directions_run

เกษตรกรรมเพื่อสุขภาพ : สวนยาง พืชร่วมยาง ข้าว ธนาคารต้นไม้ ตำบลบูรณาการ ความมั่นคงทางอาหาร

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ เกษตรกรรมเพื่อสุขภาพ : สวนยาง พืชร่วมยาง ข้าว ธนาคารต้นไม้ ตำบลบูรณาการ ความมั่นคงทางอาหาร
ภายใต้โครงการ โครงการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่
ภายใต้องค์กร เครือข่ายฅนสร้างสุข
รหัสโครงการ
วันที่อนุมัติ
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 พฤศจิกายน 2560 - 31 มีนาคม 2561
งบประมาณ 100,000.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายเทพรัตน์ จันทพันธ์
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 พ.ย. 2560 31 ม.ค. 2561 1 พ.ย. 2560 31 มี.ค. 2561 70,000.00
2 1 ก.พ. 2561 15 มี.ค. 2561 25,000.00
3 16 มี.ค. 2561 31 มี.ค. 2561 5,000.00
รวมงบประมาณ 100,000.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

  1. สถานการณ์ปัญหาของประเด็น
  • ความมั่นคงทางอาหาร ได้กลายเป็นปัญหาความมั่นคงที่หลายประเทศทั่วโลก กำลังเผชิญและสร้างมาตรการรับมือกับความอยู่รอดของประชากรในประเทศ กำลังทวีความรุนแรงมากขึ้น อันเป็นผลจากสภาวะแวดล้อมและวิกฤติด้านพลังงาน สภาพแวดล้อม และความสำคัญของการผลิตพืชอาหารลดลง ทำให้ราคาพืชผลและอาหารสูงขึ้น จนทำให้ประชากรที่ยากจนไม่สามารถเข้าถึงอาหารได้ นำไปสู่การเกิดภาวะขาดแคลนอาหาร เพราะในขณะที่แนวโน้มของผลผลิตทางการเกษตรที่ลดลงจากภัยธรรมชาติ อาจนำไปสู่ภาวะขาดแคลนอาหาร และความอดอยาก ทำให้เกิดภาวะขาดสารอาหาร และภูมิต้านทานร่างกายต่ำ โดยเฉพาะในเด็กและคนชรา สถานการณ์ความมั่นคงทางอาหาร เริ่มมีความเปลี่ยนแปลง เห็นได้จากชุมชน และชาวนา ต่างเป็นผู้ที่มีหนี้สินมากกว่าทรัพย์สินที่ตนเองมีอยู่ ลูกชาวนาก็หันมาบริโภคอาหารแบบคนเมือง ทำงานอาชีพโรงงานไม่รู้จักผักพื้นบ้าน ไม่รู้จักการเก็บกินเองและถ้าเรากินอาหารโดยไม่รู้แหล่งที่มา พฤติกรรมการบริโภคแบบนี้ แปลว่าเราไม่มีความมั่นคงทางอาหารดังนั้น การผลิตที่สอดคล้องกับระบบนิเวศจึงสำคัญมาก
  1. ปัจจัยสาเหตุที่เกี่ยวข้อง (ปัจจัยเอื้อ ปัจจัยอุปสรรค)
  • ปัจจัยด้านคน กระบวนทัศน์ของเกษตรกร ความเปลี่ยนแปลงความคิดของเกษตรกรเป็นไปตามกระแสความเปลี่ยนแปลงของโลก ที่มุ่งเน้นการแข่งขัน การบริโภคอย่างไร้ขอบเขตจำกัด
  • ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของบรรยากาศโลก ทำให้สภาพภูมิอากาศและความสมดุลของนิเวศเปลี่ยนแปลง
  • ปัจจัยด้านกลไก ความไม่เป็นธรรมทางเศรษฐกิจและสังคม นำมาสู่การผลักดันนโยบายการค้าการลงทุนที่คุกคามวิถีชีวิตเกษตรกรเปลี่ยนไป การรุกคืบของบรรษัทข้ามชาติที่เข้าครอบงำระบบการผลิต ระบบการตลาด การเปลี่ยนแปลงวิถีเกษตรกรรม จำนวนเกษตรกรรายย่อยลดลง เทคโนโลยีเข้ามาแทนที่
stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อติดตามและขับเคลื่อนมติประเด็นเกษตรกรรมเพื่อสุขภาพ

 

2 2. เพื่อพัฒนาร่างข้อเสนอเชิงนโยบายด้านเกษตรกรรมเพื่อสุขภาพ

 

stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 1000 0.00 0 0.00
3 ม.ค. 61 - 3 ธ.ค. 60 ประชุมคณะทำงานพื้นที่ภาคใต้ 0 0.00 -
5 ม.ค. 61 - 5 พ.ค. 61 ถอดบทเรียนพื้นที่กรณีศึกษา 15 พื้นที่ 0 0.00 -
13 ก.พ. 61 ประชุมคณะทำงาน (สรุปเตรียมประเด็นห้องย่อย) 0 0.00 -
27 - 30 มี.ค. 61 จัดงานสร้างสุขภาคใต้ 1,000 0.00 -

-

stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

-

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 12 ต.ค. 2560 18:31 น.