงกัน ซึ่งเป็นวาระประจำเดือนมกราคม 2559 ที่มีคณะทำงานโครงการเข้าร่วมประชุมครบตามเป้าหมา
  2. คณะทำงานโครงการร่วมรับทราบผลการดำเนินงานโครงการประจำเดือนธันวาคม 2558 ซึ่งเดือนธันวาคม 58 ที่ผ่านมาทางผู้รับผิดชอบโครงการและคณะทำงานโครงการได้มีกิจกรรมที่ได้ดำเนินการไปแล้ว จำนวน 3 กิจกรรม ซึ่งเป็นกิจกรรมประชุมประจำเดือนของคณะทำงานและสภาผู้นำเดือนละ 1 ครั้ง จำนวน 2 ครั้ง และกิจกรรมพัฒนาศักยภาพอบรมการรายงานผ่านระบบเว็บไซต์และการจัดทำรายงานการเงินที่ถูกต้อง ณ ม.วลัยลักษณ์ จำนวน 1 ครั้ง ซึ่งทางผู้รับผิดชอบโครงการและเจ้าหน้าที่การเงินที่่เข้าร่วมประชุมมีความรู้ ความเข้าใจการจัดทำรายงานและการจัดทำเอกสารการเงินที่สมบูรณ์ ถูกต้อง เพิ่มขึ้นสามารถจัดทำเองได้
  3. คณะทำงานโครงการวางแผนการดำเนินงานกิจกรรมของโครงการ ประจำเดือนมกราคม 2559 ซึ่งเดือนนี้มีกิจกรรมจะดำเนินการจำนวน 4 กิจกรรม คือ
  • ประชุมคณะทำงานและสภาผู้นำ จำนวน 2 ครั้ง .
  • กิจกรรมวันเปิดตัวโครงการ เพื่อทำความเข้าใจการดำเนินงานโครงการให้คนในชุมชนได้ทราบจำนวน 1 ครั้ง
  • คณะทำงานโครงการ
0.00 0.00 20 20 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. คณะทำงานโครงการจำนวน 20 คน เข้าร่วมประชุมโดยพร้อมเพรียงกัน
  2. คณะทำงานโครงการร่วมรับทราบผลการดำเนินงานโครงการประจำเดือนมกราคม 2559 ซึ่งทางผู้รับผิดชอบโครงการและคณะทำงานโครงการได้มีกิจกรรมที่ได้ดำเนินการไปแล้ว จำนวน 3 กิจกรรม ซึ่งเป็นกิจกรรมประชุมประจำเดือนของคณะทำงานและสภาผู้นำเดือนละ 1 ครั้ง จำนวน 2 ครั้ง และกิจกรรมเปิดตัวโครงการ โดยกิจกรรดังกล่าวมีผู้เข้าร่วมประชุมที่สมัครเข้าร่วมโครงการนี้ ส่วนใหญ่ให้ความสำคัญกับกิจกรรมของโครงการและเห็นความสำคัญของกิจกรรมที่ทางผู้รับผิดชอบร่วมกันกำหนดขึ้น จึงทำให้มีแกนนำเยาวชนเข้ามามีส่วนร่วมมากขึ้น
  3. คณะทำงานโครงการวางแผนการดำเนินงานกิจกรรมของโครงการ ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2559 ซึ่งเดือนหน้าทางคณะทำงานได้กำหนดให้มีกิจกรรมจะดำเนินการจำนวน 6 กิจกรรม คือ
  • ประชุมคณะทำงานและสภาผู้นำ จำนวน 2 ครั้ง .
  • กิจกรรมทัวร์ป่าเพื่อเก็บข้อมูลป่าต้นน้ำ จำนวน 1 ครั้ง
  • กิจกรรมศึกษาดูงานพื้นที่ต้นแบบการจัดการน้ำแบบฝายมีชีวิต และการจัดการป่าต้นน้ำแบบสวนสมรม จำนวน 2 ครั้ง
  • กิจกรรมรายงานผลการดำเนินงานเพื่อปิดงวดที่ 1 ณ สจรส.มอ.

คณะทำงาน 15 ตน
เด้ก 5 คน

0.00 0.00 20 20 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต

-เพื่อวางแผนทำกิจกรรมครั้งตอไปของเดื่อนนี้ -เพื่อแบ่งหน้าที่รับผิดชอบงานของกิจกรรม

ผลลัพธ์

-ผู้นำชุมชุนรับผิดชอบเตรียมสถานที่ -ตัวแทนเด็กและเยาวชนรับผิดชอบประชาสัมพันธ์และประสานงาน ประชุมเตรียมทำ กรรมการเตรียมพื้นที่ทำฝายคณะทำงานมีผู้ใหญ่บ้านผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านสมาชิก อบต.และรองนายก อบต. แกนนำเยาวชนร่วมประชุมหารือเรื่อง จุดที่ตั้งฝายมีชีวิตสรุปประเด็นหลัก คือ ต้องเป็นที่หน้าฝายเก็บน้ำได้พอสมควร อาจจะไม่ยาวนัก แต่ไม่ชันจนเกินไป และลองไปดูพื้นที่โหล๊ะมังคุดก่อน 2 ที่เลือกพื้นที่ที่เหมาะสม

การเชื่อมโยงสุขภาวะ ด้านสังคม

ประชุมเตรียมทำ กรรมการเตรียมพื้นที่ทำฝายคณะทำงานมีผู้ใหญ่บ้านผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านสมาชิก อบต.และรองนายก อบต. แกนนำเยาวชนร่วมประชุมหารือเรื่อง จุดที่ตั้งฝายมีชีวิตสรุปประเด็นหลัก คือ ต้องเป็นที่หน้าฝายเก็บน้ำได้พอสมควร อาจจะไม่ยาวนัก แต่ไม่ชันจนเกินไป และลองไปดูพื้นที่โหล๊ะมังคุดก่อน 2 ที่เลือกพื้นที่ที่เหมาะสม

คณะทำงาน 15 คน

เด็กและเยาวชน 5 คน

0.00 0.00 20 20 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต

  • เพื่อวางแผนทำกิจกรรมครั้งตอไปของเดื่อนนี้
  • เพื่อแบ่งหน้าที่รับผิดชอบงานของกิจกรรม

ผลลัพธ์

  • ผู้นำชุมชุนรับผิดชอบเตรียมสถานที่

  • ตัวแทนเด็กและเยาวชนรับผิดชอบประชาสัมพันธ์และประสานงาน

  • คุยเรื่องกิจกรรมเดือนที่ผ่านมาในการทำกิจกรรมมีปัญหาอุปสรรค์อะไรบ้างทีมงานตอบไม่มีเตรียมกิจกรรมของวันที่ 23 เมษายน จัดทำสื่อและวันที่ 28-30 เมษายน จัดทำฝายมีชีวิต

เด้กและเยาวชน  10 คน คณะทำงาน  15 คน

0.00 0.00 20 25 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต

-เพื่อวางแผนทำกิจกรรมครั้งต่อไปของเดื่อนนี้ -เพื่อแบ่งหน้าที่รับผิดชอบงานของกิจกรรม

ผลลัพธ์

  • เตรียมนำกิจกรรมเดือนพฤศภาคม วันที่ 7พ.คทำทัวร์ป่าจำแนกข้อมุลพันธ์ไม้ วันที่10 พ.ค จัดเส้นทางศึกษาธรรมชาติ วันที่16 พ.ค ทำเรื่อนเพาะชำ

  • ผู้นำชุมชุนรับผิดชอบเตรียมสถานที่

  • ตัวแทนเด็กและเยาวชนรับผิดชอบประชาสัมพันธ์และประสานงาน

เด้กและเยาวชน  10 คน คณะทำงาน 15 คน

0.00 0.00 20 25 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต -เพื่อวางแผนทำกิจกรรมครั้งตอไปของเดื่อนนี้ -เพื่อแบ่งหน้าที่รับผิดชอบงานของกิจกรรม

ผลลัพธ์

-เตรียมกิจกรรม ปลูกป่าเพิ่ม ป่าโหล็ะมังคุด

-ผู้นำชุมชุนรับผิดชอบเตรียมสถานที่

-ตัวแทนเด็กและเยาวชนรับผิดชอบประชาสัมพันธ์และประสานงาน

เด็กและเยาวชน  5 คน คณะทำงาน  15 คน

0.00 0.00 20 20 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลลัพธ์

-ผู้นำชุมชุนรับผิดชอบเตรียมสถานที่

-ตัวแทนเด็กและเยาวชนรับผิดชอบประชาสัมพันธ์และประสานงาน

-รายงานลาดตระเวณเฝ้าระวังป่า ของเด็กและเยาวชน เมื่อวันที่ 3 ก.ค. 59 จากป่าห้วยยวนเหนือไปป่าคลองลานแซะเขตตำบลควนหนองหงษ์

เด็กและเยาวชน  5 คน คณะทำงาน  15 คน

0.00 0.00 20 20 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต -เพื่อวางแผนทำกิจกรรมครั้งตอไปของเดื่อนนี้ -เพื่อแบ่งหน้าที่รับผิดชอบงานของกิจกรรม

ผลลัพธ์

  • ผู้นำชุมชุนรับผิดชอบเตรียมสถานที่

  • ตัวแทนเด็กและเยาวชนรับผิดชอบประชาสัมพันธ์และประสานงาน

  • ประชุมเตรียมงานเดือนสิงหาคม เรื่องปลูกป่าเพิ่มเติมครั้งที่ 2 ป่าห้วยยวนเหนือ นัดเวลา 9.00 น. ปลูกป่าเพิ่มและปลูกผักริมคลอง เช่น ผักเหรียง ผักกูด ชะอม ไผ่ตง ไผ่หวาน

กิจกรรมหลัก : ประชุมสภาหมู่บ้าน เดือนละครั้ง รวม 12 ครั้งi

5,000.00 80 ผลผลิต

เกิดสภาผู้นำหมู่บ้านห้วยยวน จำนวน 45 คน ประกอบด้วยวัยทำงาน 35 คน และเด็กเยาวชน 10 คน


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

ทีมสภาผู้นำได้รับทราบผลการทำกิจกรรมของโครงการทุกเดือน

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 12 ครั้ง

วัยทำงาน 35 คน

เด็ก 10 คน

0.00 0.00 30 45 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • เกิดสภาผู้นำบ้านห้วยยวน จำนวน 45 คน ประกอบด้วยวัยทำงาน 35 คน และเด็ดเยาวชน 10 คน และทีมสภาผู้นำรับทราบเป้าหมายการทำโครงการ สสส.และจะดำเนินการประชุมทีมสภาผู้นำทุกเดือนเพื่อรายงานผลการทำกิจกรรม และใช้เวทีประชุมสภาผู้นำในการประชุมกิจกรรมต่าง ๆ ของหมู่บ้าน

เด็กเยาวชน จำนวน 20 คน ตัวแทนคร้วเรือน จำนวน 60 คน

400.00 400.00 80 80 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • จากในเวทีการประชุมทีมสภาผู้นำและชาวบ้านที่เข้ามาร่วมประชุมได้รับรู้การทำโครงการต่อยอดในปีที่ 2 รับรู้และเข้าใจเป้าหมายของการทำโครงการและแผนกิจกรรม ทั้งนี้ทางคณะทำงานโครงการยังไม่ได้เริ่มดำเนินกิจกรรมหลัก แต่จัดประชุมคณะทำงานและสภาผู้นำไปก่อน เนื่องจากรองบประมาณที่ยังไม่ได้รับจาก สสส.
  • คณะทำงานโครงการ จำนวน 20 คน
  • ตัวแทนกลุ่มองค์กรในชุมชน อบต. จำนวน 17 คน
400.00 400.00 30 27 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • คณะทำงานโครงการร่วมกับตัวแทนกลุ่มองค์กร หน่วยงาน อบต.เขาพระทอง เข้าร่วมประชุมจำนวน 27 คน โดยมีผู้รับผิดชอบโครงการและผู้ประสานงานโครงการ นายกอบต.เข้าร่วมด้วย
  • ผู้รับผิดชอบโครงการและเจ้าหน้าที่การเงินโครงการ ได้แจ้งชื่อเข้าร่วมอบรมพัฒนาศักยภาพการจัดทำรายงานผลการดำเนินงานโครงการผ่านระบบอินเตอร์เน็ต และการจัดทำเอกสารการเงินเมื่อมีการหักภาษี ณ ที่จ่าย ที่ถูกต้อง ณ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ นครศรีฯ จำนวน 2 คน
  • คณะทำงานโครงการได้รับทราบผลการดำเนินงานประจำเดือนพฤศจิกายน 2558 โดยตามกำหนดการจัดกิจกรรมประจำเดือนพฤศจิกายน 58 นั้น ทางคณะทำงานโครงการเองไม่สามารถดำเนินงานกิจกรรมตามแผนได้ เนื่องจากบริบทชุมชนเข้าสู่ฤดูฝน การเดินทางขึ้นบนพื้นที่บนเขาลาดชันไม่สามารถจัดกิจกรรมทัวร์ป่าเพื่อเก็บข้อมูลได้จึงเลื่อนไปจัดในเดือนถัดไปอีกทั้งจะแจ้งให้ทางทีมงานรับทราบอีกครั้่ง
  • คณะทำงานโครงการได้แจ้งรายงานการเงิน การเบิกจ่าย เงินโครงการ ซึ่งทางคณะทำงานโครงการได้เบิกจ่ายเงินมาเป็นจำนวน 40,000 บาท เพื่อจัดกิจกรรมในเดือนถัดไป
  • คณะทำงานโครงการ จำนวน 15 คน
  • ตัวแทนหน่วยงาน จำนวน 10 คน
400.00 400.00 30 25 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • คณะทำงานโครงการร่วมกับตัวแทนกลุ่มองค์กร หน่วยงาน อบต.เขาพระทอง เข้าร่วมประชุมจำนวน 25 คน โดยมีผู้รับผิดชอบโครงการและผู้ประสานงานโครงการ นายกอบต.เข้าร่วมด้วย
  • ผู้รับผิดชอบโครงการรายงานผลการดำเนินงานโครงการประจำเดือนธันวาคม 2558 ซึ่งมีกิจกรรมที่ได้ดำเนินการแล้ว จำนวน 2 กิจกรรมซึ่งเป็นกิจกรรมประชุมประจำเดือนของคณะทำงานโครงการฯ
  • คณะทำงานโครงการแจ้งรายงานการเงิน การเบิกจ่าย เงินโครงการ ซึ่งทางคณะทำงานโครงการได้เบิกจ่ายเงินมาเป็นจำนวน 40,000 บาท เพื่อจัดกิจกรรมในเดือนถัดไป
  • คณะทำงานโครงการได้วางแผนการดำเนินงานกิจกรรมของโครงการประจำเดือนมกราคม และเดือนกุมภาพันธ์ 2559 ซึ่งจะมีกิจกรรมที่สำคัญคือกิจกรรมเปิดตัวโครงการ การศึกษาดูงานและการทัวร์ป่าเพื่อเก็บข้อมูล
  • ่คณะทำงานโครงการ จำนวน 20 คน
  • ตัวแทนหน่วยงาน องค์กรชุมชน จำนวน 8 คน
400.00 600.00 80 28 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • คณะทำงานโครงการร่วมกับตัวแทนกลุ่มองค์กร หน่วยงาน อบต.เขาพระทอง เข้าร่วมประชุมจำนวน 27 คน โดยมีผู้รับผิดชอบโครงการและผู้ประสานงานโครงการ นายก อบต.เข้าร่วมด้วย
  • ผู้รับผิดชอบโครงการรายงานผลการดำเนินงานโครงการประจำเดือนมกราคม 2559 ให้กับทีมสภาผู้นำได้รับทราบ ซึ่งมีกิจกรรมที่ได้ดำเนินการแล้ว จำนวน 4 กิจกรรมซึ่งเป็นกิจกรรมประชุมประจำเดือนของคณะทำงานโครงการฯ และ กิจกรรมเปิดตัวโครงการ ซึ่งการจัดกิจกรรมดังกล่าว ได้รับความร่วมมือจากคนในชุมชน เด็กเยาวชนเป็นจำนวนมาก เห็นได้จากการเข้าร่วมประชุมและการสมัครเข้าร่วมเป็นอาสาสมัครพิทักษ์ป่า ซึ่งโครงการฯในระยะปีที่ 2 จะเป็นการเน้นกิจกรรมในรูปแบบการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และการเฝ้าระวัง ป่าต้นน้ำเป็นส่วนมาก โดยมีกิจกรรมที่ต้องมีส่วนร่วมกันทุกภาคส่วนทั้งคนในชุมชน และเด็กเยาวชน จึงทำให้เด็กเยาวชนสมัครเข้าร่วมกิจกรรมนี้มากขึ้นเป็นจำนวน 20 คน
  • คณะทำงานโครงการแจ้งรายงานการเงินให้คณะทำงานฯทราบ ซึ่งจากการได้รับเงินงวดที่ 1 เมื่อวันที่ 6 ตุลาคม 2558 ทางคณะทำงานได้ดำเนินงานกิจกรรมของโครงการไปแล้วจำนวน 17 กิจกรรม มีเงินจ่ายจริงทั้งหมดประมาณ 70,000 หมื่นกว่าบาท จากยอดเงินดังกล่าวยังสรุปไม่ชัดเจนเพราะยังมีอีกหลายกิจกรรมที่ทางคณะทำงานฯยังไม่มีการรายงานผลจึงทำให้ไม่สามารถสรุปยอดเงินได้ หากมีการจัดทำรายงานเรียบร้อยแล้ว คณะทำงานโครงการจะนำมาแจ้งที่ประชุมสภาฯให้ทราบในเดือนถัดไป

เด็กและเยาวชน 50 คน

400.00 600.00 80 50 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต

1.เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 50 คน

2.สมาชิกเข้าร่วมประชุมเสนอ 2 เรื่อง คือ เรื่องเตรียมสร้างฝายมีชีวิตและเรื่องจัดทำเส้นทางศึกษาธรรมชาติ

ผลลัพธ์

1.ผู้เข้าร่วมประชุมมีมติจัดทำเส้นทางศึกษาธรรมชาติ วันที่ 10 มีนาคม 2559

2.รองนายก อบต ผู้ใหญ่บ้านผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน อสม อปพร แบ่งปันรับผิดชอบทั้งสามป่าห้วยยวนเหนือ ป่าโล๊ะมังคุด และป่าคลองตอยหอย

แผนการดำเนินงาน

ครั้งที่ 1 ศึกษาป่าโล๊ะมังคุดและต่อไปศึกษาห้วยคลองเหนือ และป่าคลองตอยหอย ผู้ใหญ่บ้านเป็นประธานในที่ประชุมแจ้งเรื่องที่่ประชุมอำเภอและของหน่วยงานต่างๆ เช่นเรื่่องภัยแล้งจังหวัดประกาศภัยพิบัติภัยแล้งแล้ว เพื่อช่วยเหลือเกษตรที่พืชเสียหายแจ้งที่ทำการผู้ใหญ่บ้านนายภานุทัฑแจ้งเรื่องทำกิจกรรมต่อ คือจัดทำเส้นทางศึกษาธรรมชาติในวันที่ 10 มีนาคม 2559

เด็กและเยาวชน  10 คน วัยทำงาน 30 คน

600.00 600.00 80 40 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต 1.เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 40 คน

2.สมาชิกเข้าร่วมประชุมเสนอ 2 เรื่อง คือ เรื่องเตรียมสร้างฝายมีชีวิตและเรื่องจัดทำเส้นทางศึกษาธรรมชาติ

ผลลัพธ์
1.ผู้เข้าร่วมประชุมมีมติจัดทำเส้นทางศึกษาธรรมชาติ

2.รองนายก อบต ผู้ใหญ่บ้านผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน อสม อปพร แบ่งปันรับผิดชอบทั้งสามป่าห้วยยวนเหนือ ป่าโล๊ะมังคุด และป่าคลองตอยหอย

แผนการดำเนินงาน

ครั้งที่ 2 ศึกษาห้วยคลองเหนือ และป่าคลองตอยหอย

เด็กและเยาวชน ตัวแทนครัวเรือน

600.00 600.00 80 80 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต

  • สมาชิกเข้าร่วมประชุมเสนอ 2 เรื่อง คือ เรื่องเตรียมสร้างฝายมีชีวิตและเรื่องจัดทำเส้นทางศึกษาธรรมชาติ

ผลลัพธ์

  1. ผู้เข้าร่วมประชุมมีมติจัดทำเส้นทางศึกษาธรรมชาติ
  2. รองนายก อบต ผู้ใหญ่บ้านผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน อสม อปพร แบ่งปันรับผิดชอบทั้งสามป่าห้วยยวนเหนือ ป่าโล๊ะมังคุด และป่าคลองตอยหอย
  3. นายภานุฑัต มูสิกะ รองนายก จัดกิจกรรมเดือน พ.ค นี้เตรียมนำกิจกรรมเดือนพฤศภาคม วันที 7 พ.ค ทำทัวร์ป่าจำแนกข้อมุลพันธ์ไม้ วันที่10 พ.ค จัดเส้นทางศึกษาธรรมชาติ วันที่16 พ.ค ทำเรื่อนเพาะชำ

แผนการดำเนินงาน ครั้งที่ 2 ศึกษาห้วยคลองเหนือ และป่าคลองตอยหอย

เด็กและเยาวชน ตัวแทนครัวเรือน

600.00 600.00 80 80 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต

1.เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 40 คน

2.สมาชิกเข้าร่วมประชุมเสนอ 2 เรื่อง คือ การปลูกป่าเพิ่มและสร้างธนาคารริมคลอง และ การลาดตระเวนป่า (ครั้งที่ 1)

ผลลัพธ์

1.ผู้เข้าร่วมประชุมมีมติและข้อตกลงการปลูกป่า

2.ได้กำหนดการและเส้นทางการเดินลาดตระเวน

3.รองนายก อบต ผู้ใหญ่บ้านผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน อสม อปพร แบ่งปันรับผิดชอบทั้งสามป่าห้วยยวนเหนือ ป่าโหล๊ะมังคุด และป่าคลองตอยหอย
4.นายภานุทัฑ มูสิกะ แจ้งปลูกป่าเพิ่ม ป่าโหล็ะมังคุด11 มิ.ย59

เด็กและเยาวชน
ตัวแทนครัวเรือน

400.00 400.00 80 80 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต 1.เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 80 คน

2.สมาชิกเข้าร่วมประชุมเสนอคือการลาดตระเวนป่า

ผลลัพธ์

1.ผู้เข้าร่วมได้ข้อเสนอแนะการเดินลาดตระเวน

2.ได้กำหนดการและเส้นทางการเดินลาดตระเวนวันที่ 3 สิงหาคม

3.รองนายก อบต ผู้ใหญ่บ้านผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน อสม อปพร แบ่งปันรับผิดชอบทั้งสามป่าห้วยยวนเหนือ ป่าโล๊ะมังคุด และป่าคลองตอยหอย

นายชาตรีเนรานนท์ ผู้ใหญ่บ้าน เป็นประธานในที่ประชุม แจ้งเรื่องที่ประอำเภอให้ที่ประชุมทราบ

แผนการดำเนินงาน

ติดตามผลการดำเนินงานในกิจกรรมต่อไป

เด็กและเยาวชน และ ตัวแทนครัวเรือน

400.00 400.00 80 80 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต 1.เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 80 คน

2.สมาชิกเข้าร่วมประชุมเสนอ 2 เรื่อง คือ การปลูกป่าเพิ่มและสร้างธนาคารริมคลอง และ การลาดตระเวนป่า

ผลลัพธ์

1.ผู้เข้าร่วมประชุมมีมติและข้อตกลงการปลูกป่า

2.ได้กำหนดการและเส้นทางการเดินลาดตระเวน

3.รองนายก อบต ผู้ใหญ่บ้านผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน อสม อปพร แบ่งปันรับผิดชอบทั้งสามป่าห้วยยวนเหนือ ป่าโล๊ะมังคุด และป่าคลองตอยหอย

แจ้งเรื่อง เตรียมปลูกป่าเพิ่มเติมครั้งที่ 2 วันที่ 12 สิงหาคม 2559 เวลา 9.00 น. เพื่อเป็นสิริมงคลกับชุมชนใน วันแม่แห่งชาติ

แผนการดำเนินงาน

ติดตามผลการดำเนินงานในกิจกรรมต่อไป

เด็กและเยาวชน
ตัวแทนครัวเรือน จำนวน 44 คน

400.00 400.00 80 40 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต 1.เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 40 คน

2.ประชุมและเสนอความคิดเห็นและวางแผน ผลลัพธ์
1.ได้แผนการดำเนินงานการปลูกป่และสร้าฃธนาคารริมคลอง ครั้งที่ 3

2.รองนายก อบต ผู้ใหญ่บ้านผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน อสม อปพร แบ่งปันรับผิดชอบทั้งสามป่าห้วยยวนเหนือ ป่าโล๊ะมังคุด และป่าคลองตอยหอย

นายชาตรี เนรานนท์ ผู้ใหญ่บ้านเป็นประธานในที่ประชุม แจ้งเรื่องประชุมจากอำเภอและแจ้งทำกิจกรรมปลูกป่าเพิ่ม ครั้งที่ 3 ในวันที่ 10 กันยายน เวลา 09.00 น. ที่ป่าตอยหอย

แผนการดำเนินงาน ติตามและร่วมกันวางแผนการดำเนินงานครั้งต่อไป

กิจกรรมหลัก : การประชุมร่วมกับ สสส. สจรส.ม.อ. และพี่เลี้ยงผู้ติดตามi

10,000.00 2 ผลผลิต

เข้าร่วมประชุมกับ สจรส.ม.อ.จำนวน 3 ครั้ง คือ ปฐมนิเทศโครงการ อบรมการเขียนรายงานและประชุมจัดทำรายงานความก้าวหน้า และเข้าร่วมประชุมกับพี่เลี้ยง 2 ครั้ง


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

ได้รับคำแนะนำการทำเอกสารการเงินและรายงานกิจกรรม

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 10 ครั้ง

  • ผู้รับผิดชอบโครงการ
  • เจ้าหน้าที่การเงิน
1,500.00 1,040.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ผู้รับผิดชอบโครงการมีความรู้ความเข้าใจการบริหารจัดการโครงการที่ดี และสามารถจัดทำรายงานในระบบเว็ปไซต์ได้
  • คณะทำงานโครงการและเจ้าหน้าที่การเงิน มีความรู้ความเข้าในในการบริหารจัดการการเงิน และการทำเอกสารการเงินตามแบบฟอร์มที่ สสส.กำหนด
  • ผู้รับผิดชอบโครงการและคณะทำงานโครงการสามารถนำความรู้ที่ได้ไปดำำเนินกิจกรรมตามโครงการ และทำรายงานเอกสารต่างๆได้ถูกต้อง

ผู้ประสานงานโครงการ และฝ่ายการเงินและบัญชี

1,000.00 640.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ได้ความรู้การเขียนรายงานกิจกรรม ต้องเขียนผลให้เกิดผลผลิตและผลลัพธ์ และการจัดทำเอกสารการเงิน ต้องมีความถูกต้องสอดคล้องกับแผนกิจกรรมที่วางไว้ และค่าใช้จ่ายที่เกิน 1000 บาท ต้องหักภาษี ณ ที่ จ่ายจำนวน 10 บาท และเริ่มหักในเดือนธันวาคมนี้
  • ผู้รับผิดชอบโครงการ
  • คณะทำงานฯ(มีอำนาจถอนเงิน)
500.00 500.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • สามารถจัดทำรายงานการเงินได้ถูกต้อง
  • ผู้รับผิดชอบโครงการ จำนวน 1 คน
  • คณะทำงาน จำนวน 1  คน
1,500.00 1,200.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ผู้รับผิดชอบโครงการและคณะทำงานเดินทางเข้าร่วมติดตามผลการดำเนินงานนประจำงวดที่ 1
  • ผู้รับผิดชอบโครงการและคณะทำงานเข้าใจขั้นตอนการตรวจสอบรายงานและการตรวจเอกสารการเงิน ตามขั้นตอนที่พี่เลี้ยงโครงการ แนะนำ
  • ผู้รับผิดชอบโครงการและคณะทำงานตรวจสอบความเรียบร้อยของรายงานและเอกสารการเงินและสามารถนำเอกสารการเงินเข้าสู่ขั้นตอนการตวจสอบของเจ้าหน้าที่ สจรส.มอ. ได้และจัดทำรายงานประจำงวดที่ 1 ได้

3 คน

0.00 0.00 3 3 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ตรวจสอบเอกสารหลักฐานการเงิน จนสามารถทำได้ถูกต้องครบถ้วน สามารถปิดงวดแรกได้

ผู้รับผิดชอบโครงการและผู้รับผิดชอบการรายงาน ผู้รับผิดชอบการเงิน

0.00 0.00 2 3 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เอกสารการใช้จ่ายงบฯถูกต้อง ส่วนใหญ่ มีบางส่วนที่ยังไม่เรียบร้อย ได้ให้คำแนะนำเพื่อกลับไปทำให้สมบูรณ์  ส่วนรายงานผลการดำเนินงานยังไม่สมบูรณ์ และหลายรายการยังไม่ทำรายงาน จึงให้ำแนะนำเพื่อกลับไปทำให้เรียบร้อย

คณะทำงาน 2 คน

3,000.00 1,200.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ได้เรียนรู้การทำโครงการชุมชนน่าอยู่ในประเด็นต่าง ๆ เห็นจุดแข็งที่ทำให้โครงการประสบความสำเร็จ และสามารถนำไปปรับใช้ในชุมชนได้

ผู้รับผิดชอบโครงการและการเงิน

1,000.00 560.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต ร่วมรับฟังคำแนะนำของพี่เลี้ยงเจ้าหน้าที่การเงิน

ผลลัพธ์   พี่เลี้ยงแนะนำเพิ่มเติมบางกิจกรรม

ผู้รับผิดชอบการเงิน/ผู้รับผิดชอบโครงการ

0.00 0.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ตรวจสอบความสมบูณ์ของเนื้อหารายงานในเว็บไซต์ พบว่ายังมีบางกิจกรรมที่เนื้อหายังไม่สมบูรณ์ และบางกิจกรรมยังไม่มีภาพประกอบและไม่มีคำบรรยายภาพ ได้แนะนำให้ปรับปรุงให้เรียบร้อย  และ และตรวจสอบเอกสารหลักฐานการใช้จ่ายเงินพบว่า ส่วนใหญ่เอกสารการเงินเรียบร้อยแล้ว ยังมีอีกเล็กน้อยที่ยังไม่ถูกต้อง ได้แนะนำให้แก้ไขจนถูกต้อง

ผู้รับผิดชอบโครงการ 1 คนเจ้าหน้าที่การเงิน 1 คน

1,500.00 560.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เอกสารที่พี่เลี้ยงตรวจสอบถูกต้องตามกระบวนการ

2.3.1 นวัตกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ

(นวัตกรรมคือ การจัดการความคิด กระบวนการ ผลผลิต และ/หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสม มาใช้งานให้เกิดประสิทธิผล และ/หรือประสิทธิภาพมากกว่าเดิมอย่างชัดเจน)

ชื่อนวัตกรรมคุณลักษณะ/วิธีการทำให้เกิดนวัตกรรมผลของนวัตกรรม/การนำไปใช้ประโยชน์
2.3.2 โครงการเด่น (Best Practice)

(โครงการเดิ่น คือ โครงการสร้างเสริมสุขภาพให้สัมฤทธิ์ผลที่เป็นรูปธรรมแล้วขยายผลอย่างยั่งยืน โดยแนวคิดกระบวนการ และผลงาน สามารถเป็นตัวอย่างที่จะนำไปขยายผลในชุมชน (Setting) อื่น ๆ ได้ การดำเนินงานมีส่วนร่วมของภาคีที่หลากหลาย มีการบริหารจัดการที่ดี โปร่งใสและตรวจสอบได้)

ชื่อ Best Practiceวิธีการทำให้เกิด Best Practiceผลของ Best Practice / การนำไปใช้ประโยชน์
2.3.3 เกิดแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านการสร้างเสริมสุขภาพในประเด็นต่าง ๆ
ชื่อ-สกุลที่อยู่ติดต่อได้สะดวกคุณสมบัติแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลง
2.3.4 มีสภาพแวดล้อมและปัจจัยทางสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพ

เกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพในชุมชนพื้นที่โครงการดังนี้

สถานที่/พื้นที่ ที่เปลี่ยนแปลงรายละเอียดการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น

ส่วนที่ 3 : ปัญหาและอุปสรรคสำคัญที่มีผลกระทบต่อการดำเนินงาน

3.1 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเด็นปัญหา/อุปสรรคการแก้ไขของผู้รับทุนข้อเสนอแนะ/การแก้ไขปัญหาและการเสริมพลังของผู้ติดตาม
3.2 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเภทความเสี่ยง / ปัจจัยเสี่ยงระดับความเสี่ยง
(จากมากไปหาน้อย)
ข้อมูล ข้อสังเกตุ และข้อคิดเห็นของผู้ติดตาม
3210
1. ความเสี่ยงด้านการดำเนินงาน (Operational Risks)
1.1 โครงสร้างการดำเนินงาน

มีทีมการดำเนินงานที่ชัดเจน

1.2 ศักยภาพและทักษะการดำเนินงาน

มีจุดอ่อนด้านการทำรายงานกิจกรรม

1.3 ผลลัพธ์และผลสำเร็จของการดำเนินงาน

ยังไม่เห็นผลเชิงประจักษ์เนื่องจากในรายงานไม่เห็นข้อมูลที่สำคัญ

2. ความเสี่ยงทางการเงิน (Financial Risks)
2.1 ระบบและกลไกการบริหารจัดการ

มีทีมการจัดการที่ชัดเจน

2.2 การใช้จ่ายเงิน

ใช้จ่ายเงินตามแผน

2.3 หลักฐานการเงิน

ยังไม่เรียบร้อย ต้องติดตามอย่างใกล้ชิด

ผลรวม 0 2 2 0
ผลรวมทั้งหมด 4 ระดับความเสี่ยง : ???
เกณฑ์วัดระดับความเสี่ยง ???
สรุปการแก้ไขความเสี่ยง แก้ไขแล้ว ยังไม่ได้แก้ไข

ส่วนที่ 4 : สรุปความเห็นของผู้ติดตาม

ส่วนที่ 4สรุปความเห็นของผู้ติดตาม
4.1 กรณีเบิกเงินงวด/ติดตามเยี่ยมชม มีแนวโน้มสำเร็จตามเป้าหมายโครงการและติดตามปกติ
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีแนวโน้มเสี่ยง ต้องติดตามอย่างใกล้ชิด เนื่องจากไม่เห็นข้อมูลเชิงประจักษ์ในรายงานกิจกรรม จึงต้องติดตามอย่างใกล้ชิด และให้คำแนะนำในการบันทึกข้อมูล
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีความเสี่ยง ต้องยุติโครงการ เนื่องจาก
4.2 กรณีสรุปปิดโครงการ ดำเนินงานได้ตามแผนปฏิบัติการและสามารถปิดโครงการได้
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ไม่เป็นไปตามแผนปฏิบัติการ ให้ดำเนินการจัดระบบการเงิน ระบบรายงานให้ถูกต้องก่อนปิดโครงการ
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ส่วนที่ 5 : สรุปภาพรวมของการติดตามประจำงวด (ข้อสังเกต/สิ่งดีๆ ที่ค้นพบ/ข้อพึงระวัง/บทเรียนที่ได้)

โครงการนี้มีจุดเด่นตรงทีมคณะทำงานได้ทำกิจกรรมทุกเดือนและมีการรายงานกิจกรรมการช้เงินให้กับคณะโครงการทราบทุกครั้ง รวมทั้งมีทีมเยาวชนเข้ามาร่วมศึกษาข้อมูลพันธุ์ไม้ แต่เนื่องจากทีมบันทึกข้อมูลลงข้อมูลที่สำคัญในโครงการไม่ละเอียด เช่น เส้นทางการเดินสำรวจป่า ชนิดของพันธุ์ไม้ที่พบ ทำให้ทางพี่เลี้ยงต้องเข้าไปให้คำแนะนำอย่างใกล้ชิด จึงจัดสถานะให้เป็นโครงการเสี่ยงในเรื่องการทำกิจกรรม และเอกสารการเงิน เพื่อให้โครงการดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์กับชุมชน

สร้างรายงานโดย เสณี จ่าวิสูตร