directions_run

รายงานกิจกรรม สำหรับพี่เลี้ยงโครงการปัจจัยเสี่ยง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

องค์กร???


“ รายงานกิจกรรม สำหรับพี่เลี้ยงโครงการปัจจัยเสี่ยง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ”



หัวหน้าโครงการ

ชื่อโครงการ รายงานกิจกรรม สำหรับพี่เลี้ยงโครงการปัจจัยเสี่ยง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ ถึง


กิตติกรรมประกาศ

"รายงานกิจกรรม สำหรับพี่เลี้ยงโครงการปัจจัยเสี่ยง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ องค์กร??? ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
รายงานกิจกรรม สำหรับพี่เลี้ยงโครงการปัจจัยเสี่ยง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ



บทคัดย่อ

โครงการ " รายงานกิจกรรม สำหรับพี่เลี้ยงโครงการปัจจัยเสี่ยง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน ยังไม่ระบุ - (ยังไม่ระบุ) ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 0.00 บาท จาก องค์กร??? เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมร่วมกับผู้รับผิดชอบงานกองทุนตำบลฯ ของ สปสช.เขต8
  2. เข้าพบผู้บริหาร อปท.(นายก อบต./นายกเทศมนตรีเทศบาลตำบล)ในฐานะประธานกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล เพื่อชี้แจงทำความเข้าใจโครงการ และเรียนเชิญเข้าร่วมโครงการ
  3. ประชุมหารือร่วมกับผู้บริหาร ระดับจังหวัดอุดรธานีและหนองคาย เพื่อชี้แจงทำความเข้าใจโครงการ และเรียนเชิญเป็นที่ปรึกษาโครงการ
  4. เข้าพบผู้บริหาร ระดับอำเภอเพื่อชี้แจงทำความเข้าใจโครงการ และเรียนเชิญเป็นที่ปรึกษาโครงการ
  5. ประชุมร่วมกับ พี่เลี้ยงระดับ จังหวัดอุดรธานีและหนองคาย เพื่อชี้แจงทำความเข้าใจโครงการ และ หารือแนวทางการทำงานโครงการ
  6. ประชุมร่วมกับ พี่เลี้ยงระดับอำเภอ จังหวัดอุดรธานีและหนองคาย เพื่อชี้แจงทำความเข้าใจโครงการ และ หารือแนวทางการทำงานโครงการ
  7. จัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อศักยภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น ให้จัดทำแผนงาน/โครงการสร้างเสริมสุขภาพโดยการการควบคุม ปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา บุหรี่ ยาเสพติด และ อาหาร และ การจัดทำระบบกำกับติดตามการดำเนินงานออนไลน์
  8. อบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพ พี่เลี้ยงและคณะกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล เพื่อจัดทำแผนและโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น/พื้นที่
  9. จัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อศักยภาพเรื่อง การจัดทำระบบกำกับติดตามการดำเนินงานออนไลน์ แผนงาน/โครงการสร้างเสริมสุขภาพโดยการการควบคุม ปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา บุหรี่ ยาเสพติด และ อาหาร
  10. โครงการปัจจัยเสี่ยง เขต 9 นครราชสีมา
  11. อบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพ พี่เลี้ยงและคณะกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล เพื่อจัดทำแผนและโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น/พื้นที่
  12. อบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพ พี่เลี้ยงและคณะกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล เพื่อจัดทำแผนและโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น/พื้นที่
  13. อบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพ พี่เลี้ยงและคณะกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล เพื่อจัดทำแผนและโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น/พื้นที่
  14. โครงการปัจจัยเสี่ยง เขต 9 นครราชสีมา พื้นที่นำร่อง อ คอนสวรรค์ จ ชัยภูมิ
  15. อบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพ พี่เลี้ยงและคณะกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล เพื่อจัดทำแผนและโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น/พื้นที่
  16. การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาแผนกองทุนตำบลและข้อเสนอโครงการกองทุนตำบล ภายใต้โครงการเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ สุรา ยาสูบ ยาเสพติด อาหารและโภชนาการ
  17. การอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาแผนกองทุนตำบลและข้อเสนอโครงการกองทุนตำบล ภายใต้โครงการเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ สุรา ยาสูบ ยาเสพติด อาหารและโภชนาการ
  18. พัฒนาศักยภาพกองทุนจัดทำแผน/โครงการเพื่อควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพสุรา ยาสูบ ยาเสพติด อาหารและโภชนาการ พื้นที่ จ.กาฬสินธุ์
  19. การประชุมเชิงปฏิบัติ โครงการเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ สุรา ยาสูบ ยาเสพติด อาหารและโภชนาการ ของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
  20. การประชุมเชิงปฏิบัติ โครงการเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ สุรา ยาสูบ ยาเสพติด อาหารและโภชนาการ ของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
  21. การประชุมเชิงปฏิบัติ โครงการเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ สุรา ยาสูบ ยาเสพติด อาหารและโภชนาการ ของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
  22. การประชุมเชิงปฏิบัติ โครงการเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ สุรา ยาสูบ ยาเสพติด อาหารและโภชนาการ ของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
  23. ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่นให้จัดทำแผนงาน/โครงการจัดการปัจจัยเสี่ยง
  24. ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่นให้จัดทำแผนงาน/โครงการจัดการปัจจัยเสี่ยง
  25. การประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำแผนและพัฒนาโครงการจัดการปัจจเสี่ยงต่อสุขภาพ อาหารและโภชนาการ (อ.เขื่องใน จ.อุบลราชธานี)
  26. ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่นให้จัดทำแผนงาน/โครงการจัดการปัจจัยเสี่ยง
  27. การประชุมเชิงปฏิบัติการ “การพัฒนาศักยภาพกองทุนฯ การทำแผนงาน/โครงการเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ สุรา ยาสูบ ยาเสพติด อาหารและโภชนาการ
  28. การประชุมเชิงปฏิบัติการ “การพัฒนาศักยภาพกองทุนฯ การทำแผนงาน/โครงการเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ สุรา ยาสูบ ยาเสพติด อาหารและโภชนาการ
  29. การประชุมเชิงปฏิบัติการ “การพัฒนาศักยภาพกองทุนฯ การทำแผนงาน/โครงการเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ สุรา ยาสูบ ยาเสพติด อาหารและโภชนาการ
  30. การประชุมเชิงปฏิบัติการ “การพัฒนาศักยภาพกองทุนฯ การทำแผนงาน/โครงการเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ สุรา ยาสูบ ยาเสพติด อาหารและโภชนาการ
  31. การประชุมเชิงปฏิบัติการ “การพัฒนาศักยภาพกองทุนฯ การทำแผนงาน/โครงการเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ สุรา ยาสูบ ยาเสพติด อาหารและโภชนาการ
  32. การประชุมเชิงปฏิบัติการ “การพัฒนาศักยภาพกองทุนฯ การทำแผนงาน/โครงการเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ สุรา ยาสูบ ยาเสพติด อาหารและโภชนาการ
  33. การประชุมเชิงปฏิบัติการ “การพัฒนาศักยภาพกองทุนฯ การทำแผนงาน/โครงการเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ สุรา ยาสูบ ยาเสพติด อาหารและโภชนาการ
  34. การประชุมเชิงปฏิบัติการ “การพัฒนาศักยภาพกองทุนฯ การทำแผนงาน/โครงการเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ สุรา ยาสูบ ยาเสพติด อาหารและโภชนาการ
  35. การประชุมเชิงปฏิบัติการ “การพัฒนาศักยภาพกองทุนฯ (ให้สามารถทำแผน/โครงการเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ สุรา ยาสูบ ยาเสพติด อาหารและโภชนาการ) เขตพื้นที่ ๗,๘,๙,๑๐”
  36. การพัฒนาศักยภาพกองทุน (ให้สามารถทำแผน/โครงการเพื่อควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ สุรา ยาสูบ ยาเสพติด อาหารและโภชนาการ) พื้นที่เขต 7,8,9,10
  37. การประชุมเชิงปฏิบัติการ “การพัฒนาศักยภาพกองทุนฯ (ให้สามารถทำแผน/โครงการเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ สุรา ยาสูบ ยาเสพติด อาหารและโภชนาการ) เขตพื้นที่ 7, 8, 9, และ 10
  38. อบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาแผนงาน/โครงการเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาปัจจัยเสี่ยงสุรา บุหรี่ยาสูบ ยาเสพติด อาหารและโภชนาการ พื้นที่ จ.ขอนแก่น
  39. การพัฒนาและปรับแก้โครงการ เขต 10 (อ.ขุนหาญ จ.ศรีสะเกษ และอ.เขื่องใน จ.อุบลราชธานี)
  40. รายงานผลการติดตามโครงการป้องกันปัจจัยเสี่ยง งวดที่ 3 เขต 9 จังหวัดนครราชสีมา พื้นที่ 2 จังหวัด (นครราชสีมา และชัยภูมิ)การประชุมเตรียมพัฒนาศักยภาพและติดตามคณะกรรมการกองทุนฯใน โครงการการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น และกลไกอาสาสมัครเพ
  41. รายงานผลการติดตามโครงการป้องกันปัจจัยเสี่ยง งวดที่ 3 เขต 9 จังหวัดนครราชสีมา พื้นที่ 2 จังหวัด (นครราชสีมา และชัยภูมิ)การประชุมเตรียมพัฒนาศักยภาพและติดตามคณะกรรมการกองทุนฯใน โครงการการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น และกลไกอาสาสมัครเพ
  42. รายงานผลการติดตามโครงการป้องกันปัจจัยเสี่ยง งวดที่ 3 เขต 9 จังหวัดนครราชสีมา พื้นที่ 2 จังหวัด (นครราชสีมา และชัยภูมิ)การประชุมเตรียมพัฒนาศักยภาพและติดตามคณะกรรมการกองทุนฯใน โครงการการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น และกลไกอาสาสมัครเพ
  43. การประชุมเตรียมพัฒนาศักยภาพและติดตามคณะกรรมการกองทุนฯใน โครงการการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น และกลไกอาสาสมัครเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด เขต ๙ กองทุนตำบลฯ อำเภอบัวใหญ่ จังหวัดนครราชสีมา ของ คณะทำ
  44. การประชุมพัฒนาศักยภาพและติดตามคณะกรรมการกองทุนฯในโครงการการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น และกลไกอาสาสมัครเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด เขต 9 ครั้งที่ 1
  45. การประชุมพัฒนาศักยภาพและติดตามคณะกรรมการกองทุนฯในโครงการการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น และกลไกอาสาสมัครเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด เขต 9 ครั้งที่ 1
  46. พัฒนาศักยภาพกองทุนให้สามารถทำแผนโครงการ อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี
  47. พัฒนาศักยภาพกองทุนให้สามารถทำแผนโครงการ ทีมพี่เลี้ยงอำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี และทีมพี่เลี้ยงอำเภอขุนหาญ จังหวัดศรีสะเกษ
  48. พัฒนาศักยภาพกองทุนให้สามารถทำแผนโครงการ ทีมพี่เลี้ยงอำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี และทีมพี่เลี้ยงอำเภอขุนหาญ จังหวัดศรีสะเกษ
  49. การประชุมพัฒนาศักยภาพและติดตามคณะกรรมการกองทุนฯใน โครงการการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น และกลไกอาสาสมัครเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด เขต 9 ครั้งที่ 2
  50. การประชุมพัฒนาศักยภาพและติดตามคณะกรรมการกองทุนฯใน โครงการการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น และกลไกอาสาสมัครเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด เขต 9 ครั้งที่ 2
  51. การประชุมเตรียมพัฒนาศักยภาพและติดตามคณะกรรมการกองทุนฯใน โครงการการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น และกลไกอาสาสมัครเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด เขต 9 กองทุนตำบลฯ อำเภอคอนสวรรค์ จังหวัดชัยภูมิ ของ คณะทำง
  52. การประชุมเตรียมพัฒนาศักยภาพและติดตามคณะกรรมการกองทุนฯใน โครงการการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น และกลไกอาสาสมัครเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด เขต 9 กองทุนตำบลฯ อำเภอคอนสวรรค์ จังหวัดชัยภูมิ ของ คณะทำง
  53. การประชุมเตรียมพัฒนาศักยภาพและติดตามคณะกรรมการกองทุนฯใน โครงการการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น และกลไกอาสาสมัครเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด เขต 9 กองทุนตำบลฯ อำเภอคอนสวรรค์ จังหวัดชัยภูมิ ของ คณะทำง
  54. การประชุมพัฒนาศักยภาพและติดตามคณะกรรมการกองทุนฯใน โครงการการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น และกลไกอาสาสมัครเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด เขต 9 ครั้งที่ 1
  55. การประชุมพัฒนาศักยภาพและติดตามคณะกรรมการกองทุนฯใน โครงการการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น และกลไกอาสาสมัครเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด เขต 9 ครั้งที่ 1
  56. การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาแผนกองทุนตำบลและข้อเสนอโครงการกองทุนตำบล ภายใต้โครงการเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ สุรา ยาสูบ ยาเสพติด อาหารและโภชนาการ
  57. การประชุมพัฒนาศักยภาพและติดตามคณะกรรมการกองทุนฯใน โครงการการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น และกลไกอาสาสมัครเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด เขต 9 ครั้งที่ 2
  58. การประชุมพัฒนาศักยภาพและติดตามคณะกรรมการกองทุนฯใน โครงการการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น และกลไกอาสาสมัครเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด เขต 9 ครั้งที่ 2

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมร่วมกับผู้รับผิดชอบงานกองทุนตำบลฯ ของ สปสช.เขต8

วันที่ 24 พฤศจิกายน 2560

กิจกรรมที่ทำ

ได้หารือผู้รับผิดชอบงานกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล สปสช เขต 8 เกี่ยวกับแนวทางการดำเนินงานโครงการ ดังนี้
ได้ให้แนวทางการดำเนินงานว่า ควรชี้แจงทำความเข้าใจ และ เรียนเชิญ กองทุนเข้าร่วมโครงการ ตามความสมัครใจ  โดยอาจพิจารณาจากฐานข้อมูลเดิมที่มี ประกอบกัน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

 

 

0 0

2. เข้าพบผู้บริหาร อปท.(นายก อบต./นายกเทศมนตรีเทศบาลตำบล)ในฐานะประธานกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล เพื่อชี้แจงทำความเข้าใจโครงการ และเรียนเชิญเข้าร่วมโครงการ

วันที่ 28 พฤศจิกายน 2560

กิจกรรมที่ทำ

ผู้ประสานงานเขต 8 เข้าพบผู้บริหาร ทุก อปท. ทุกแห่ง เพื่อชี้แจงทำความเข้าใจแนวทางการดำเนินงานโครงการ
และ เพื่อสอบถามความสมัครใจเข้าร่วมโครงการ
ผลการดำเนินงานพบว่า มีกองทุนตำบลสนใจสมัครใจเข้าร่วมโครงการจำนวน  23 แห่ง (อุดรธานี 14 แห่ง และ หนองคาย 9 แห่ง )

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

 

 

0 0

3. ประชุมหารือร่วมกับผู้บริหาร ระดับจังหวัดอุดรธานีและหนองคาย เพื่อชี้แจงทำความเข้าใจโครงการ และเรียนเชิญเป็นที่ปรึกษาโครงการ

วันที่ 4 ธันวาคม 2560

กิจกรรมที่ทำ

ในระดับจังหวัด ผู้บริหารเห็นความสำคัญ และยินดีเข้าร่วมเป็นที่ปรึกษาโครงการ โดย จ. หนองคาย ที่ปรึกษาคือ ท่านนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด  ส่วนจังหวัดอุดรธานี เนื่องจาการดำเนินงานโครงการดังกล่าวนี้  จะมีการเชื่อมโยงการทำงานกับเรื่องตำบลจัดการสุขภาพต้นแบบ ดังนั้น ที่ปรึกษาคือ หัวหน้างานตำบลจัดการสุขภาพ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

 

 

0 0

4. เข้าพบผู้บริหาร ระดับอำเภอเพื่อชี้แจงทำความเข้าใจโครงการ และเรียนเชิญเป็นที่ปรึกษาโครงการ

วันที่ 7 ธันวาคม 2560

กิจกรรมที่ทำ

จังหวัดอุดรธานี ที่ปรึกษาระดับอำเภอ คือ  นายอำเภอบ้านผือ
จังหวัดหนองคาย ที่ปรึกษาระดับอำเภอ คือ ท้องถิ่นอำเภอเมืองหนองคาย  และ สาธารณสุขอำเภอเมืองหนองคาย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

 

 

0 0

5. ประชุมร่วมกับ พี่เลี้ยงระดับ จังหวัดอุดรธานีและหนองคาย เพื่อชี้แจงทำความเข้าใจโครงการ และ หารือแนวทางการทำงานโครงการ

วันที่ 8 ธันวาคม 2560

กิจกรรมที่ทำ

จังหวัดอุดรธานี พี่เลี้ยงระดับจังหวัด คือ หัวหน้างานตำบลจัดการสุขภาพ  และ หัวหน้างานยุทธศาสตร์ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี จังหวัดหนองคาย พี่เลี้ยงระดับจังหวัด คือ สาธารณสุขอำเภอเมืองหนองคาย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

 

 

0 0

6. ประชุมร่วมกับ พี่เลี้ยงระดับอำเภอ จังหวัดอุดรธานีและหนองคาย เพื่อชี้แจงทำความเข้าใจโครงการ และ หารือแนวทางการทำงานโครงการ

วันที่ 13 ธันวาคม 2560

กิจกรรมที่ทำ

จังหวัดอุดรธานี พี่เลี้ยงระดับอำเภอ ประกอบด้วย  ท้องถิ่นอำเภอบ้านผือ ผู้ช่วยสาธารณสุขอำเภอบ้านผือ  และ ผู้แทนจาก อปท. คือ ปลัด อบต.จำปาโมง
จังหวัดหนองคาย พี่เลี้ยงระดับอำเภอ คือ ผู้ช่วยสาธารณสุขอำเภอเมืองหนองคาย ผู้แทนจาก อปท. คือ ปลัด ทต.ปะโค  รองปลัด อบต.เวียงคุก หน.สำนักปลัด ทต.หาดคำ และผู้แทนจาก รพ.สต. โพนสว่าง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

 

 

0 0

7. จัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อศักยภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น ให้จัดทำแผนงาน/โครงการสร้างเสริมสุขภาพโดยการการควบคุม ปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา บุหรี่ ยาเสพติด และ อาหาร และ การจัดทำระบบกำกับติดตามการดำเนินงานออนไลน์

วันที่ 15 ธันวาคม 2560

กิจกรรมที่ทำ

การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อศักยภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น ให้จัดทำโครงการสร้างเสริมสุขภาพโดยการการควบคุม ปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา บุหรี่ ยาเสพติด  และ อาหาร และการจัดทำระบบกำกับติดตามการดำเนินงานออนไลน์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

 

 

0 0

8. อบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพ พี่เลี้ยงและคณะกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล เพื่อจัดทำแผนและโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น/พื้นที่

วันที่ 8 มกราคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

ขั้นตอนการดำเนินงาน - บรรยายเรื่อง ความสำคัญของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น โดยนายแพทย์เรืองศิล์ป เถื่อนนาดี  ผู้อำนวยการ สปสช. เขต 10  อุบลราชธานี - นำเสนอข้อมูลสถานการณ์ภาพรวมของกองทุนสุขภาพตำบล เขต 10
โดยนายสมบูรณ์ เพ็ญพิมพ์  หัวหน้างาน - บรรยายเรื่อง สถานการณ์ ระบบสุขภาพของชุมชน/ แนวทางการจัดทำ แผนงาน/โครงการการพัฒนาข้อเสนอโครงการฝึกปฏิบัติการลงข้อมูลจัดทำแผนสุขภาพชุมชนและโครงการฯ โดย ผศ.ดร.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ ผอ.สถาบันการจัดการระบบสุขภาพ ม.สงขลานครินทร์ - บรรยายเรื่อง ความสำคัญของการการจัดการกิจกรรมทางกาย ฝึกปฏิบัติการลงข้อมูลจัดทำแผนสุขภาพชุมชนและโครงการเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมทางกาย โดย ดร.กุลทัต หงส์ชยางกูร รอง ผอ.สถาบันการจัดการระบบสุขภาพ ม.สงขลานครินทร์ - บรรยายเรื่อง ความสำคัญของการจัดการปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา
ยาสูบ และยาเสพติดฝึกปฏิบัติการลงข้อมูลจัดทำแผนสุขภาพชุมชนและโครงการเกี่ยวกับการจัดการปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพฯ โดย ดร.ซอฟียะห์ นิมะ อาจารย์สถาบันการจัดการระบบสุขภาพ  ม.สงขลานครินทร์ - บรรยายเรื่อง ความสำคัญของการจัดการระบบอาหารและโภชนาการ ฝึกปฏิบัติการลงข้อมูลจัดทำแผนสุขภาพชุมชนและโครงการเกี่ยวกับการจัดการ ระบบอาหารและโภชนาการ โดย ผศ.ดร.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ ผอ.สถาบันการจัดการระบบสุขภาพ ม.สงขลานครินทร์ ผลที่เกิดขึ้น
1) พี่เลี้ยงและคณะกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล มีความเข้าใจสถานการณ์ภาพรวมการใช้จ่ายงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพ ปัญหาและอุปสรรคที่สำคัญในการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล เขต 10
2) พี่เลี้ยงและคณะกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล มีความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบายและความร่วมมือของสำนักงานประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และมูลนิธิประชาสังคมอุบลราชธานี รวมถึงแนวทางการดำเนินงานโครงการที่มีความเกี่ยวพันกับ 5 กิจกรรมหลักที่ต้องการให้เกิดร่วมกับกิจกรรมอื่น ๆ
3) คณะกรรมการกองทุนทุกกองทุนเขื่องใน (19 กองทุน) และคณะกรรมการกองทุนทุกกองทุนขุนหาญ (13 กองทุน) มีความเข้าใจและจะนำกิจกรรมดังกล่าวบรรจุเข้าแผนการดำเนินงานกองทุนสุขภาพระดับพื้นที่ในลำดับต่อไป 4) พี่เลี้ยงในระดับเขต ระดับจังหวัดและระดับอำเภอ มีเข้าใจบทบาทหน้าที่ของพี่เลี้ยง กิจกรรมที่ควรดำเนินการในการดำเนินโครงการของกองทุนใน 5 ประเด็น ประกอบด้วย การมีกิจกรรมทางกาย เหล้า บุหรี่ ยาเสพติด และอาหาร และวิธีการพัฒนาโครงการในแต่ละขั้นตอน (step by step)
5) พี่เลี้ยงและคณะกรรมการกองทุนมีความเข้าใจถึงวิธีการพัฒนาข้อเสนอโครงการ (step by step) มีการเสนอชื่อพี่เลี้ยงในแต่ละกองทุน มีการฝึกพัฒนาโครงการทีละขั้นตอนจนมีความเข้าใจการพัฒนาโครงการผ่านโปรแกรมในระดับหนึ่ง
6) พี่เลี้ยงและคณะกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล ได้รับรู้ข้อมูลประสบการณ์การพัฒนาโครงการกับพื้นที่อื่นๆ คือพื้นทีเขต 11 และ เขต 12 มีการพัฒนากิจกรรมดังกล่าวที่มีความสอดคล้องกับ 5 กิจกรรม พื้นที่เขื่องในและขุนหาญได้เรียนรู้วิธีการพัฒนาโครงการ และเรียนรู้แนวทางการพัฒนาโครงการจากพื้นที่ตัวอย่างจนเข้าใจแนวทางการพัฒนาโครงการผ่านการบอกเล่าจากประสบการณ์ของผู้ปฏิบัติงานในพื้นที่และผู้ออกแบบโปรแกรม 7) มีรายชื่อพี่เลี้ยงกองทุนสุขภาพตำบลในทุกระดับ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

 

 

0 0

9. การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยงและคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น ให้จัดทำแผนงาน/โครงการจัดการปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพและการบันทึกข้อมูลระบบกำกับติดตามแบบออนไลน์

วันที่ 22 มกราคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยงและคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น ให้จัดทำแผนงาน/โครงการจัดการปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพและการบันทึกข้อมูลระบบกำกับติดตามแบบออนไลน์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

 

 

0 0

10. โครงการปัจจัยเสี่ยง เขต 9 นครราชสีมา

วันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2561

กิจกรรมที่ทำ

การประชุมเชิงปฏิบัติการ
โครงการการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นและกลไกอาสาสมัครเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด

ณ ห้องประชุมสำนักงานสาธารณสุขอำเภอบัวใหญ่ จ.นครราชสีมา

วันจันทร์ที่ ๑๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑

เวลา ๐๘.๐๐ น. -๐๙.๐๐ น. ๐๙.๐๐ น. - ๑๐.๓๐ น.

๑๐.๓๐ น.- ๑๑.๐๐ น.

๑๑.๐๐ น.- ๑๒.๐๐ น.

กิจกรรม
ลงทะเบียน -แนวทางการพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น โดย สาธารณสุขอำเภอบัวใหญ่ รับประทานอาหารว่าง

-สถานการณ์ระบบสุขภาพของชุมชน/สังคม -ความเป็นมาของโครงการพัฒนาฯ โดย นายสังเวียน งาหัตถีและนางปริยากร ชาลีพรม ๑๒.๐๐ น. – ๑๓.๐๐ น.พักรับประทานอาหารกลางวัน ๑๓.๐๐ น. – ๑๔.๐๐ น.-ความสำคัญของปัจจัยเสี่ยง สุรา ยาสูบ สารเสพติด โดย ผศ.ดร.ศักดิ์ชาย เพ็ชรตรา และนายสุวัฒนะ วงปฏิมาพร
๑๔.๐๐ –๑๔.๓๐ น. รับประทานอาหารว่าง ๑๔.๓๐ น. – ๑๖.๓๐ น.


-แนวทางการจัดทำแผนงาน/โครงการกองทุนตำบล
-การพัฒนาข้อเสนอโครงการกองทุนตำบล
โดย สาธารณสุขอำเภอบัวใหญ่
และ ผศ.ดร.ศักดิ์ชาย เพ็ชรตรา

๑๖.๓๐ น.ปิดประชุมและนัดหมายครั้งต่อไป การประชุมเชิงปฏิบัติการ
โครงการการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นและกลไกอาสาสมัครเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด

ณ ห้องประชุมสำนักงานสาธารณสุขอำเภอคอนสวรรค์ จ.ชัยภูมิ

วันอังคารที่ ๒๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑

เวลา ๐๘.๐๐ น. -๐๙.๐๐ น. ๐๙.๐๐ น. - ๑๐.๓๐ น.

๑๐.๓๐ น.- ๑๑.๐๐ น.

๑๑.๐๐ น.- ๑๒.๐๐ น.

กิจกรรม
ลงทะเบียน -แนวทางการพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น โดย สาธารณสุขอำเภอคอนสวรรค์ รับประทานอาหารว่าง

-สถานการณ์ระบบสุขภาพของชุมชน/สังคม -ความสำคัญของการจัดการกิจกรรมทางกาย
โดย นายสังเวียน งาหัตถีและนางปริยากร ชาลีพรม ๑๒.๐๐ น. – ๑๓.๐๐ น.พักรับประทานอาหารกลางวัน ๑๓.๐๐ น. – ๑๔.๐๐ น.-ความเป็นมาของโครงการ -ความสำคัญของปัจจัยเสี่ยง สุรา ยาสูบ สารเสพติด โดย ผศ.ดร.ศักดิ์ชาย เพ็ชรตรา และนายสุวัฒนะ วงปฏิมาพร
๑๔.๐๐ –๑๔.๓๐ น. รับประทานอาหารว่าง ๑๔.๓๐ น. – ๑๖.๓๐ น.


-แนวทางการจัดทำแผนงาน/โครงการกองทุนตำบล
-การพัฒนาข้อเสนอโครงการกองทุนตำบล
โดย ผศ.ดร.ศักดิ์ชาย เพ็ชรตรา

๑๖.๓๐ น.ปิดประชุมและนัดหมายครั้งต่อไป รายงานผลปัจจัยเสี่ยง งวดที่ 1 เขต 9 จังหวัดนครราชสีมา พื้นที่ 2 จังหวัด(นครราชสีมา และชัยภูมิ) รายละเอียดกิจกรรม วันเดือนปี สถานที่ จำนวนผู้เข้าร่วม ขั้นตอนการดำเนินงาน/ผลที่เกิดขึ้น อบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพ พี่เลี้ยงและคณะกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล เพื่อจัดทำแผนและโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น/พื้นที่วันจันทร์ที่ ๑๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑ ณ ห้องประชุมสำนักงานสาธารณสุขอำเภอบัวใหญ่ จ.นครราชสีมา 50 คน ขั้นตอนการดำเนินงาน บรรยายเรื่อง -แนวทางการพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
โดย สาธารณสุขอำเภอบัวใหญ่ บรรยายเรื่อง -สถานการณ์ระบบสุขภาพของชุมชน/สังคม -นำเสนอข้อมูลสถานการณ์ภาพรวมของกองทุนสุขภาพตำบล เขต 9
-ความเป็นมาของโครงการพัฒนาฯ โดย นายสังเวียน งาหัตถีและนางปริยากร ชาลีพรม บรรยายเรื่อง แนวทางการจัดทำแผนงาน/โครงการการพัฒนาข้อเสนอโครงการฝึกปฏิบัติการลงข้อมูลจัดทำแผนสุขภาพชุมชนและโครงการฯ
โดย ผศ.ดร.ศักดิ์ชาย เพ็ชรตรา ม.ราชภัฏชัยภูมิ บรรยายเรื่อง ความสำคัญของการจัดการปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา
ยาสูบ และยาเสพติดฝึกปฏิบัติการลงข้อมูลจัดทำแผนสุขภาพชุมชนและโครงการเกี่ยวกับการจัดการปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพฯ โดย นายสุวัฒนะ วงปฏิมาพร
บรรยายเรื่อง ความสำคัญของการจัดการระบบอาหารและโภชนาการ ฝึกปฏิบัติการลงข้อมูลจัดทำแผนสุขภาพชุมชนและโครงการเกี่ยวกับการจัดการ ระบบอาหารและโภชนาการ โดย ผศ.ดร.ศักดิ์ชาย เพ็ชรตรา ม.ราชภัฏชัยภูมิ ผลที่เกิดขึ้น
1) พี่เลี้ยงและคณะกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล มีความเข้าใจสถานการณ์ภาพรวมการใช้จ่ายงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพ ปัญหาและอุปสรรคที่สำคัญในการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล เขต 9 2) พี่เลี้ยงและคณะกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล มีความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบายและความร่วมมือของสำนักงานประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และมูลนิธิประชาสังคมอุบลราชธานี รวมถึงแนวทางการดำเนินงานโครงการที่มีความเกี่ยวพันกับ 5 กิจกรรมหลักที่ต้องการให้เกิดร่วมกับกิจกรรมอื่น ๆ
3) คณะกรรมการกองทุนอำเภอบัวใหญ่ (11 กองทุน) มีความเข้าใจและจะนำกิจกรรมดังกล่าวบรรจุเข้าแผนการดำเนินงานกองทุนสุขภาพระดับพื้นที่ในลำดับต่อไป 4) พี่เลี้ยงในระดับเขต ระดับจังหวัดและระดับอำเภอ มีเข้าใจบทบาทหน้าที่ของพี่เลี้ยง กิจกรรมที่ควรดำเนินการในการดำเนินโครงการของกองทุนใน 5 ประเด็น ประกอบด้วย การมีกิจกรรมทางกาย เหล้า บุหรี่ ยาเสพติด และอาหาร และวิธีการพัฒนาโครงการในแต่ละขั้นตอน (step by step)
5) พี่เลี้ยงและคณะกรรมการกองทุนมีความเข้าใจถึงวิธีการพัฒนาข้อเสนอโครงการ (step by step) มีการเสนอชื่อพี่เลี้ยงในแต่ละกองทุน มีการฝึกพัฒนาโครงการทีละขั้นตอนจนมีความเข้าใจการพัฒนาโครงการผ่านโปรแกรมในระดับหนึ่ง
6) มีรายชื่อพี่เลี้ยงกองทุนสุขภาพตำบลในทุกระดับ (ตามเอกสารภาคผนวก ก) อบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพ พี่เลี้ยงและคณะกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล เพื่อจัดทำแผนและโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น/พื้นที่วันจันทร์ที่ ๒๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑ ณ ห้องประชุมสำนักงานสาธารณสุขอำเภอคอนสวรรค์ จ.ชัยภูมิ 30 คน ขั้นตอนการดำเนินงาน บรรยายเรื่อง -แนวทางการพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
โดย สาธารณสุขอำเภอคอนสวรรค์ บรรยายเรื่อง -สถานการณ์ระบบสุขภาพของชุมชน/สังคม -นำเสนอข้อมูลสถานการณ์ภาพรวมของกองทุนสุขภาพตำบล เขต 9
-ความเป็นมาของโครงการพัฒนาฯ โดย นายสังเวียน งาหัตถีและนางปริยากร ชาลีพรม บรรยายเรื่อง แนวทางการจัดทำแผนงาน/โครงการการพัฒนาข้อเสนอโครงการฝึกปฏิบัติการลงข้อมูลจัดทำแผนสุขภาพชุมชนและโครงการฯ
โดย ผศ.ดร.ศักดิ์ชาย เพ็ชรตรา ม.ราชภัฏชัยภูมิ บรรยายเรื่อง ความสำคัญของการจัดการปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา
ยาสูบ และยาเสพติดฝึกปฏิบัติการลงข้อมูลจัดทำแผนสุขภาพชุมชนและโครงการเกี่ยวกับการจัดการปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพฯ โดย นายสุวัฒนะ วงปฏิมาพร
บรรยายเรื่อง ความสำคัญของการจัดการระบบอาหารและโภชนาการ ฝึกปฏิบัติการลงข้อมูลจัดทำแผนสุขภาพชุมชนและโครงการเกี่ยวกับการจัดการ ระบบอาหารและโภชนาการ โดย ผศ.ดร.ศักดิ์ชาย เพ็ชรตรา ม.ราชภัฏชัยภูมิ ผลที่เกิดขึ้น
7) พี่เลี้ยงและคณะกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล มีความเข้าใจสถานการณ์ภาพรวมการใช้จ่ายงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพ ปัญหาและอุปสรรคที่สำคัญในการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล เขต 9 8) พี่เลี้ยงและคณะกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล มีความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบายและความร่วมมือของสำนักงานประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และมูลนิธิประชาสังคมอุบลราชธานี รวมถึงแนวทางการดำเนินงานโครงการที่มีความเกี่ยวพันกับ 5 กิจกรรมหลักที่ต้องการให้เกิดร่วมกับกิจกรรมอื่น ๆ
9) คณะกรรมการกองทุนอำเภอคอนสวรรค์ (10 กองทุน) มีความเข้าใจและจะนำกิจกรรมดังกล่าวบรรจุเข้าแผนการดำเนินงานกองทุนสุขภาพระดับพื้นที่ในลำดับต่อไป 10) พี่เลี้ยงในระดับเขต ระดับจังหวัดและระดับอำเภอ มีเข้าใจบทบาทหน้าที่ของพี่เลี้ยง กิจกรรมที่ควรดำเนินการในการดำเนินโครงการของกองทุนใน 5 ประเด็น ประกอบด้วย การมีกิจกรรมทางกาย เหล้า บุหรี่ ยาเสพติด และอาหาร และวิธีการพัฒนาโครงการในแต่ละขั้นตอน (step by step)
11) พี่เลี้ยงและคณะกรรมการกองทุนมีความเข้าใจถึงวิธีการพัฒนาข้อเสนอโครงการ มีการเสนอชื่อพี่เลี้ยงในแต่ละกองทุน มีการฝึกพัฒนาโครงการทีละขั้นตอนจนมีความเข้าใจการพัฒนาโครงการผ่านโปรแกรมในระดับหนึ่ง
12) มีรายชื่อพี่เลี้ยงกองทุนสุขภาพตำบลในทุกระดับ (ตามเอกสารภาคผนวก ก)








ภาคผนวก ก รายชื่อพี่เลี้ยงเขต 9 นครราชสีมา (นครราชสีมา+ชัยภูมิ) แนวทางการทำงาน เขต 9 (จังหวัดนครราชสีมา ชัยภูมิ บุรีรัมย์ และสุรินทร์) 1.รายชื่อผู้ประสานงาน เขต 9 1.1 ผศ.ดร.ศักดิ์ชาย เพ็ชรตรามหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ 1.2 นายวีรชัย ก้อนมณี สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 9 นครราชสีมา 1.3 นายสังเวียน งาหัตถี โรงพยาบาลหนองบัวระเหว จังหวัดชัยภูมิ
1.4 นางปริยากร ชาลีพรม โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลละหาน จังหวัดชัยภูมิ 2.รายชื่อพี่เลี้ยงที่ดูแลกองทุนระดับอำเภอเขต 9 จังหวัดนครราชสีมา
2.1 รายชื่อพี่เลี้ยงที่ดูแลกองทุนระดับอำเภอบัวใหญ่จังหวัดนครราชสีมา 1. นายพงษ์พิพัฒน์ ชุ่มสีดา สาธารณสุขอำเภอบัวใหญ่ 2. นายวสุรัตน์ เดชนอก ผู้ช่วยสาธารณสุขอำเภอบัวใหญ่ 3. นางอนุสลี พิมเจริญพันธุ์ ผอ.กองสาธารณสุข เทศบาลบัวใหญ่
2.2 รายชื่อพี่เลี้ยงที่ดูแลกองทุนระดับอำเภอคอนสวรรค์ จังหวัดชัยภูมิ 1.นายสุวัฒนะ วงศ์ปฏิมาพร ผช.สสอ.คอนสวรรค์ 2.นางธนพันธ์ สนิทไทย ผอ.กองสาธารณสุข อบต.โคกมั่งงอย 3.นางมนต์วจี รูปชัยภูมิ ผอ.กองสาธารณสุข เทศบาลคอนสวรรค์


3.รายชื่อผู้ประสานงานกองทุน/รายชื่อกองทุน 3.1 กองทุนฯ อำเภอบัวใหญ่ จังหวัดนครราชสีมา ที่ ชื่อกองทุน ตำบล ชื่อแกนประสาน เบอร์โทรศัพท์ 1 กุดจอก กุดจอก นายณัฐพร หน่วงกระโทก 044-009825 2 กุดจอก กุดจอก นางสาวธีรดาแก้ววันทา 097-3436071 3 ดอนตะหนิน ดอนตะหนิน นายนิกร ศิริอุดม 093-3612675 4 ดอนตะหนิน ดอนตะหนิน นางปวพรทิพอุตร์ 096-0499259 5 เสมาใหญ่ เสมาใหญ่ นายสุวิทย์เมืองครุธ 084-8293923 6 เสมาใหญ่ เสมาใหญ่ นางพงษ์พรรณสาระอินทร์ 088-5955739 7 หนองแจ้งใหญ่ หนองแจ้งใหญ่ นางสาวภิรมยาเอกตะคุ 044-462537 8 หนองแจ้งใหญ่ หนองแจ้งใหญ่ นางวัฒนา เลิกนอก 095-6059842 9 โนนทองหลาง โนนทองหลาง นางเพ็ญจันทร์ พานปรุ 094-2762299 10 โนนทองหลาง โนนทองหลาง นายวัฒนา ทิพอุตร์ 089-8490089 11 หนองบัวสะอาด หนองบัวสะอาด นางสาวณิณัฏฐ์ษา คือพันพันดุง 095-6191261 12 หนองบัวสะอาด หนองบัวสะอาด นางสาววรันธร กลิ่นจะโป๊ะ 091-8284670 13 ห้วยยาง ห้วยยาง นายสุวัฒน์ สิงห์กาญจนาวงศา 084-8236523 14 ห้วยยาง ห้วยยาง นางสาววัลภามุ่งยุทธกลาง 086-2539739 15 ขุนทอง ขุนทอง นายเชิดพงษ์ ปลั่งกลาง 082-1419198 16 ขุนทอง ขุนทอง นางยุพิณ เย็นกลาง 081-3218443 17 ด่านช้าง ด่านช้าง นางอรวรรณ์ จรรย์นาฎ 081-1207691 18 ด่านช้าง ด่านช้าง นายพลปิ่นกลาง 091-0213519 19 บัวใหญ่ บัวใหญ่ นายชินกฤต นรมาตร 095-6127452 20 บัวใหญ่ บัวใหญ่ นางสาวฉวีวรรณ อาลัยวงษ์ 084-4549642 21 เทศบาลเมืองบัวใหญ่ บัวใหญ่ นายทวีศักดิ์ พันธุ์วิเศษศักดิ์ 081-8764711 22 เทศบาลเมืองบัวใหญ่ บัวใหญ่ นางญานิณีขุนหมื่น 089-7175755

3.2 กองทุนฯ อำเภอคอนสวรรค์ จังหวัดชัยภูมิ ที่ ชื่อกองทุน ตำบล ชื่อแกนประสาน ๑ กองทุนฯตำบลช่องสามหมอ ช่องสามหมอ 1.นางชนาภาสุภักดี/ปลัด อบต. 2.นายอัครเดช บุญจูง ๒ กองทุนฯตำบลยางหวาย ยางหวาย 1.นางลักษณา หิรัญวรรณ/ปลัด อบต. 2.นายประสานวงษ์ แก้วประกาย
๓ กองทุนฯตำบลคอนสวรรค์ คอนสวรรค์ 1.นายรุจิรัฒน์ ประดับคำ/ปลัด อบต. 2.นางกระบวน นาสูงเนิน ๔ กองทุนฯตำบลโนนสะอาด โนนสะอาด 1.นายสุขงามปัญญา/ 2.นางนงลักษณ์ นิลแก้ว ๕ กองทุนฯตำบลห้วยไร่ ห้วยไร่ 1.นส.สายฝน อุดมทรัพย์/ปลัด อบต. 2.นางสุวรรณเพ็ญ หงษ์สระแก้ว ๖ กองทุนฯตำบลบ้านโสก บ้านโสก 1.นางขนิษฐา ตุงชีพ/ปลัด อบต. 2.นายวรรณชัย คาดสนิท ๗ กองทุนฯตำบลโคกมั่งงอย โคกมั่งงอย 1.นายธุวชิต เจริญเกียรติ/ปลัด อบต. 2.นายสุพรรณ ชูชื่น ๘ กองทุนฯตำบลศรีสำราญ ศรีสำราญ 1.นายอำนาจ ทวีชีพ/ปลัด อบต. 2.นายทศพลสิงหนาท ๙ กองทุนฯตำบลหนองขาม หนองขาม 1.นายจารบุตร สมัตถะ/ปลัด.อบต. 2.นางไพลินี ศรีหาจันทร์ ๑๐ กองทุนฯเทศบาลตำบลคอนสวรรค์ คอนสวรรค์ 1.นายอภิชาติบุโฮม /ปลัดเทศบาล 2.นางมนต์วจี รูปชัยภูมิ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

 

 

0 0

11. อบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพ พี่เลี้ยงและคณะกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล เพื่อจัดทำแผนและโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น/พื้นที่

วันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2561

กิจกรรมที่ทำ

ขั้นตอนการดำเนินงาน บรรยายเรื่อง -แนวทางการพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
โดย สาธารณสุขอำเภอบัวใหญ่ บรรยายเรื่อง -สถานการณ์ระบบสุขภาพของชุมชน/สังคม       -นำเสนอข้อมูลสถานการณ์ภาพรวมของกองทุนสุขภาพตำบล เขต 9
                -ความเป็นมาของโครงการพัฒนาฯ โดย นายสังเวียน งาหัตถีและนางปริยากร ชาลีพรม บรรยายเรื่อง แนวทางการจัดทำแผนงาน/โครงการการพัฒนาข้อเสนอโครงการฝึกปฏิบัติการลงข้อมูลจัดทำแผนสุขภาพชุมชนและโครงการฯ
โดย ผศ.ดร.ศักดิ์ชาย เพ็ชรตรา ม.ราชภัฏชัยภูมิ บรรยายเรื่อง ความสำคัญของการจัดการปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา
ยาสูบ และยาเสพติดฝึกปฏิบัติการลงข้อมูลจัดทำแผนสุขภาพชุมชนและโครงการเกี่ยวกับการจัดการปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพฯ โดย นายสุวัฒนะ วงปฏิมาพร
บรรยายเรื่อง ความสำคัญของการจัดการระบบอาหารและโภชนาการ ฝึกปฏิบัติการลงข้อมูลจัดทำแผนสุขภาพชุมชนและโครงการเกี่ยวกับการจัดการ ระบบอาหารและโภชนาการ โดย ผศ.ดร.ศักดิ์ชาย เพ็ชรตรา ม.ราชภัฏชัยภูมิ ผลที่เกิดขึ้น
1) พี่เลี้ยงและคณะกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล มีความเข้าใจสถานการณ์ภาพรวมการใช้จ่ายงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพ ปัญหาและอุปสรรคที่สำคัญในการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล เขต 9 2) พี่เลี้ยงและคณะกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล มีความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบายและความร่วมมือของสำนักงานประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และมูลนิธิประชาสังคมอุบลราชธานี รวมถึงแนวทางการดำเนินงานโครงการที่มีความเกี่ยวพันกับ 5 กิจกรรมหลักที่ต้องการให้เกิดร่วมกับกิจกรรมอื่น ๆ
3) คณะกรรมการกองทุนอำเภอบัวใหญ่ (11 กองทุน) มีความเข้าใจและจะนำกิจกรรมดังกล่าวบรรจุเข้าแผนการดำเนินงานกองทุนสุขภาพระดับพื้นที่ในลำดับต่อไป 4) พี่เลี้ยงในระดับเขต ระดับจังหวัดและระดับอำเภอ มีเข้าใจบทบาทหน้าที่ของพี่เลี้ยง กิจกรรมที่ควรดำเนินการในการดำเนินโครงการของกองทุนใน 5 ประเด็น ประกอบด้วย การมีกิจกรรมทางกาย เหล้า บุหรี่ ยาเสพติด และอาหาร และวิธีการพัฒนาโครงการในแต่ละขั้นตอน (step by step)
5) พี่เลี้ยงและคณะกรรมการกองทุนมีความเข้าใจถึงวิธีการพัฒนาข้อเสนอโครงการ (step by step) มีการเสนอชื่อพี่เลี้ยงในแต่ละกองทุน มีการฝึกพัฒนาโครงการทีละขั้นตอนจนมีความเข้าใจการพัฒนาโครงการผ่านโปรแกรมในระดับหนึ่ง
6) มีรายชื่อพี่เลี้ยงกองทุนสุขภาพตำบลในทุกระดับ (ตามเอกสารภาคผนวก ก)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

 

 

0 0

12. อบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพ พี่เลี้ยงและคณะกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล เพื่อจัดทำแผนและโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น/พื้นที่

วันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2561

กิจกรรมที่ทำ

ขั้นตอนการดำเนินงาน บรรยายเรื่อง -แนวทางการพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
โดย สาธารณสุขอำเภอบัวใหญ่ บรรยายเรื่อง -สถานการณ์ระบบสุขภาพของชุมชน/สังคม       -นำเสนอข้อมูลสถานการณ์ภาพรวมของกองทุนสุขภาพตำบล เขต 9
                -ความเป็นมาของโครงการพัฒนาฯ โดย นายสังเวียน งาหัตถีและนางปริยากร ชาลีพรม บรรยายเรื่อง แนวทางการจัดทำแผนงาน/โครงการการพัฒนาข้อเสนอโครงการฝึกปฏิบัติการลงข้อมูลจัดทำแผนสุขภาพชุมชนและโครงการฯ
โดย ผศ.ดร.ศักดิ์ชาย เพ็ชรตรา ม.ราชภัฏชัยภูมิ บรรยายเรื่อง ความสำคัญของการจัดการปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา
ยาสูบ และยาเสพติดฝึกปฏิบัติการลงข้อมูลจัดทำแผนสุขภาพชุมชนและโครงการเกี่ยวกับการจัดการปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพฯ โดย นายสุวัฒนะ วงปฏิมาพร
บรรยายเรื่อง ความสำคัญของการจัดการระบบอาหารและโภชนาการ ฝึกปฏิบัติการลงข้อมูลจัดทำแผนสุขภาพชุมชนและโครงการเกี่ยวกับการจัดการ ระบบอาหารและโภชนาการ โดย ผศ.ดร.ศักดิ์ชาย เพ็ชรตรา ม.ราชภัฏชัยภูมิ ผลที่เกิดขึ้น
1) พี่เลี้ยงและคณะกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล มีความเข้าใจสถานการณ์ภาพรวมการใช้จ่ายงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพ ปัญหาและอุปสรรคที่สำคัญในการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล เขต 9 2) พี่เลี้ยงและคณะกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล มีความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบายและความร่วมมือของสำนักงานประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และมูลนิธิประชาสังคมอุบลราชธานี รวมถึงแนวทางการดำเนินงานโครงการที่มีความเกี่ยวพันกับ 5 กิจกรรมหลักที่ต้องการให้เกิดร่วมกับกิจกรรมอื่น ๆ
3) คณะกรรมการกองทุนอำเภอบัวใหญ่ (11 กองทุน) มีความเข้าใจและจะนำกิจกรรมดังกล่าวบรรจุเข้าแผนการดำเนินงานกองทุนสุขภาพระดับพื้นที่ในลำดับต่อไป 4) พี่เลี้ยงในระดับเขต ระดับจังหวัดและระดับอำเภอ มีเข้าใจบทบาทหน้าที่ของพี่เลี้ยง กิจกรรมที่ควรดำเนินการในการดำเนินโครงการของกองทุนใน 5 ประเด็น ประกอบด้วย การมีกิจกรรมทางกาย เหล้า บุหรี่ ยาเสพติด และอาหาร และวิธีการพัฒนาโครงการในแต่ละขั้นตอน (step by step)
5) พี่เลี้ยงและคณะกรรมการกองทุนมีความเข้าใจถึงวิธีการพัฒนาข้อเสนอโครงการ (step by step) มีการเสนอชื่อพี่เลี้ยงในแต่ละกองทุน มีการฝึกพัฒนาโครงการทีละขั้นตอนจนมีความเข้าใจการพัฒนาโครงการผ่านโปรแกรมในระดับหนึ่ง
6) มีรายชื่อพี่เลี้ยงกองทุนสุขภาพตำบลในทุกระดับ (ตามเอกสารภาคผนวก ก)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

 

 

0 0

13. อบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพ พี่เลี้ยงและคณะกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล เพื่อจัดทำแผนและโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น/พื้นที่

วันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2561

กิจกรรมที่ทำ

ขั้นตอนการดำเนินงาน บรรยายเรื่อง -แนวทางการพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
โดย สาธารณสุขอำเภอบัวใหญ่ บรรยายเรื่อง -สถานการณ์ระบบสุขภาพของชุมชน/สังคม   -นำเสนอข้อมูลสถานการณ์ภาพรวมของกองทุนสุขภาพตำบล เขต 9
        -ความเป็นมาของโครงการพัฒนาฯ โดย นายสังเวียน งาหัตถีและนางปริยากร ชาลีพรม บรรยายเรื่อง แนวทางการจัดทำแผนงาน/โครงการการพัฒนาข้อเสนอโครงการฝึกปฏิบัติการลงข้อมูลจัดทำแผนสุขภาพชุมชนและโครงการฯ
โดย ผศ.ดร.ศักดิ์ชาย เพ็ชรตรา ม.ราชภัฏชัยภูมิ บรรยายเรื่อง ความสำคัญของการจัดการปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา
ยาสูบ และยาเสพติดฝึกปฏิบัติการลงข้อมูลจัดทำแผนสุขภาพชุมชนและโครงการเกี่ยวกับการจัดการปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพฯ โดย นายสุวัฒนะ วงปฏิมาพร
บรรยายเรื่อง ความสำคัญของการจัดการระบบอาหารและโภชนาการ ฝึกปฏิบัติการลงข้อมูลจัดทำแผนสุขภาพชุมชนและโครงการเกี่ยวกับการจัดการ ระบบอาหารและโภชนาการ โดย ผศ.ดร.ศักดิ์ชาย เพ็ชรตรา ม.ราชภัฏชัยภูมิ ผลที่เกิดขึ้น
1) พี่เลี้ยงและคณะกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล มีความเข้าใจสถานการณ์ภาพรวมการใช้จ่ายงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพ ปัญหาและอุปสรรคที่สำคัญในการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล เขต 9 2) พี่เลี้ยงและคณะกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล มีความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบายและความร่วมมือของสำนักงานประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และมูลนิธิประชาสังคมอุบลราชธานี รวมถึงแนวทางการดำเนินงานโครงการที่มีความเกี่ยวพันกับ 5 กิจกรรมหลักที่ต้องการให้เกิดร่วมกับกิจกรรมอื่น ๆ
3) คณะกรรมการกองทุนอำเภอบัวใหญ่ (11 กองทุน) มีความเข้าใจและจะนำกิจกรรมดังกล่าวบรรจุเข้าแผนการดำเนินงานกองทุนสุขภาพระดับพื้นที่ในลำดับต่อไป 4) พี่เลี้ยงในระดับเขต ระดับจังหวัดและระดับอำเภอ มีเข้าใจบทบาทหน้าที่ของพี่เลี้ยง กิจกรรมที่ควรดำเนินการในการดำเนินโครงการของกองทุนใน 5 ประเด็น ประกอบด้วย การมีกิจกรรมทางกาย เหล้า บุหรี่ ยาเสพติด และอาหาร และวิธีการพัฒนาโครงการในแต่ละขั้นตอน (step by step)
5) พี่เลี้ยงและคณะกรรมการกองทุนมีความเข้าใจถึงวิธีการพัฒนาข้อเสนอโครงการ (step by step) มีการเสนอชื่อพี่เลี้ยงในแต่ละกองทุน มีการฝึกพัฒนาโครงการทีละขั้นตอนจนมีความเข้าใจการพัฒนาโครงการผ่านโปรแกรมในระดับหนึ่ง
6) มีรายชื่อพี่เลี้ยงกองทุนสุขภาพตำบลในทุกระดับ (ตามเอกสารภาคผนวก ก)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

 

 

0 0

14. โครงการปัจจัยเสี่ยง เขต 9 นครราชสีมา พื้นที่นำร่อง อ คอนสวรรค์ จ ชัยภูมิ

วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2561

กิจกรรมที่ทำ

กำหนดการ การประชุมเชิงปฏิบัติการ
โครงการการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นและกลไกอาสาสมัครเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด

ณ ห้องประชุมสำนักงานสาธารณสุขอำเภอคอนสวรรค์ จ.ชัยภูมิ

วันอังคารที่ ๒๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑

เวลา ๐๘.๐๐ น. -๐๙.๐๐ น. ๐๙.๐๐ น. - ๑๐.๓๐ น.

๑๐.๓๐ น.- ๑๑.๐๐ น.

๑๑.๐๐ น.- ๑๒.๐๐ น.

กิจกรรม<br />

ลงทะเบียน -แนวทางการพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น โดย สาธารณสุขอำเภอคอนสวรรค์ รับประทานอาหารว่าง

-สถานการณ์ระบบสุขภาพของชุมชน/สังคม -ความสำคัญของการจัดการกิจกรรมทางกาย
โดย นายสังเวียน งาหัตถีและนางปริยากร ชาลีพรม ๑๒.๐๐ น. – ๑๓.๐๐ น. พักรับประทานอาหารกลางวัน ๑๓.๐๐ น. – ๑๔.๐๐ น. -ความเป็นมาของโครงการ -ความสำคัญของปัจจัยเสี่ยง สุรา ยาสูบ สารเสพติด โดย ผศ.ดร.ศักดิ์ชาย เพ็ชรตรา และนายสุวัฒนะ วงปฏิมาพร
๑๔.๐๐ –  ๑๔.๓๐ น. รับประทานอาหารว่าง ๑๔.๓๐ น. – ๑๖.๓๐ น.


-แนวทางการจัดทำแผนงาน/โครงการกองทุนตำบล<br />

-การพัฒนาข้อเสนอโครงการกองทุนตำบล
โดย ผศ.ดร.ศักดิ์ชาย เพ็ชรตรา

๑๖.๓๐ น. ปิดประชุมและนัดหมายครั้งต่อไป รายงานผลปัจจัยเสี่ยง งวดที่ 1 เขต 9 จังหวัดนครราชสีมา พื้นที่ 2 จังหวัด(นครราชสีมา และชัยภูมิ) รายละเอียดกิจกรรม วันเดือนปี สถานที่ จำนวนผู้เข้าร่วม ขั้นตอนการดำเนินงาน/ผลที่เกิดขึ้น อบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพ  พี่เลี้ยงและคณะกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล เพื่อจัดทำแผนและโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น/พื้นที่ วันจันทร์ที่ ๑๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑ ณ ห้องประชุมสำนักงานสาธารณสุขอำเภอบัวใหญ่ จ.นครราชสีมา 50 คน ขั้นตอนการดำเนินงาน บรรยายเรื่อง -แนวทางการพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
โดย สาธารณสุขอำเภอบัวใหญ่ บรรยายเรื่อง -สถานการณ์ระบบสุขภาพของชุมชน/สังคม       -นำเสนอข้อมูลสถานการณ์ภาพรวมของกองทุนสุขภาพตำบล เขต 9
                -ความเป็นมาของโครงการพัฒนาฯ โดย นายสังเวียน งาหัตถีและนางปริยากร ชาลีพรม บรรยายเรื่อง แนวทางการจัดทำแผนงาน/โครงการการพัฒนาข้อเสนอโครงการฝึกปฏิบัติการลงข้อมูลจัดทำแผนสุขภาพชุมชนและโครงการฯ
โดย ผศ.ดร.ศักดิ์ชาย เพ็ชรตรา ม.ราชภัฏชัยภูมิ บรรยายเรื่อง ความสำคัญของการจัดการปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา
ยาสูบ และยาเสพติดฝึกปฏิบัติการลงข้อมูลจัดทำแผนสุขภาพชุมชนและโครงการเกี่ยวกับการจัดการปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพฯ โดย นายสุวัฒนะ วงปฏิมาพร
บรรยายเรื่อง ความสำคัญของการจัดการระบบอาหารและโภชนาการ ฝึกปฏิบัติการลงข้อมูลจัดทำแผนสุขภาพชุมชนและโครงการเกี่ยวกับการจัดการ ระบบอาหารและโภชนาการ โดย ผศ.ดร.ศักดิ์ชาย เพ็ชรตรา ม.ราชภัฏชัยภูมิ ผลที่เกิดขึ้น
1) พี่เลี้ยงและคณะกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล มีความเข้าใจสถานการณ์ภาพรวมการใช้จ่ายงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพ ปัญหาและอุปสรรคที่สำคัญในการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล เขต 9 2) พี่เลี้ยงและคณะกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล มีความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบายและความร่วมมือของสำนักงานประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และมูลนิธิประชาสังคมอุบลราชธานี รวมถึงแนวทางการดำเนินงานโครงการที่มีความเกี่ยวพันกับ 5 กิจกรรมหลักที่ต้องการให้เกิดร่วมกับกิจกรรมอื่น ๆ
3) คณะกรรมการกองทุนอำเภอบัวใหญ่ (11 กองทุน) มีความเข้าใจและจะนำกิจกรรมดังกล่าวบรรจุเข้าแผนการดำเนินงานกองทุนสุขภาพระดับพื้นที่ในลำดับต่อไป 4) พี่เลี้ยงในระดับเขต ระดับจังหวัดและระดับอำเภอ มีเข้าใจบทบาทหน้าที่ของพี่เลี้ยง กิจกรรมที่ควรดำเนินการในการดำเนินโครงการของกองทุนใน 5 ประเด็น ประกอบด้วย การมีกิจกรรมทางกาย เหล้า บุหรี่ ยาเสพติด และอาหาร และวิธีการพัฒนาโครงการในแต่ละขั้นตอน (step by step)
5) พี่เลี้ยงและคณะกรรมการกองทุนมีความเข้าใจถึงวิธีการพัฒนาข้อเสนอโครงการ (step by step) มีการเสนอชื่อพี่เลี้ยงในแต่ละกองทุน มีการฝึกพัฒนาโครงการทีละขั้นตอนจนมีความเข้าใจการพัฒนาโครงการผ่านโปรแกรมในระดับหนึ่ง
6) มีรายชื่อพี่เลี้ยงกองทุนสุขภาพตำบลในทุกระดับ (ตามเอกสารภาคผนวก ก) อบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพ  พี่เลี้ยงและคณะกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล เพื่อจัดทำแผนและโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น/พื้นที่ วันจันทร์ที่ ๒๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑ ณ ห้องประชุมสำนักงานสาธารณสุขอำเภอคอนสวรรค์ จ.ชัยภูมิ 30 คน ขั้นตอนการดำเนินงาน บรรยายเรื่อง -แนวทางการพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
โดย สาธารณสุขอำเภอคอนสวรรค์ บรรยายเรื่อง -สถานการณ์ระบบสุขภาพของชุมชน/สังคม       -นำเสนอข้อมูลสถานการณ์ภาพรวมของกองทุนสุขภาพตำบล เขต 9
                -ความเป็นมาของโครงการพัฒนาฯ โดย นายสังเวียน งาหัตถีและนางปริยากร ชาลีพรม บรรยายเรื่อง แนวทางการจัดทำแผนงาน/โครงการการพัฒนาข้อเสนอโครงการฝึกปฏิบัติการลงข้อมูลจัดทำแผนสุขภาพชุมชนและโครงการฯ
โดย ผศ.ดร.ศักดิ์ชาย เพ็ชรตรา ม.ราชภัฏชัยภูมิ บรรยายเรื่อง ความสำคัญของการจัดการปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา
ยาสูบ และยาเสพติดฝึกปฏิบัติการลงข้อมูลจัดทำแผนสุขภาพชุมชนและโครงการเกี่ยวกับการจัดการปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพฯ โดย นายสุวัฒนะ วงปฏิมาพร
บรรยายเรื่อง ความสำคัญของการจัดการระบบอาหารและโภชนาการ ฝึกปฏิบัติการลงข้อมูลจัดทำแผนสุขภาพชุมชนและโครงการเกี่ยวกับการจัดการ ระบบอาหารและโภชนาการ โดย ผศ.ดร.ศักดิ์ชาย เพ็ชรตรา ม.ราชภัฏชัยภูมิ ผลที่เกิดขึ้น
7) พี่เลี้ยงและคณะกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล มีความเข้าใจสถานการณ์ภาพรวมการใช้จ่ายงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพ ปัญหาและอุปสรรคที่สำคัญในการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล เขต 9 8) พี่เลี้ยงและคณะกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล มีความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบายและความร่วมมือของสำนักงานประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และมูลนิธิประชาสังคมอุบลราชธานี รวมถึงแนวทางการดำเนินงานโครงการที่มีความเกี่ยวพันกับ 5 กิจกรรมหลักที่ต้องการให้เกิดร่วมกับกิจกรรมอื่น ๆ
9) คณะกรรมการกองทุนอำเภอคอนสวรรค์ (10 กองทุน) มีความเข้าใจและจะนำกิจกรรมดังกล่าวบรรจุเข้าแผนการดำเนินงานกองทุนสุขภาพระดับพื้นที่ในลำดับต่อไป 10) พี่เลี้ยงในระดับเขต ระดับจังหวัดและระดับอำเภอ มีเข้าใจบทบาทหน้าที่ของพี่เลี้ยง กิจกรรมที่ควรดำเนินการในการดำเนินโครงการของกองทุนใน 5 ประเด็น ประกอบด้วย การมีกิจกรรมทางกาย เหล้า บุหรี่ ยาเสพติด และอาหาร และวิธีการพัฒนาโครงการในแต่ละขั้นตอน (step by step)
11) พี่เลี้ยงและคณะกรรมการกองทุนมีความเข้าใจถึงวิธีการพัฒนาข้อเสนอโครงการ มีการเสนอชื่อพี่เลี้ยงในแต่ละกองทุน มีการฝึกพัฒนาโครงการทีละขั้นตอนจนมีความเข้าใจการพัฒนาโครงการผ่านโปรแกรมในระดับหนึ่ง
12) มีรายชื่อพี่เลี้ยงกองทุนสุขภาพตำบลในทุกระดับ (ตามเอกสารภาคผนวก ก)








ภาคผนวก ก รายชื่อพี่เลี้ยงเขต 9 นครราชสีมา (นครราชสีมา+ชัยภูมิ) แนวทางการทำงาน เขต 9 (จังหวัดนครราชสีมา ชัยภูมิ บุรีรัมย์ และสุรินทร์) 1.รายชื่อผู้ประสานงาน เขต 9 1.1 ผศ.ดร.ศักดิ์ชาย เพ็ชรตรา  มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ 1.2 นายวีรชัย ก้อนมณี สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 9 นครราชสีมา 1.3 นายสังเวียน งาหัตถี โรงพยาบาลหนองบัวระเหว จังหวัดชัยภูมิ
1.4 นางปริยากร ชาลีพรม โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลละหาน จังหวัดชัยภูมิ 2.รายชื่อพี่เลี้ยงที่ดูแลกองทุนระดับอำเภอ  เขต 9 จังหวัดนครราชสีมา
2.1 รายชื่อพี่เลี้ยงที่ดูแลกองทุนระดับอำเภอบัวใหญ่  จังหวัดนครราชสีมา
      1. นายพงษ์พิพัฒน์  ชุ่มสีดา สาธารณสุขอำเภอบัวใหญ่       2. นายวสุรัตน์    เดชนอก ผู้ช่วยสาธารณสุขอำเภอบัวใหญ่       3. นางอนุสลี พิมเจริญพันธุ์ ผอ.กองสาธารณสุข เทศบาลบัวใหญ่
2.2 รายชื่อพี่เลี้ยงที่ดูแลกองทุนระดับอำเภอคอนสวรรค์ จังหวัดชัยภูมิ   1.นายสุวัฒนะ  วงศ์ปฏิมาพร ผช.สสอ.คอนสวรรค์   2.นางธนพันธ์ สนิทไทย ผอ.กองสาธารณสุข อบต.โคกมั่งงอย   3.นางมนต์วจี รูปชัยภูมิ ผอ.กองสาธารณสุข เทศบาลคอนสวรรค์


3.รายชื่อผู้ประสานงานกองทุน/รายชื่อกองทุน 3.1 กองทุนฯ อำเภอบัวใหญ่ จังหวัดนครราชสีมา ที่ ชื่อกองทุน ตำบล ชื่อแกนประสาน เบอร์โทรศัพท์ 1 กุดจอก กุดจอก นายณัฐพร  หน่วงกระโทก 044-009825 2 กุดจอก กุดจอก นางสาวธีรดา    แก้ววันทา 097-3436071 3 ดอนตะหนิน ดอนตะหนิน นายนิกร  ศิริอุดม 093-3612675 4 ดอนตะหนิน ดอนตะหนิน นางปวพร  ทิพอุตร์ 096-0499259 5 เสมาใหญ่ เสมาใหญ่ นายสุวิทย์    เมืองครุธ 084-8293923 6 เสมาใหญ่ เสมาใหญ่ นางพงษ์พรรณ  สาระอินทร์ 088-5955739 7 หนองแจ้งใหญ่ หนองแจ้งใหญ่ นางสาวภิรมยา  เอกตะคุ 044-462537 8 หนองแจ้งใหญ่ หนองแจ้งใหญ่ นางวัฒนา  เลิกนอก 095-6059842 9 โนนทองหลาง โนนทองหลาง นางเพ็ญจันทร์  พานปรุ 094-2762299 10 โนนทองหลาง โนนทองหลาง นายวัฒนา  ทิพอุตร์ 089-8490089 11 หนองบัวสะอาด หนองบัวสะอาด นางสาวณิณัฏฐ์ษา  คือพันพันดุง 095-6191261 12 หนองบัวสะอาด หนองบัวสะอาด นางสาววรันธร  กลิ่นจะโป๊ะ 091-8284670 13 ห้วยยาง ห้วยยาง นายสุวัฒน์  สิงห์กาญจนาวงศา 084-8236523 14 ห้วยยาง ห้วยยาง นางสาววัลภา  มุ่งยุทธกลาง 086-2539739 15 ขุนทอง ขุนทอง นายเชิดพงษ์  ปลั่งกลาง 082-1419198 16 ขุนทอง ขุนทอง นางยุพิณ  เย็นกลาง 081-3218443 17 ด่านช้าง ด่านช้าง นางอรวรรณ์  จรรย์นาฎ 081-1207691 18 ด่านช้าง ด่านช้าง นายพล  ปิ่นกลาง 091-0213519 19 บัวใหญ่ บัวใหญ่ นายชินกฤต  นรมาตร 095-6127452 20 บัวใหญ่ บัวใหญ่ นางสาวฉวีวรรณ  อาลัยวงษ์ 084-4549642 21 เทศบาลเมืองบัวใหญ่ บัวใหญ่ นายทวีศักดิ์  พันธุ์วิเศษศักดิ์ 081-8764711 22 เทศบาลเมืองบัวใหญ่ บัวใหญ่ นางญานิณี  ขุนหมื่น 089-7175755

3.2 กองทุนฯ อำเภอคอนสวรรค์ จังหวัดชัยภูมิ ที่ ชื่อกองทุน ตำบล ชื่อแกนประสาน ๑ กองทุนฯตำบลช่องสามหมอ ช่องสามหมอ 1.นางชนาภา  สุภักดี/ปลัด อบต. 2.นายอัครเดช บุญจูง ๒ กองทุนฯตำบลยางหวาย ยางหวาย 1.นางลักษณา หิรัญวรรณ/ปลัด อบต. 2.นายประสานวงษ์ แก้วประกาย
๓ กองทุนฯตำบลคอนสวรรค์ คอนสวรรค์ 1.นายรุจิรัฒน์ ประดับคำ/ปลัด อบต. 2.นางกระบวน นาสูงเนิน ๔ กองทุนฯตำบลโนนสะอาด โนนสะอาด 1.นายสุข  งามปัญญา/ 2.นางนงลักษณ์ นิลแก้ว ๕ กองทุนฯตำบลห้วยไร่ ห้วยไร่ 1.นส.สายฝน อุดมทรัพย์/ปลัด อบต. 2.นางสุวรรณเพ็ญ หงษ์สระแก้ว ๖ กองทุนฯตำบลบ้านโสก บ้านโสก 1.นางขนิษฐา ตุงชีพ/ปลัด อบต. 2.นายวรรณชัย คาดสนิท ๗ กองทุนฯตำบลโคกมั่งงอย โคกมั่งงอย 1.นายธุวชิต เจริญเกียรติ/ปลัด อบต. 2.นายสุพรรณ ชูชื่น ๘ กองทุนฯตำบลศรีสำราญ ศรีสำราญ 1.นายอำนาจ ทวีชีพ/ปลัด อบต. 2.นายทศพล  สิงหนาท ๙ กองทุนฯตำบลหนองขาม หนองขาม 1.นายจารบุตร สมัตถะ/ปลัด.อบต. 2.นางไพลินี ศรีหาจันทร์ ๑๐ กองทุนฯเทศบาลตำบลคอนสวรรค์ คอนสวรรค์ 1.นายอภิชาติ  บุโฮม /ปลัดเทศบาล 2.นางมนต์วจี รูปชัยภูมิ





ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

 

 

0 0

15. อบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพ พี่เลี้ยงและคณะกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล เพื่อจัดทำแผนและโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น/พื้นที่

วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2561

กิจกรรมที่ทำ

ณ ห้องประชุมสำนักงานสาธารณสุขอำเภอคอนสวรรค์ จ.ชัยภูมิ ประชุมจำนวน 30 คน ขั้นตอนการดำเนินงาน บรรยายเรื่อง -แนวทางการพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
โดย สาธารณสุขอำเภอคอนสวรรค์ บรรยายเรื่อง -สถานการณ์ระบบสุขภาพของชุมชน/สังคม       -นำเสนอข้อมูลสถานการณ์ภาพรวมของกองทุนสุขภาพตำบล เขต 9
                -ความเป็นมาของโครงการพัฒนาฯ โดย นายสังเวียน งาหัตถีและนางปริยากร ชาลีพรม บรรยายเรื่อง แนวทางการจัดทำแผนงาน/โครงการการพัฒนาข้อเสนอโครงการฝึกปฏิบัติการลงข้อมูลจัดทำแผนสุขภาพชุมชนและโครงการฯ
โดย ผศ.ดร.ศักดิ์ชาย เพ็ชรตรา ม.ราชภัฏชัยภูมิ บรรยายเรื่อง ความสำคัญของการจัดการปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา
ยาสูบ และยาเสพติดฝึกปฏิบัติการลงข้อมูลจัดทำแผนสุขภาพชุมชนและโครงการเกี่ยวกับการจัดการปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพฯ โดย นายสุวัฒนะ วงปฏิมาพร
บรรยายเรื่อง ความสำคัญของการจัดการระบบอาหารและโภชนาการ ฝึกปฏิบัติการลงข้อมูลจัดทำแผนสุขภาพชุมชนและโครงการเกี่ยวกับการจัดการ ระบบอาหารและโภชนาการ โดย ผศ.ดร.ศักดิ์ชาย เพ็ชรตรา ม.ราชภัฏชัยภูมิ ผลที่เกิดขึ้น
7) พี่เลี้ยงและคณะกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล มีความเข้าใจสถานการณ์ภาพรวมการใช้จ่ายงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพ ปัญหาและอุปสรรคที่สำคัญในการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล เขต 9 8) พี่เลี้ยงและคณะกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล มีความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบายและความร่วมมือของสำนักงานประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และมูลนิธิประชาสังคมอุบลราชธานี รวมถึงแนวทางการดำเนินงานโครงการที่มีความเกี่ยวพันกับ 5 กิจกรรมหลักที่ต้องการให้เกิดร่วมกับกิจกรรมอื่น ๆ
9) คณะกรรมการกองทุนอำเภอคอนสวรรค์ (10 กองทุน) มีความเข้าใจและจะนำกิจกรรมดังกล่าวบรรจุเข้าแผนการดำเนินงานกองทุนสุขภาพระดับพื้นที่ในลำดับต่อไป 10) พี่เลี้ยงในระดับเขต ระดับจังหวัดและระดับอำเภอ มีเข้าใจบทบาทหน้าที่ของพี่เลี้ยง กิจกรรมที่ควรดำเนินการในการดำเนินโครงการของกองทุนใน 5 ประเด็น ประกอบด้วย การมีกิจกรรมทางกาย เหล้า บุหรี่ ยาเสพติด และอาหาร และวิธีการพัฒนาโครงการในแต่ละขั้นตอน (step by step)
11) พี่เลี้ยงและคณะกรรมการกองทุนมีความเข้าใจถึงวิธีการพัฒนาข้อเสนอโครงการ มีการเสนอชื่อพี่เลี้ยงในแต่ละกองทุน มีการฝึกพัฒนาโครงการทีละขั้นตอนจนมีความเข้าใจการพัฒนาโครงการผ่านโปรแกรมในระดับหนึ่ง
12) มีรายชื่อพี่เลี้ยงกองทุนสุขภาพตำบลในทุกระดับ (ตามเอกสารภาคผนวก ก)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

 

 

0 0

16. การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาแผนกองทุนตำบลและข้อเสนอโครงการกองทุนตำบล ภายใต้โครงการเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ สุรา ยาสูบ ยาเสพติด อาหารและโภชนาการ

วันที่ 9 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

ณ ห้องประชุมสำนักงานสาธารณสุขอำเภอคอนสวรรค์ อ.คอนสวรรค์ จ.ชัยภูมิ จำนวน 50 คน ขั้นตอนการดำเนินงาน บรรยายเรื่อง
-ความสำคัญของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น โดย ผศ.ดร.ศักดิ์ชาย เพ็ชรตรา บรรยายเรื่อง -สถานการณ์ระบบสุขภาพของชุมชน/สังคม ความสำคัญของความเป็นมาของโครงการ -ความสำคัญของปัจจัยเสี่ยง สุรา ยาสูบ สารเสพติดและโภชนาการ โดย นายสังเวียน งาหัตถีและนางปริยากร ชาลีพรม บรรยายเรื่อง ความสำคัญของการจัดการระบบอาหารและโภชนาการ -แนวทางการจัดทำแผนงาน/โครงการกองทุนตำบล
-การพัฒนาข้อเสนอโครงการกองทุนตำบล
โดย ผศ.ดร.ศักดิ์ชาย เพ็ชรตรา และนายสุวัฒนะ วงปฏิมาพร ผลที่เกิดขึ้น
1) พี่เลี้ยงและคณะกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล มีความเข้าใจสถานการณ์ภาพรวมการใช้จ่ายงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพ ปัญหาและอุปสรรคที่สำคัญในการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล เขต 9 2) พี่เลี้ยงและคณะกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล มีความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบายและความร่วมมือของสำนักงานประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และมูลนิธิประชาสังคมอุบลราชธานี รวมถึงแนวทางการดำเนินงานโครงการที่มีความเกี่ยวพันกับ 5 กิจกรรมหลักที่ต้องการให้เกิดร่วมกับกิจกรรมอื่น ๆ
3) คณะกรรมการกองทุนอำเภอคอนสวรรค์ (10 กองทุน) มีความเข้าใจและจะนำกิจกรรมดังกล่าวบรรจุเข้าแผนการดำเนินงานกองทุนสุขภาพระดับพื้นที่ในลำดับต่อไป 4) พี่เลี้ยงในระดับเขต ระดับจังหวัดและระดับอำเภอ มีเข้าใจบทบาทหน้าที่ของพี่เลี้ยง กิจกรรมที่ควรดำเนินการในการดำเนินโครงการของกองทุนใน 4 ประเด็น ประกอบด้วย เหล้า บุหรี่ ยาเสพติด และอาหาร และวิธีการพัฒนาโครงการในแต่ละขั้นตอน (step by step)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

 

 

0 0

17. การอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาแผนกองทุนตำบลและข้อเสนอโครงการกองทุนตำบล ภายใต้โครงการเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ สุรา ยาสูบ ยาเสพติด อาหารและโภชนาการ

วันที่ 10 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

ณ ห้องประชุมสำนักงานสาธารณสุขอำเภอบัวใหญ่ จ.นครราชสีมา จำนวน 60 คน ขั้นตอนการดำเนินงาน บรรยายเรื่อง
-ความสำคัญของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น โดย ผศ.ดร.ศักดิ์ชาย เพ็ชรตรา บรรยายเรื่อง -สถานการณ์ระบบสุขภาพของชุมชน/สังคม ความสำคัญของความเป็นมาของโครงการ -ความสำคัญของปัจจัยเสี่ยง สุรา ยาสูบ สารเสพติดและโภชนาการ โดย นายสังเวียน งาหัตถีและนางปริยากร ชาลีพรม บรรยายเรื่อง ความสำคัญของการจัดการระบบอาหารและโภชนาการ -แนวทางการจัดทำแผนงาน/โครงการกองทุนตำบล
-การพัฒนาข้อเสนอโครงการกองทุนตำบล
โดย ผศ.ดร.ศักดิ์ชาย เพ็ชรตรา และนายสุวัฒนะ วงปฏิมาพร ผลที่เกิดขึ้น
1) พี่เลี้ยงและคณะกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล มีความเข้าใจสถานการณ์ภาพรวมการใช้จ่ายงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพ ปัญหาและอุปสรรคที่สำคัญในการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล เขต 9 2) พี่เลี้ยงและคณะกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล มีความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบายและความร่วมมือของสำนักงานประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และมูลนิธิประชาสังคมอุบลราชธานี รวมถึงแนวทางการดำเนินงานโครงการที่มีความเกี่ยวพันกับ 5 กิจกรรมหลักที่ต้องการให้เกิดร่วมกับกิจกรรมอื่น ๆ
3) คณะกรรมการกองทุนอำเภอบัวใหญ่ (11 กองทุน) มีความเข้าใจและจะนำกิจกรรมดังกล่าวบรรจุเข้าแผนการดำเนินงานกองทุนสุขภาพระดับพื้นที่ในลำดับต่อไป 4) พี่เลี้ยงในระดับเขต ระดับจังหวัดและระดับอำเภอ มีเข้าใจบทบาทหน้าที่ของพี่เลี้ยง กิจกรรมที่ควรดำเนินการในการดำเนินโครงการของกองทุนใน 4 ประเด็น ประกอบด้วย เหล้า บุหรี่ ยาเสพติด และอาหาร และวิธีการพัฒนาโครงการในแต่ละขั้นตอน (step by step)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

 

 

0 0

18. พัฒนาศักยภาพกองทุนจัดทำแผน/โครงการเพื่อควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพสุรา ยาสูบ ยาเสพติด อาหารและโภชนาการ พื้นที่ เขต7 จ.กาฬสินธุ์

วันที่ 27 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

พัฒนาศักยภาพกองทุนจัดทำแผน/โครงการเพื่อควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพสุรา ยาสูบ ยาเสพติด อาหารและโภชนาการ พื้นที่
จ.กาฬสินธุ์ ระหว่างวันที่ 27-28 สิงหาคม 2561 ห้องประชุมศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วม กองทุนฯ จำนวน 10 แห่ง - พี่เลี้ยงโครงการจำนวน 10 คน
-กรรมการกองทุน จำนวน 51 คน
รวม 61 คน
กิจกรรม วันที่ 27 สิงหาคม 2561 08.00-08.30 ลงทะเบียนรับเอกสาร 08.30-09.30 ชี้แจงแผนการดำเนินงานงวดที่ 2 และ บทบาทพี่เลี้ยง 09.30-12.00 ออกแบบกระบวนการอบรม 12.00-13.00 รับประทานอาหารกลางวัน 13.00-16.00 ออกแบบกระบวนการอบรม (ต่อ) 16.00-16.30 แบ่งบทบาทหน้าที่

วันที่ 28 สิงหาคม 2561 08.00-08.30 ลงทะเบียนรับเอกสาร 08.30-09.00 ชี้แจงโครงการ และ กระบวนการอบรม โดย อาจารย์ธวัชชัย เคหะบาล ผู้รับผิดชอบโครงการ 09.00-10.00 ปัญหาของปัจจัยเสี่ยงที่ส่งผลต่อสุขภาวะ และ แนวทางการเขียนโครงการ วิทยากรบรรยาย โดย โดย อาจารย์ธวัชชัย เคหะบาล 10.00-10.15 พักรับประทานอาหารว่าง 10.15-12.00 ติดตามความก้าวหน้าโครงการด้านปัจจัยเสี่ยง ปี 61และจัดทำแผนงานกองทุนสุขภาพด้านปัจจัยเสี่ยง
แบ่งกลุ่มย่อยรายประเด็น 4 ประเด็น กลุ่ม 1 พัฒนาแผนงานและโครงการเพื่อป้องกันและแก้ไข ปัญหาปัจจัยเสี่ยงสุราและ ยาเสพติด วิทยากร โดย
อาจารย์อภิรดี ดอนอ่อนเบ้า คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ คุณเยาวรัตน์ ไชยหอม เครือข่ายสมัชชาสุขภาพจังหวัดกาฬสินธุ์ กลุ่ม 2 พัฒนาแผนงานและโครงการเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาปัจจัยเสี่ยงบุหรี่
วิทยากร โดย คุณสุกฤตา ศรีณะพรหม พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ โรงพยาบาลคำม่วง คุณวสุพล นาใจดี เครือข่ายสมัชชาสุขภาพจังหวัดกาฬสินธุ์ กลุ่ม 3 พัฒนาแผนงานและโครงการเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาด้านอาหาร และภาวะโภชนาการ วิทยากร โดย อาจารย์ธวัชชัย เคหะบาล คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ คุณทินกร ถิ่นวรแสง เจ้าพนักงานทันตสาธารณสุขชำนาญงาน
รพสต.บ้านนาบอน ต.นาบอน อ.คำม่วง จ.กาฬสินธุ์ 12.00-13.00 พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.00-15.00 น. ปฏิบัติการเขียนแผนงานโครงการ
แบ่งกลุ่มย่อย รายกองทุน 15.00-16.00 นำเสนอรายกลุ่ม 16.00-16.30 สรุปการอบรม

ผลลัพธ์ 1.พัฒนาคน/กลไก รวม 61 คน -คณะกรรมการกองทุน 10 แห่ง จำนวน 51 คน ได้รับการพัฒนาศักยภาพ เห็นความสำคัญของปัจจัยเสี่ยงทั้ง 4 ด้าน ได้ฝึกทักษะการลงข้อมูลในโปรแกรมพัฒนาแผนงาน/โครงการกองทุนออนไลน์ - พี่เลี้ยงกองทุนจำนวน 10 คน ได้รับการพัฒนาศักยภาพ เห็นความสำคัญของปัจจัยเสี่ยงทั้ง 4 ด้าน ได้ฝึกทักษะการแนะนำการลงข้อมูลในโปรแกรมพัฒนาแผนงาน/โครงการกองทุนออนไลน์ 2.พัฒนาแผนงานกองทุนฯจ.กาฬสินธุ์ ปี พ.ศ.2561-2562 รวมจำนวน 68 แผนงาน 2.1 แผนงานเหล้า จำนวน 19 แผนงาน   2.1.1 ปี 2561 จำนวน 10 แผนงาน   2.1.2 ปี 2562 จำนวน 9 แผนงาน 2.2 แผนงานบุหรี่ จำนวน 19 แผนงาน   2.1.1 ปี 2561 จำนวน 9 แผนงาน   2.1.2 ปี 2562 จำนวน 10 แผนงาน

2.3 แผนงานสารเสพติด จำนวน 11 แผนงาน   2.3.1 ปี 2561 จำนวน 7 แผนงาน   2.3.2 ปี 2562 จำนวน 4 แผนงาน 2.4 แผนงานอาหารฯ จำนวน 19 แผนงาน   2.4.1 ปี 2561 จำนวน 10 แผนงาน   2.4.2 ปี 2562 จำนวน 9 แผนงาน 3.พัฒนาโครงการปี 2561-2562 รวมจำนวน 66 โครงการ 3.1 โครงการเหล้า จำนวน 19 โครงการ   3.1.1 ปี 2561 จำนวน  8 โครงการ   3.1.2 ปี 2562 จำนวน  11 โครงการ 3.2 โครงการบุหรี่ จำนวน 17 โครงการ   3.2.1 ปี 2561 จำนวน 6 โครงการ   3.2.2 ปี 2562 จำนวน 13 โครงการ 3.3 โครงการยาเสพติด จำนวน 10 โครงการ   3.3.1 ปี 2561 จำนวน 2 โครงการ   3.3.2 ปี 2562 จำนวน 8 โครงการ 3.4 โครงการอาหารฯ จำนวน 18 โครงการ   3.3.1 ปี 2561 จำนวน 9 โครงการ   3.3.2 ปี 2562 จำนวน 9 โครงการ 4.ผลการติดตามความก้าวและผลลัพธ์โครงการปี 2561
รวม 16 โครงการ 4.1 โครงการเหล้า จำนวน 5 โครงการ 4.2 โครงการบุหรี่ จำนวน 5 โครงการ 4.3 โครงการยาเสพติด จำนวน 1 โครงการ 4.4 โครงการอาหารฯ จำนวน 4 โครงการ 5.แผนการหนุนเสริมการพัฒนาแผนงาน/โครงการกองทุน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

 

 

0 0

19. การประชุมเชิงปฏิบัติ โครงการเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ สุรา ยาสูบ ยาเสพติด อาหารและโภชนาการ ของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

วันที่ 27 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

ณ ห้องประชุมสำนักงานสาธารณสุขอำเภอคอนสวรรค์ จ.ชัยภูมิ  จำนวน 60 คน ขั้นตอนการดำเนินงาน บรรยายเรื่อง
-ทบทวนความเป็นมาของโครงการในกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น -ความสำคัญของการจัดการกิจกรรมทางกาย
โดย ผศ.ดร.ศักดิ์ชาย เพ็ชรตรา/สาธารณสุขอำเภอคอนสวรรค์
-แนวทางการกำกับติดตามและประเมินผลโครงการ โดย นายสุวัฒนะ วงปฏิมาพรและนางปริยากร ชาลีพรม การบันทึกข้อมูลโครงการ ทาง online และฝึกปฏิบัติการ โดย นายสังเวียน งาหัตถี วิทยากรกลุ่ม ผศ.ดร.ศักดิ์ชาย เพ็ชรตรา นายสุวัฒนะ วงปฏิมาพรและนางปริยากร ชาลีพรม ผลที่เกิดขึ้น
1) พี่เลี้ยงและคณะกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล มีความเข้าใจสถานการณ์ภาพรวมการใช้จ่ายงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพ ปัญหาและอุปสรรคที่สำคัญในการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล เขต 9 2) พี่เ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

 

 

0 0

20. การประชุมเชิงปฏิบัติ โครงการเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ สุรา ยาสูบ ยาเสพติด อาหารและโภชนาการ ของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

วันที่ 27 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

ณ ห้องประชุมสำนักงานสาธารณสุขอำเภอคอนสวรรค์ จ.ชัยภูมิ  จำนวน 60 คน ขั้นตอนการดำเนินงาน บรรยายเรื่อง
-ทบทวนความเป็นมาของโครงการในกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น -ความสำคัญของการจัดการกิจกรรมทางกาย
โดย ผศ.ดร.ศักดิ์ชาย เพ็ชรตรา/สาธารณสุขอำเภอคอนสวรรค์
-แนวทางการกำกับติดตามและประเมินผลโครงการ โดย นายสุวัฒนะ วงปฏิมาพรและนางปริยากร ชาลีพรม การบันทึกข้อมูลโครงการ ทาง online และฝึกปฏิบัติการ โดย นายสังเวียน งาหัตถี วิทยากรกลุ่ม ผศ.ดร.ศักดิ์ชาย เพ็ชรตรา นายสุวัฒนะ วงปฏิมาพรและนางปริยากร ชาลีพรม ผลที่เกิดขึ้น
1) พี่เลี้ยงและคณะกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล มีความเข้าใจสถานการณ์ภาพรวมการใช้จ่ายงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพ ปัญหาและอุปสรรคที่สำคัญในการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล เขต 9 2) พี่เ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

 

 

0 0

21. การประชุมเชิงปฏิบัติ โครงการเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ สุรา ยาสูบ ยาเสพติด อาหารและโภชนาการ ของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

วันที่ 27 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

ณ ห้องประชุมสำนักงานสาธารณสุขอำเภอคอนสวรรค์ จ.ชัยภูมิ  จำนวน 60 คน ขั้นตอนการดำเนินงาน บรรยายเรื่อง
-ทบทวนความเป็นมาของโครงการในกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น -ความสำคัญของการจัดการกิจกรรมทางกาย
โดย ผศ.ดร.ศักดิ์ชาย เพ็ชรตรา/สาธารณสุขอำเภอคอนสวรรค์
-แนวทางการกำกับติดตามและประเมินผลโครงการ โดย นายสุวัฒนะ วงปฏิมาพรและนางปริยากร ชาลีพรม การบันทึกข้อมูลโครงการ ทาง online และฝึกปฏิบัติการ โดย นายสังเวียน งาหัตถี วิทยากรกลุ่ม ผศ.ดร.ศักดิ์ชาย เพ็ชรตรา นายสุวัฒนะ วงปฏิมาพรและนางปริยากร ชาลีพรม ผลที่เกิดขึ้น
1) พี่เลี้ยงและคณะกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล มีความเข้าใจสถานการณ์ภาพรวมการใช้จ่ายงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพ ปัญหาและอุปสรรคที่สำคัญในการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล เขต 9 2) พี่เลี้ยงและคณะกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล มีความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบายและความร่วมมือของสำนักงานประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และมูลนิธิประชาสังคมอุบลราชธานี รวมถึงแนวทางการดำเนินงานโครงการที่มีความเกี่ยวพันกับ 5 กิจกรรมหลักที่ต้องการให้เกิดร่วมกับกิจกรรมอื่น ๆ
3) คณะกรรมการกองทุนอำเภอคอนสวรรค์ (10 กองทุน) มีความเข้าใจและจะนำกิจกรรมดังกล่าวบรรจุเข้าแผนการดำเนินงานกองทุนสุขภาพระดับพื้นที่ในลำดับต่อไป 4) พี่เลี้ยงในระดับเขต ระดับจังหวัดและระดับอำเภอ มีเข้าใจบทบาทหน้าที่ของพี่เลี้ยง กิจกรรมที่ควรดำเนินการในการดำเนินโครงการของกองทุนใน 4 ประเด็น ประกอบด้วย เหล้า บุหรี่ ยาเสพติด และอาหาร และวิธีการพัฒนาโครงการในแต่ละขั้นตอน (step by step)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

 

 

0 0

22. การประชุมเชิงปฏิบัติ โครงการเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ สุรา ยาสูบ ยาเสพติด อาหารและโภชนาการ ของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

วันที่ 28 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

ณ ห้องประชุมสำนักงานสาธารณสุขอำเภอบัวใหญ่ จ.นครราชสีมา  จำนวน 60 คน ขั้นตอนการดำเนินงาน บรรยายเรื่อง
-ทบทวนความเป็นมาของโครงการในกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น -ความสำคัญของการจัดการกิจกรรมทางกาย
โดย ผศ.ดร.ศักดิ์ชาย เพ็ชรตรา/สาธารณสุขอำเภอคอนสวรรค์
-แนวทางการกำกับติดตามและประเมินผลโครงการ โดย นายสุวัฒนะ วงปฏิมาพรและนางปริยากร ชาลีพรม การบันทึกข้อมูลโครงการ ทาง online และฝึกปฏิบัติการ โดย นายสังเวียน งาหัตถี วิทยากรกลุ่ม ผศ.ดร.ศักดิ์ชาย เพ็ชรตรา นายสุวัฒนะ วงปฏิมาพรและนางปริยากร ชาลีพรม ผลที่เกิดขึ้น
1) พี่เลี้ยงและคณะกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล มีความเข้าใจสถานการณ์ภาพรวมการใช้จ่ายงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพ ปัญหาและอุปสรรคที่สำคัญในการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล เขต 9 2) พี่เลี้ยงและคณะกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล มีความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบายและความร่วมมือของสำนักงานประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และมูลนิธิประชาสังคมอุบลราชธานี รวมถึงแนวทางการดำเนินงานโครงการที่มีความเกี่ยวพันกับ 5 กิจกรรมหลักที่ต้องการให้เกิดร่วมกับกิจกรรมอื่น ๆ
3) คณะกรรมการกองทุนอำเภอบัวใหญ่ (11 กองทุน) มีความเข้าใจและจะนำกิจกรรมดังกล่าวบรรจุเข้าแผนการดำเนินงานกองทุนสุขภาพระดับพื้นที่ในลำดับต่อไป 4) พี่เลี้ยงในระดับเขต ระดับจังหวัดและระดับอำเภอ มีเข้าใจบทบาทหน้าที่ของพี่เลี้ยง กิจกรรมที่ควรดำเนินการในการดำเนินโครงการของกองทุนใน 4 ประเด็น ประกอบด้วย เหล้า บุหรี่ ยาเสพติด และอาหาร และวิธีการพัฒนาโครงการในแต่ละขั้นตอน (step by step)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

 

 

0 0

23. ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่นให้จัดทำแผนงาน/โครงการจัดการปัจจัยเสี่ยง

วันที่ 4 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

ประlสานงานกับพื้นที่ ชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่นให้จัดทำแผนงาน/โครงการจัดการปัจจัยเสี่ยง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

 

 

0 0

24. ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่นให้จัดทำแผนงาน/โครงการจัดการปัจจัยเสี่ยง

วันที่ 4 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

ประlสานงานกับพื้นที่ ชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่นให้จัดทำแผนงาน/โครงการจัดการปัจจัยเสี่ยง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

 

 

0 0

25. การประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำแผนและพัฒนาโครงการจัดการปัจจเสี่ยงต่อสุขภาพ อาหารและโภชนาการ (อ.เขื่องใน จ.อุบลราชธานี)

วันที่ 6 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

08.00 - 08.30  น.  ลงทะเบียน 08.30 - 12.00  น.  สถานการณ์ ระบบสุขภาพของชุมชน/ แนวทางการจัดทำแผนงาน/โครงการ
                การพัฒนาข้อเสนอโครงการฝึกปฏิบัติการลงข้อมูลจัดทำแผนสุขภาพชุมชนและโครงการฯ
12.00 -13.00  น.    รับประทานอาหารกลางวัน 13.00 – 14.00 น.    ความสำคัญของการจัดการปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบและยาเสพติด ฝึกปฏิบัติการลงข้อมูลจัดทำแผนสุขภาพชุมชนและโครงการเกี่ยวกับการจัดการ               ปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพฯ 14.00 – 16.00 น.    ความสำคัญของการจัดการระบบอาหารและโภชนาการ ฝึกปฏิบัติการลงข้อมูลจัดทำแผนสุขภาพชุมชนและโครงการเกี่ยวกับการจัดการ               ระบบอาหารและโภชนาการ
              สรุปการประชุม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

 

 

0 0

26. ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่นให้จัดทำแผนงาน/โครงการจัดการปัจจัยเสี่ยง

วันที่ 6 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

ประสานงานกับพื้นที่ ชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่นให้จัดทำแผนงาน/โครงการจัดการปัจจัยเสี่ยง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

 

 

0 0

27. การประชุมเชิงปฏิบัติการ “การพัฒนาศักยภาพกองทุนฯ การทำแผนงาน/โครงการเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ สุรา ยาสูบ ยาเสพติด อาหารและโภชนาการ

วันที่ 7 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

ณ ห้องประชุมสำนักงานสาธารณสุขอำเภอบัวใหญ่ จังหวัดนครราชสีมา  จำนวน 60 คน ขั้นตอนการดำเนินงาน บรรยายเรื่อง
ความสำคัญของการจัดการปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ ได้แก่สุรา ยาสูบ สารเสพติดและการจัดการระบบอาหารและโภชนาการ โดย ผศ.ดร.ศักดิ์ชาย เพ็ชรตรา มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ ฝึกปฏิบัติการลงข้อมูลจัดทำแผนสุขภาพชุมชนและโครงการเกี่ยวกับการจัดการปัจจัยเสี่ยง  ต่อสุขภาพฯ และระบบอาหารและโภชนาการ โดย นายสังเวียน งาหัตถี และนางปริยากร ชาลีพรม แบ่งกลุ่มย่อยรายตำบล เพื่อฝึกปฏิบัติการลงข้อมูลจัดทำแผนสุขภาพชุมชนและโครงการเกี่ยวกับการจัดการปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพฯ ระบบอาหารและโภชนาการ โดย ทีมวิทยากร ผลที่เกิดขึ้น
1) พี่เลี้ยงและคณะกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล มีความเข้าใจสถานการณ์ภาพรวมการใช้จ่ายงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพ ปัญหาและอุปสรรคที่สำคัญในการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล เขต 9 2) พี่เลี้ยงและคณะกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล มีความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบายและความร่วมมือของสำนักงานประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และมูลนิธิประชาสังคมอุบลราชธานี รวมถึงแนวทางการดำเนินงานโครงการที่มีความเกี่ยวพันกับ 5 กิจกรรมหลักที่ต้องการให้เกิดร่วมกับกิจกรรมอื่น ๆ
3) คณะกรรมการกองทุนอำเภอบัวใหญ่ (11 กองทุน) มีความเข้าใจและจะนำกิจกรรมดังกล่าวบรรจุเข้าแผนการดำเนินงานกองทุนสุขภาพระดับพื้นที่ในลำดับต่อไป 4) พี่เลี้ยงในระดับเขต ระดับจังหวัดและระดับอำเภอ มีเข้าใจบทบาทหน้าที่ของพี่เลี้ยง กิจกรรมที่ควรดำเนินการในการดำเนินโครงการของกองทุนใน 4 ประเด็น ประกอบด้วย เหล้า บุหรี่ ยาเสพติด และอาหาร และวิธีการพัฒนาโครงการในแต่ละขั้นตอน (step by step)
5) คณะกรรมการกองทุนอำเภอบัวใหญ่ (11 กองทุน) สามารถลงข้อมูลในโปรแกรมได้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

 

 

0 0

28. การประชุมเชิงปฏิบัติการ “การพัฒนาศักยภาพกองทุนฯ การทำแผนงาน/โครงการเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ สุรา ยาสูบ ยาเสพติด อาหารและโภชนาการ

วันที่ 7 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

ณ ห้องประชุมสำนักงานสาธารณสุขอำเภอบัวใหญ่ จังหวัดนครราชสีมา  จำนวน 60 คน ขั้นตอนการดำเนินงาน บรรยายเรื่อง
ความสำคัญของการจัดการปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ ได้แก่สุรา ยาสูบ สารเสพติดและการจัดการระบบอาหารและโภชนาการ โดย ผศ.ดร.ศักดิ์ชาย เพ็ชรตรา มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ ฝึกปฏิบัติการลงข้อมูลจัดทำแผนสุขภาพชุมชนและโครงการเกี่ยวกับการจัดการปัจจัยเสี่ยง  ต่อสุขภาพฯ และระบบอาหารและโภชนาการ โดย นายสังเวียน งาหัตถี และนางปริยากร ชาลีพรม แบ่งกลุ่มย่อยรายตำบล เพื่อฝึกปฏิบัติการลงข้อมูลจัดทำแผนสุขภาพชุมชนและโครงการเกี่ยวกับการจัดการปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพฯ ระบบอาหารและโภชนาการ โดย ทีมวิทยากร ผลที่เกิดขึ้น
1) พี่เลี้ยงและคณะกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล มีความเข้าใจสถานการณ์ภาพรวมการใช้จ่ายงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพ ปัญหาและอุปสรรคที่สำคัญในการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล เขต 9 2) พี่เลี้ยงและคณะกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล มีความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบายและความร่วมมือของสำนักงานประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และมูลนิธิประชาสังคมอุบลราชธานี รวมถึงแนวทางการดำเนินงานโครงการที่มีความเกี่ยวพันกับ 5 กิจกรรมหลักที่ต้องการให้เกิดร่วมกับกิจกรรมอื่น ๆ
3) คณะกรรมการกองทุนอำเภอบัวใหญ่ (11 กองทุน) มีความเข้าใจและจะนำกิจกรรมดังกล่าวบรรจุเข้าแผนการดำเนินงานกองทุนสุขภาพระดับพื้นที่ในลำดับต่อไป 4) พี่เลี้ยงในระดับเขต ระดับจังหวัดและระดับอำเภอ มีเข้าใจบทบาทหน้าที่ของพี่เลี้ยง กิจกรรมที่ควรดำเนินการในการดำเนินโครงการของกองทุนใน 4 ประเด็น ประกอบด้วย เหล้า บุหรี่ ยาเสพติด และอาหาร และวิธีการพัฒนาโครงการในแต่ละขั้นตอน (step by step)
5) คณะกรรมการกองทุนอำเภอบัวใหญ่ (11 กองทุน) สามารถลงข้อมูลในโปรแกรมได้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

 

 

0 0

29. การประชุมเชิงปฏิบัติการ “การพัฒนาศักยภาพกองทุนฯ การทำแผนงาน/โครงการเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ สุรา ยาสูบ ยาเสพติด อาหารและโภชนาการ

วันที่ 7 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

ณ ห้องประชุมสำนักงานสาธารณสุขอำเภอบัวใหญ่ จังหวัดนครราชสีมา  จำนวน 60 คน ขั้นตอนการดำเนินงาน บรรยายเรื่อง
ความสำคัญของการจัดการปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ ได้แก่สุรา ยาสูบ สารเสพติดและการจัดการระบบอาหารและโภชนาการ โดย ผศ.ดร.ศักดิ์ชาย เพ็ชรตรา มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ ฝึกปฏิบัติการลงข้อมูลจัดทำแผนสุขภาพชุมชนและโครงการเกี่ยวกับการจัดการปัจจัยเสี่ยง  ต่อสุขภาพฯ และระบบอาหารและโภชนาการ โดย นายสังเวียน งาหัตถี และนางปริยากร ชาลีพรม แบ่งกลุ่มย่อยรายตำบล เพื่อฝึกปฏิบัติการลงข้อมูลจัดทำแผนสุขภาพชุมชนและโครงการเกี่ยวกับการจัดการปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพฯ ระบบอาหารและโภชนาการ โดย ทีมวิทยากร ผลที่เกิดขึ้น
1) พี่เลี้ยงและคณะกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล มีความเข้าใจสถานการณ์ภาพรวมการใช้จ่ายงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพ ปัญหาและอุปสรรคที่สำคัญในการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล เขต 9 2) พี่เลี้ยงและคณะกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล มีความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบายและความร่วมมือของสำนักงานประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และมูลนิธิประชาสังคมอุบลราชธานี รวมถึงแนวทางการดำเนินงานโครงการที่มีความเกี่ยวพันกับ 5 กิจกรรมหลักที่ต้องการให้เกิดร่วมกับกิจกรรมอื่น ๆ
3) คณะกรรมการกองทุนอำเภอบัวใหญ่ (11 กองทุน) มีความเข้าใจและจะนำกิจกรรมดังกล่าวบรรจุเข้าแผนการดำเนินงานกองทุนสุขภาพระดับพื้นที่ในลำดับต่อไป 4) พี่เลี้ยงในระดับเขต ระดับจังหวัดและระดับอำเภอ มีเข้าใจบทบาทหน้าที่ของพี่เลี้ยง กิจกรรมที่ควรดำเนินการในการดำเนินโครงการของกองทุนใน 4 ประเด็น ประกอบด้วย เหล้า บุหรี่ ยาเสพติด และอาหาร และวิธีการพัฒนาโครงการในแต่ละขั้นตอน (step by step)
5) คณะกรรมการกองทุนอำเภอบัวใหญ่ (11 กองทุน) สามารถลงข้อมูลในโปรแกรมได้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

 

 

0 0

30. การประชุมเชิงปฏิบัติการ “การพัฒนาศักยภาพกองทุนฯ การทำแผนงาน/โครงการเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ สุรา ยาสูบ ยาเสพติด อาหารและโภชนาการ

วันที่ 7 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

ณ ห้องประชุมสำนักงานสาธารณสุขอำเภอบัวใหญ่ จังหวัดนครราชสีมา  จำนวน 60 คน ขั้นตอนการดำเนินงาน บรรยายเรื่อง
ความสำคัญของการจัดการปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ ได้แก่สุรา ยาสูบ สารเสพติดและการจัดการระบบอาหารและโภชนาการ โดย ผศ.ดร.ศักดิ์ชาย เพ็ชรตรา มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ ฝึกปฏิบัติการลงข้อมูลจัดทำแผนสุขภาพชุมชนและโครงการเกี่ยวกับการจัดการปัจจัยเสี่ยง  ต่อสุขภาพฯ และระบบอาหารและโภชนาการ โดย นายสังเวียน งาหัตถี และนางปริยากร ชาลีพรม แบ่งกลุ่มย่อยรายตำบล เพื่อฝึกปฏิบัติการลงข้อมูลจัดทำแผนสุขภาพชุมชนและโครงการเกี่ยวกับการจัดการปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพฯ ระบบอาหารและโภชนาการ โดย ทีมวิทยากร ผลที่เกิดขึ้น
1) พี่เลี้ยงและคณะกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล มีความเข้าใจสถานการณ์ภาพรวมการใช้จ่ายงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพ ปัญหาและอุปสรรคที่สำคัญในการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล เขต 9 2) พี่เลี้ยงและคณะกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล มีความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบายและความร่วมมือของสำนักงานประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และมูลนิธิประชาสังคมอุบลราชธานี รวมถึงแนวทางการดำเนินงานโครงการที่มีความเกี่ยวพันกับ 5 กิจกรรมหลักที่ต้องการให้เกิดร่วมกับกิจกรรมอื่น ๆ
3) คณะกรรมการกองทุนอำเภอบัวใหญ่ (11 กองทุน) มีความเข้าใจและจะนำกิจกรรมดังกล่าวบรรจุเข้าแผนการดำเนินงานกองทุนสุขภาพระดับพื้นที่ในลำดับต่อไป 4) พี่เลี้ยงในระดับเขต ระดับจังหวัดและระดับอำเภอ มีเข้าใจบทบาทหน้าที่ของพี่เลี้ยง กิจกรรมที่ควรดำเนินการในการดำเนินโครงการของกองทุนใน 4 ประเด็น ประกอบด้วย เหล้า บุหรี่ ยาเสพติด และอาหาร และวิธีการพัฒนาโครงการในแต่ละขั้นตอน (step by step)
5) คณะกรรมการกองทุนอำเภอบัวใหญ่ (11 กองทุน) สามารถลงข้อมูลในโปรแกรมได้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

 

 

0 0

31. การประชุมเชิงปฏิบัติการ “การพัฒนาศักยภาพกองทุนฯ การทำแผนงาน/โครงการเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ สุรา ยาสูบ ยาเสพติด อาหารและโภชนาการ

วันที่ 7 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

ณ ห้องประชุมสำนักงานสาธารณสุขอำเภอบัวใหญ่ จังหวัดนครราชสีมา  จำนวน 60 คน ขั้นตอนการดำเนินงาน บรรยายเรื่อง
ความสำคัญของการจัดการปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ ได้แก่สุรา ยาสูบ สารเสพติดและการจัดการระบบอาหารและโภชนาการ โดย ผศ.ดร.ศักดิ์ชาย เพ็ชรตรา มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ ฝึกปฏิบัติการลงข้อมูลจัดทำแผนสุขภาพชุมชนและโครงการเกี่ยวกับการจัดการปัจจัยเสี่ยง  ต่อสุขภาพฯ และระบบอาหารและโภชนาการ โดย นายสังเวียน งาหัตถี และนางปริยากร ชาลีพรม แบ่งกลุ่มย่อยรายตำบล เพื่อฝึกปฏิบัติการลงข้อมูลจัดทำแผนสุขภาพชุมชนและโครงการเกี่ยวกับการจัดการปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพฯ ระบบอาหารและโภชนาการ โดย ทีมวิทยากร ผลที่เกิดขึ้น
1) พี่เลี้ยงและคณะกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล มีความเข้าใจสถานการณ์ภาพรวมการใช้จ่ายงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพ ปัญหาและอุปสรรคที่สำคัญในการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล เขต 9 2) พี่เลี้ยงและคณะกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล มีความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบายและความร่วมมือของสำนักงานประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และมูลนิธิประชาสังคมอุบลราชธานี รวมถึงแนวทางการดำเนินงานโครงการที่มีความเกี่ยวพันกับ 5 กิจกรรมหลักที่ต้องการให้เกิดร่วมกับกิจกรรมอื่น ๆ
3) คณะกรรมการกองทุนอำเภอบัวใหญ่ (11 กองทุน) มีความเข้าใจและจะนำกิจกรรมดังกล่าวบรรจุเข้าแผนการดำเนินงานกองทุนสุขภาพระดับพื้นที่ในลำดับต่อไป 4) พี่เลี้ยงในระดับเขต ระดับจังหวัดและระดับอำเภอ มีเข้าใจบทบาทหน้าที่ของพี่เลี้ยง กิจกรรมที่ควรดำเนินการในการดำเนินโครงการของกองทุนใน 4 ประเด็น ประกอบด้วย เหล้า บุหรี่ ยาเสพติด และอาหาร และวิธีการพัฒนาโครงการในแต่ละขั้นตอน (step by step)
5) คณะกรรมการกองทุนอำเภอบัวใหญ่ (11 กองทุน) สามารถลงข้อมูลในโปรแกรมได้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

 

 

0 0

32. การประชุมเชิงปฏิบัติการ “การพัฒนาศักยภาพกองทุนฯ การทำแผนงาน/โครงการเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ สุรา ยาสูบ ยาเสพติด อาหารและโภชนาการ

วันที่ 7 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

ณ ห้องประชุมสำนักงานสาธารณสุขอำเภอบัวใหญ่ จังหวัดนครราชสีมา  จำนวน 60 คน ขั้นตอนการดำเนินงาน บรรยายเรื่อง
ความสำคัญของการจัดการปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ ได้แก่สุรา ยาสูบ สารเสพติดและการจัดการระบบอาหารและโภชนาการ โดย ผศ.ดร.ศักดิ์ชาย เพ็ชรตรา มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ ฝึกปฏิบัติการลงข้อมูลจัดทำแผนสุขภาพชุมชนและโครงการเกี่ยวกับการจัดการปัจจัยเสี่ยง  ต่อสุขภาพฯ และระบบอาหารและโภชนาการ โดย นายสังเวียน งาหัตถี และนางปริยากร ชาลีพรม แบ่งกลุ่มย่อยรายตำบล เพื่อฝึกปฏิบัติการลงข้อมูลจัดทำแผนสุขภาพชุมชนและโครงการเกี่ยวกับการจัดการปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพฯ ระบบอาหารและโภชนาการ โดย ทีมวิทยากร ผลที่เกิดขึ้น
1) พี่เลี้ยงและคณะกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล มีความเข้าใจสถานการณ์ภาพรวมการใช้จ่ายงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพ ปัญหาและอุปสรรคที่สำคัญในการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล เขต 9 2) พี่เลี้ยงและคณะกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล มีความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบายและความร่วมมือของสำนักงานประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และมูลนิธิประชาสังคมอุบลราชธานี รวมถึงแนวทางการดำเนินงานโครงการที่มีความเกี่ยวพันกับ 5 กิจกรรมหลักที่ต้องการให้เกิดร่วมกับกิจกรรมอื่น ๆ
3) คณะกรรมการกองทุนอำเภอบัวใหญ่ (11 กองทุน) มีความเข้าใจและจะนำกิจกรรมดังกล่าวบรรจุเข้าแผนการดำเนินงานกองทุนสุขภาพระดับพื้นที่ในลำดับต่อไป 4) พี่เลี้ยงในระดับเขต ระดับจังหวัดและระดับอำเภอ มีเข้าใจบทบาทหน้าที่ของพี่เลี้ยง กิจกรรมที่ควรดำเนินการในการดำเนินโครงการของกองทุนใน 4 ประเด็น ประกอบด้วย เหล้า บุหรี่ ยาเสพติด และอาหาร และวิธีการพัฒนาโครงการในแต่ละขั้นตอน (step by step)
5) คณะกรรมการกองทุนอำเภอบัวใหญ่ (11 กองทุน) สามารถลงข้อมูลในโปรแกรมได้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

 

 

0 0

33. การประชุมเชิงปฏิบัติการ “การพัฒนาศักยภาพกองทุนฯ การทำแผนงาน/โครงการเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ สุรา ยาสูบ ยาเสพติด อาหารและโภชนาการ

วันที่ 7 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

ณ ห้องประชุมสำนักงานสาธารณสุขอำเภอบัวใหญ่ จังหวัดนครราชสีมา  จำนวน 60 คน ขั้นตอนการดำเนินงาน บรรยายเรื่อง
ความสำคัญของการจัดการปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ ได้แก่สุรา ยาสูบ สารเสพติดและการจัดการระบบอาหารและโภชนาการ โดย ผศ.ดร.ศักดิ์ชาย เพ็ชรตรา มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ ฝึกปฏิบัติการลงข้อมูลจัดทำแผนสุขภาพชุมชนและโครงการเกี่ยวกับการจัดการปัจจัยเสี่ยง  ต่อสุขภาพฯ และระบบอาหารและโภชนาการ โดย นายสังเวียน งาหัตถี และนางปริยากร ชาลีพรม แบ่งกลุ่มย่อยรายตำบล เพื่อฝึกปฏิบัติการลงข้อมูลจัดทำแผนสุขภาพชุมชนและโครงการเกี่ยวกับการจัดการปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพฯ ระบบอาหารและโภชนาการ โดย ทีมวิทยากร ผลที่เกิดขึ้น
1) พี่เลี้ยงและคณะกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล มีความเข้าใจสถานการณ์ภาพรวมการใช้จ่ายงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพ ปัญหาและอุปสรรคที่สำคัญในการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล เขต 9 2) พี่เลี้ยงและคณะกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล มีความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบายและความร่วมมือของสำนักงานประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และมูลนิธิประชาสังคมอุบลราชธานี รวมถึงแนวทางการดำเนินงานโครงการที่มีความเกี่ยวพันกับ 5 กิจกรรมหลักที่ต้องการให้เกิดร่วมกับกิจกรรมอื่น ๆ
3) คณะกรรมการกองทุนอำเภอบัวใหญ่ (11 กองทุน) มีความเข้าใจและจะนำกิจกรรมดังกล่าวบรรจุเข้าแผนการดำเนินงานกองทุนสุขภาพระดับพื้นที่ในลำดับต่อไป 4) พี่เลี้ยงในระดับเขต ระดับจังหวัดและระดับอำเภอ มีเข้าใจบทบาทหน้าที่ของพี่เลี้ยง กิจกรรมที่ควรดำเนินการในการดำเนินโครงการของกองทุนใน 4 ประเด็น ประกอบด้วย เหล้า บุหรี่ ยาเสพติด และอาหาร และวิธีการพัฒนาโครงการในแต่ละขั้นตอน (step by step)
5) คณะกรรมการกองทุนอำเภอบัวใหญ่ (11 กองทุน) สามารถลงข้อมูลในโปรแกรมได้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

 

 

0 0

34. การประชุมเชิงปฏิบัติการ “การพัฒนาศักยภาพกองทุนฯ การทำแผนงาน/โครงการเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ สุรา ยาสูบ ยาเสพติด อาหารและโภชนาการ

วันที่ 12 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

ณ ห้องประชุมสำนักงานสาธารณสุขอำเภอคอนสวรรค์ จ.ชัยภูมิ  จำนวน 60 คน ขั้นตอนการดำเนินงาน บรรยายเรื่อง
ความสำคัญของการจัดการปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ ได้แก่สุรา ยาสูบ สารเสพติดและการจัดการระบบอาหารและโภชนาการ โดย ผศ.ดร.ศักดิ์ชาย เพ็ชรตรา มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ ฝึกปฏิบัติการลงข้อมูลจัดทำแผนสุขภาพชุมชนและโครงการเกี่ยวกับการจัดการปัจจัยเสี่ยง  ต่อสุขภาพฯ และระบบอาหารและโภชนาการ โดย นายสังเวียน งาหัตถี และนางปริยากร ชาลีพรม แบ่งกลุ่มย่อยรายตำบล เพื่อฝึกปฏิบัติการลงข้อมูลจัดทำแผนสุขภาพชุมชนและโครงการเกี่ยวกับการจัดการปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพฯ ระบบอาหารและโภชนาการ โดย ทีมวิทยากร ผลที่เกิดขึ้น
1) พี่เลี้ยงและคณะกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล มีความเข้าใจสถานการณ์ภาพรวมการใช้จ่ายงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพ ปัญหาและอุปสรรคที่สำคัญในการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล เขต 9 2) พี่เลี้ยงและคณะกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล มีความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบายและความร่วมมือของสำนักงานประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และมูลนิธิประชาสังคมอุบลราชธานี รวมถึงแนวทางการดำเนินงานโครงการที่มีความเกี่ยวพันกับ 5 กิจกรรมหลักที่ต้องการให้เกิดร่วมกับกิจกรรมอื่น ๆ
3) คณะกรรมการกองทุนอำเภอคอนสวรรค์ (10 กองทุน) มีความเข้าใจและจะนำกิจกรรมดังกล่าวบรรจุเข้าแผนการดำเนินงานกองทุนสุขภาพระดับพื้นที่ในลำดับต่อไป 4) พี่เลี้ยงในระดับเขต ระดับจังหวัดและระดับอำเภอ มีเข้าใจบทบาทหน้าที่ของพี่เลี้ยง กิจกรรมที่ควรดำเนินการในการดำเนินโครงการของกองทุนใน 4 ประเด็น ประกอบด้วย เหล้า บุหรี่ ยาเสพติด และอาหาร และวิธีการพัฒนาโครงการในแต่ละขั้นตอน (step by step)
5) คณะกรรมการกองทุนอำเภอคอนสวรรค์ (10 กองทุน) สามารถลงข้อมูลในโปรแกรมได้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

 

 

0 0

35. การประชุมเชิงปฏิบัติการ “การพัฒนาศักยภาพกองทุนฯ (ให้สามารถทำแผน/โครงการเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ สุรา ยาสูบ ยาเสพติด อาหารและโภชนาการ) เขตพื้นที่ ๗,๘,๙,๑๐”

วันที่ 16 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

๐๘.๓๐ - ๐๙.๐๐ น. ลงทะเบียน/รับเอกสาร ๐๙.๐๐ – ๑๐.๓๐ น. ความสำคัญของการจัดการปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด ฝึกปฏิบัติการลงข้อมูลจัดทำแผนสุขภาพชุมชนและโครงการเกี่ยวกับการจัดการปัจจัยเสี่ยง  ต่อสุขภาพฯ
โดย ผศ.ดร.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ รักษาการแทนรองอธิการบดีฝ่ายวางแผนและนโยบายสาธารณะม.สงขลานครินทร์ ๑๐.๓๐ - ๑๐.๔๕ น.      พักรับประทานอาหารว่าง ๑๐.๔๕ - ๑๒.๐๐ น.      ความสำคัญของการจัดการระบบอาหารและโภชนาการ
ฝึกปฏิบัติการลงข้อมูลจัดทำแผนสุขภาพชุมชนและโครงการเกี่ยวกับการจัดการระบบอาหารและโภชนาการ โดย ผศ.ดร.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ รักษาการแทนรองอธิการบดีฝ่ายวางแผนและนโยบายสาธารณะ ม.สงขลานครินทร์ ๑๒.๐๐  - ๑๓.๐๐ น.    รับประทานอาหารกลางวัน ๑๓.๐๐ -  ๑๕.๐๐ น.    แบ่งกลุ่มย่อยรายตำบล เพื่อฝึกปฏิบัติการลงข้อมูลจัดทำแผนสุขภาพชุมชนและโครงการเกี่ยวกับการจัดการปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพฯ ระบบอาหารและโภชนาการ ๑๕.๐๐ -  ๑๕.๑๕ น.    พักรับประทานอาหารว่าง ๑๕.๑๕ - ๑๖.๐๐ น.    สรุปผลการประชุม และนัดหมายการดำเนินงานร่วมกันต่อไป ๑๖.๐๐ น.    ปิดการประชุมและเดินทางกลับโดยสวัสดิภาพ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

 

 

0 0

36. การพัฒนาศักยภาพกองทุน (ให้สามารถทำแผน/โครงการเพื่อควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ สุรา ยาสูบ ยาเสพติด อาหารและโภชนาการ) พื้นที่เขต 7,8,9,10

วันที่ 16 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมการพัฒนาศักยภาพกองทุน (ให้สามารถทำแผน/โครงการเพื่อควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ สุรา ยาสูบ ยาเสพติด อาหารและโภชนาการ) พื้นที่เขต 7,8,9,10 16 กันยายน 2561 ห้องประชุมโรงแรมวีวิช จ.ขอนแก่น ผู้เข้าร่วมของเขต7 -พี่เลี้ยงโครงการ จำนวน 9 คน
-กรรมการกองทุน จำนวน 37 คน  รวม 46 คน กิจกรรมหลัก ๐๘.๓๐ - ๐๙.๐๐ น. ลงทะเบียน/รับเอกสาร ๐๙.๐๐ – ๑๐.๓๐ น. ความสำคัญของการจัดการปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด ฝึกปฏิบัติการลงข้อมูลจัดทำแผนสุขภาพชุมชนและโครงการเกี่ยวกับการจัดการปัจจัยเสี่ยง  ต่อสุขภาพฯ
โดย ผศ.ดร.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ
รักษาการแทนรองอธิการบดีฝ่ายวางแผนและนโยบายสาธารณะม.สงขลานครินทร์ ๑๐.๓๐ - ๑๐.๔๕ น.      พักรับประทานอาหารว่าง ๑๐.๔๕ - ๑๒.๐๐ น.
ความสำคัญของการจัดการระบบอาหารและโภชนาการ
ฝึกปฏิบัติการลงข้อมูลจัดทำแผนสุขภาพชุมชนและโครงการเกี่ยวกับการจัดการระบบอาหารและโภชนาการ โดย ผศ.ดร.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ รักษาการแทนรองอธิการบดีฝ่ายวางแผนและนโยบายสาธารณะ ม.สงขลานครินทร์ ๑๒.๐๐  - ๑๓.๐๐ น.    รับประทานอาหารกลางวัน ๑๓.๐๐ -  ๑๕.๐๐ น.    แบ่งกลุ่มย่อยรายตำบล เพื่อฝึกปฏิบัติการลงข้อมูลจัดทำแผนสุขภาพชุมชนและโครงการเกี่ยวกับการจัดการปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพฯ ระบบอาหารและโภชนาการ ๑๕.๐๐ -  ๑๕.๑๕ น.    พักรับประทานอาหารว่าง ๑๕.๑๕ - ๑๖.๐๐ น.    สรุปผลการประชุม และนัดหมายการดำเนินงานร่วมกันต่อไป ๑๖.๐๐ น.    ปิดการประชุมและเดินทางกลับโดยสวัสดิภาพ

ผลลัพธ์ 1.พัฒนาคน/กลไก รวม 46 คน -คณะกรรมการกองทุน 17 แห่ง จำนวน 37 คน ได้รับการพัฒนาศักยภาพ ความสำคัญของการจัดการปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด ฝึกปฏิบัติการลงข้อมูลจัดทำแผนสุขภาพชุมชนและโครงการเกี่ยวกับการจัดการปัจจัยเสี่ยง  ต่อสุขภาพฯ
- พี่เลี้ยงกองทุนจำนวน 9 คน ได้รับการพัฒนาศักยภาพ 2. ปรับแก้และพัฒนาแผนงานกองทุน ปี2561-2562
3.วางแผนกิจกรรมหนุนเสริมการพัฒนาแผนงาน/โครงการกองทุน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

 

 

0 0

37. การประชุมเชิงปฏิบัติการ “การพัฒนาศักยภาพกองทุนฯ (ให้สามารถทำแผน/โครงการเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ สุรา ยาสูบ ยาเสพติด อาหารและโภชนาการ) เขตพื้นที่ 7, 8, 9, และ 10

วันที่ 16 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

ณ โรงแรมวีวิช  ถนนกลางเมือง อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น  จำนวน 34 คน ขั้นตอนการดำเนินงาน บรรยายเรื่อง
ชี้แจงความเป็นมาและวัตถุประสงค์ โดย นายวินัย  วงศ์อาษา  มูลนิธิประชาสังคมจังหวัดอุบลราชธานี ความสำคัญของการจัดการปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด ฝึกปฏิบัติการลงข้อมูลจัดทำแผนสุขภาพชุมชนและโครงการเกี่ยวกับการจัดการปัจจัยเสี่ยง  ต่อสุขภาพฯ
โดย ผศ.ดร.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ
รองอธิการบดีฝ่ายวางแผนและนโยบายสาธารณะม.สงขลานครินทร์ แบ่งกลุ่มย่อยรายตำบล เพื่อฝึกปฏิบัติการลงข้อมูลจัดทำแผนสุขภาพชุมชนและโครงการเกี่ยวกับการจัดการปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพฯ ระบบอาหารและโภชนาการ โดย ทีมพี่เลี้ยงเขต ผลที่เกิดขึ้น
1) พี่เลี้ยงและคณะกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล มีความเข้าใจสถานการณ์ภาพรวมการใช้จ่ายงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพ ปัญหาและอุปสรรคที่สำคัญในการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล เขต 9 2) พี่เลี้ยงและคณะกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล มีความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบายและความร่วมมือของสำนักงานประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และมูลนิธิประชาสังคมอุบลราชธานี รวมถึงแนวทางการดำเนินงานโครงการที่มีความเกี่ยวพันกับ 5 กิจกรรมหลักที่ต้องการให้เกิดร่วมกับกิจกรรมอื่น ๆ
3) คณะกรรมการกองทุนอำเภอคอนสวรรค์ (10 กองทุน) มีความเข้าใจและจะนำกิจกรรมดังกล่าวบรรจุเข้าแผนการดำเนินงานกองทุนสุขภาพระดับพื้นที่ในลำดับต่อไป 4) พี่เลี้ยงในระดับเขต ระดับจังหวัดและระดับอำเภอ มีเข้าใจบทบาทหน้าที่ของพี่เลี้ยง กิจกรรมที่ควรดำเนินการในการดำเนินโครงการของกองทุนใน 4 ประเด็น ประกอบด้วย เหล้า บุหรี่ ยาเสพติด และอาหาร และวิธีการพัฒนาโครงการในแต่ละขั้นตอน (step by step)
5) คณะกรรมการกองทุนเขต 9 สามารถลงข้อมูลในโปรแกรมและติดตามประเมินผลโครงการได้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

 

 

0 0

38. อบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาแผนงาน/โครงการเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาปัจจัยเสี่ยงสุรา บุหรี่ยาสูบ ยาเสพติด อาหารและโภชนาการ เขต7 พื้นที่ จ.ขอนแก่น

วันที่ 26 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

อบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาแผนงานและโครงการเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาปัจจัยเสี่ยงสุรา บุหรี่ ยาเสพติด และ อาหาร ภาวะโภชนาการ วันพุธที่ 26  กันยายน 2561 ณ โรงแรมไอโฮเต็ล อำเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น ......................................................................................................................................

08.00-08.30 ลงทะเบียนรับเอกสาร 08.30-09.00 ชี้แจงโครงการ และ กระบวนการอบรม โดย นางจงกลนี ศิริรัตน์ ผู้จัดการมูลนิธิประชาสังคม 09.00-10.00 ปัญหาของปัจจัยเสี่ยงที่ส่งผลต่อสุขภาวะ และ แนวทางการเขียนโครงการ วิทยากรบรรยาย โดย อาจารย์ธวัชชัย เคหะบาล คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ 10.00-10.15 พักรับประทานอาหารว่าง 10.15-12.00 ปรับปรุงโครงการด้านปัจจัยเสี่ยง ปี 61และจัดทำแผนงานกองทุนสุขภาพด้านปัจจัยเสี่ยง ปี 62
แบ่งกลุ่มย่อยรายประเด็น 4 ประเด็น กลุ่ม 1  พัฒนาแผนงานและโครงการเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาปัจจัยเสี่ยงสุรา
วิทยากร โดย  อาจารย์อภิรดี ดอนอ่อนเบ้า คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ กลุ่ม 2  พัฒนาแผนงานและโครงการเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาปัจจัยเสี่ยงบุหรี่
วิทยากร โดย อาจารย์นิตยา ปรูกระโทก คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ กลุ่ม 3 พัฒนาแผนงานและโครงการเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาด้านอาหาร และภาวะโภชนาการ วิทยากร โดย อาจารย์ธวัชชัย เคหะบาล คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์     นายกฤษฎา ปัจจ่าเนย์ กลุ่มวิจัยความอยู่ดีมีสุขและการพัฒนาอย่างยั่งยืน คณะมนุษยศาสตร์     และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น กลุ่ม 4 พัฒนาแผนงานและโครงการเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด วิทยากร โดย อาจารย์อารยา ลาน้ำเที่ยง คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ 12.00-13.00 พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.00-15.00 น. จัดทำแผนงานและโครงการกองทุนสุขภาพด้านปัจจัยเสี่ยง ปี 62 แบ่งกลุ่มย่อย รายกองทุน 15.00-16.00 นำเสนอรายกลุ่ม 16.00-16.30 สรุปการอบรม
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม - พี่เลี้ยงโครงการ จำนวน 9 คน
- กรรมการกองทุนจำนวน 25 คน
- วิทยากร จำนวน 1 คน
รวม 35 คน
ผลลัพธ์ 1.พัฒนาคน/กลไก รวม 35 คน -คณะกรรมการกองทุน 8 แห่ง จำนวน 25 คน ได้รับการพัฒนาศักยภาพเห็นความสำคัญของปัจจัยเสี่ยงทั้ง 4 ด้าน ได้ฝึกทักษะการลงข้อมูลในโปรแกรมพัฒนาแผนงาน/โครงการกองทุนออนไลน์ - พี่เลี้ยงกองทุนจำนวน 9 คน ได้รับการพัฒนาศักยภาพ ได้รับการพัฒนาศักยภาพ เห็นความสำคัญของปัจจัยเสี่ยงทั้ง 4 ด้าน ได้ฝึกทักษะการแนะนำการลงข้อมูลในโปรแกรมพัฒนาแผนงาน/โครงการกองทุนออนไลน์ 2.พัฒนาแผนงานกองทุนฯ จ.ขอนแก่น ปี พ.ศ.2561-2562 รวมจำนวน  46 แผนงาน 2.1 แผนงานเหล้า  จำนวน 12  แผนงาน   2.1.1 ปี 2561 จำนวน  7 แผนงาน   2.1.2 ปี 2562 จำนวน  5 แผนงาน
  2.2 แผนงานบุหรี่  จำนวน 12  แผนงาน     2.1.1 ปี 2561 จำนวน  7 แผนงาน   2.1.2 ปี 2562 จำนวน  5 แผนงาน
2.3 แผนงานสารเสพติด จำนวน 9  แผนงาน   2.3.1 ปี 2561 จำนวน  5 แผนงาน   2.3.2 ปี 2562 จำนวน  4 แผนงาน
2.4 แผนงานอาหารฯ  จำนวน  13 แผนงาน   2.4.1 ปี 2561 จำนวน  7 แผนงาน   2.4.2 ปี 2562 จำนวน  6 แผนงาน 3.พัฒนาโครงการปี 2561-2562 รวมจำนวน  22  โครงการ 3.1 โครงการเหล้า  จำนวน 3  โครงการ   3.1.1 ปี 2561 จำนวน  2 โครงการ   3.1.2 ปี 2562 จำนวน  1  โครงการ (อยู่ระหว่างการกรอก) 3.2 โครงการบุหรี่  จำนวน 5  โครงการ   3.2.1 ปี 2561 จำนวน  3 โครงการ   3.2.2 ปี 2562 จำนวน  2 โครงการ (อยู่ระหว่างการกรอก) 3.3 โครงการยาเสพติด จำนวน  5 โครงการ   3.3.1 ปี 2561 จำนวน  3  โครงการ   3.3.2 ปี 2562 จำนวน  2  โครงการ (อยู่ระหว่างการกรอก) 3.4 โครงการอาหารฯ  จำนวน9  โครงการ   3.3.1 ปี 2561 จำนวน  8 โครงการ   3.3.2 ปี 2562 จำนวน 1 โครงการ (อยู่ระหว่างการกรอก) 4.ผลการติดตามความก้าวและผลลัพธ์โครงการปี 2561
รวม  8  โครงการ   4.1 โครงการเหล้า  จำนวน  - โครงการ   4.2 โครงการบุหรี่  จำนวน  2 โครงการ
  4.3 โครงการยาเสพติด จำนวน 3  โครงการ   4.4 โครงการอาหารฯ  จำนวน 3  โครงการ 5.แผนการหนุนเสริมการพัฒนาแผนงาน/โครงการกองทุน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

 

 

0 0

39. การพัฒนาและปรับแก้โครงการ เขต 10 (อ.ขุนหาญ จ.ศรีสะเกษ และอ.เขื่องใน จ.อุบลราชธานี)

วันที่ 28 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

08.00 - 08.30  น.  ลงทะเบียน 08.30 - 12.00  น.  ตัวแทนกองทุนพื้นที่อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี นำเสนอโครงการเกี่ยวกับการจัดการปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพฯ ระบบอาหารและโภชนาการ และทีมพี่เลี้ยงให้ความคิดเห็น/ข้อเสนอแนะเพื่อนำไปปรับแก้โครงการ 12.00 -13.00  น.    รับประทานอาหารกลางวัน
13.00 – 16.00 น.    ตัวแทนกองทุนอำเภอขุนหาญ จังหวัดศรีสะเกษ นำเสนอโครงการเกี่ยวกับการจัดการปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพฯ ระบบอาหารและโภชนาการ และทีมพี่เลี้ยงให้ความคิดเห็น/ข้อเสนอแนะเพื่อนำไปปรับแก้โครงการ 16.00 – 17.00 น.    สรุปผลและนัดหมายติดตามงานกับทีมพี่เลี้ยง 2 อำเภอ / 2 จังหวัด

              สรุปการประชุม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

 

 

0 0

40. รายงานผลการติดตามโครงการป้องกันปัจจัยเสี่ยง งวดที่ 3 เขต 9 จังหวัดนครราชสีมา พื้นที่ 2 จังหวัด (นครราชสีมา และชัยภูมิ)การประชุมเตรียมพัฒนาศักยภาพและติดตามคณะกรรมการกองทุนฯใน โครงการการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น และกลไกอาสาสมัครเพ

วันที่ 2 ตุลาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

การประชุมเตรียมพัฒนาศักยภาพและติดตามคณะกรรมการกองทุนฯใน โครงการการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
และกลไกอาสาสมัครเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด เขต ๙
กองทุนตำบลฯ อำเภอบัวใหญ่ จังหวัดนครราชสีมา ของ คณะทำงานพี่เลี้ยงโครงการฯ เขต 9 จำนวน 12 คน ห้องประชุมชั้น 1 คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ จังหวัดชัยภูมิ ขั้นตอนการดำเนินงาน บรรยายเรื่อง
-ทบทวนโครงการการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น และกลไกอาสาสมัครเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด กองทุนฯอำเภอบัวใหญ่
โดย ผศ.ดร.ศักดิ์ชาย เพ็ชรตรา บรรยายเรื่อง ยกตัวอย่างโครงการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นและกลไกอาสาสมัครเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด กองทุนฯ อำเภอบัวใหญ่ ที่มีคุณภาพ โดย นายสังเวียน งาหัตถี ทีมพี่เลี้ยงเพื่อสนับสนุน การจัดทำแผนงาน โครงการของคณะกรรมการกองทุนฯ เขต ๙ บรรยายเรื่อง
ระดมความคิดและพัฒนาโครงการการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด กองทุนฯ อำเภอบัวใหญ่ โดย ทีมพี่เลี้ยงเพื่อสนับสนุน การจัดทำแผนงาน โครงการ ผลที่เกิดขึ้น
1. พี่เลี้ยง มีความเข้าใจสถานการณ์ภาพรวมการใช้จ่ายงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพ ปัญหาและอุปสรรคที่สำคัญในการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล เขต 9 2. พี่เลี้ยง มีความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบายและความร่วมมือของสำนักงานประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) รวมถึงแนวทางการดำเนินงานโครงการที่มีความเกี่ยวพันกับ 5 กิจกรรมหลักที่ต้องการให้เกิดร่วมกับกิจกรรมอื่น ๆ
3. พี่เลี้ยงในระดับเขต ระดับจังหวัดและระดับอำเภอ มีเข้าใจบทบาทหน้าที่ของพี่เลี้ยง กิจกรรมที่ควรดำเนินการในการติดตามโครงการของกองทุนใน 4 ประเด็น ประกอบด้วย เหล้า บุหรี่ ยาเสพติด และอาหาร และวิธีการพัฒนาโครงการในแต่ละขั้นตอน (step by step)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

 

 

0 0

41. รายงานผลการติดตามโครงการป้องกันปัจจัยเสี่ยง งวดที่ 3 เขต 9 จังหวัดนครราชสีมา พื้นที่ 2 จังหวัด (นครราชสีมา และชัยภูมิ)การประชุมเตรียมพัฒนาศักยภาพและติดตามคณะกรรมการกองทุนฯใน โครงการการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น และกลไกอาสาสมัครเพ

วันที่ 2 ตุลาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

การประชุมเตรียมพัฒนาศักยภาพและติดตามคณะกรรมการกองทุนฯใน โครงการการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
และกลไกอาสาสมัครเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด เขต ๙
กองทุนตำบลฯ อำเภอบัวใหญ่ จังหวัดนครราชสีมา ของ คณะทำงานพี่เลี้ยงโครงการฯ เขต 9 จำนวน 12 คน ห้องประชุมชั้น 1 คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ จังหวัดชัยภูมิ ขั้นตอนการดำเนินงาน บรรยายเรื่อง
-ทบทวนโครงการการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น และกลไกอาสาสมัครเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด กองทุนฯอำเภอบัวใหญ่
โดย ผศ.ดร.ศักดิ์ชาย เพ็ชรตรา บรรยายเรื่อง ยกตัวอย่างโครงการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นและกลไกอาสาสมัครเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด กองทุนฯ อำเภอบัวใหญ่ ที่มีคุณภาพ โดย นายสังเวียน งาหัตถี ทีมพี่เลี้ยงเพื่อสนับสนุน การจัดทำแผนงาน โครงการของคณะกรรมการกองทุนฯ เขต ๙ บรรยายเรื่อง
ระดมความคิดและพัฒนาโครงการการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด กองทุนฯ อำเภอบัวใหญ่ โดย ทีมพี่เลี้ยงเพื่อสนับสนุน การจัดทำแผนงาน โครงการ ผลที่เกิดขึ้น
1. พี่เลี้ยง มีความเข้าใจสถานการณ์ภาพรวมการใช้จ่ายงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพ ปัญหาและอุปสรรคที่สำคัญในการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล เขต 9 2. พี่เลี้ยง มีความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบายและความร่วมมือของสำนักงานประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) รวมถึงแนวทางการดำเนินงานโครงการที่มีความเกี่ยวพันกับ 5 กิจกรรมหลักที่ต้องการให้เกิดร่วมกับกิจกรรมอื่น ๆ
3. พี่เลี้ยงในระดับเขต ระดับจังหวัดและระดับอำเภอ มีเข้าใจบทบาทหน้าที่ของพี่เลี้ยง กิจกรรมที่ควรดำเนินการในการติดตามโครงการของกองทุนใน 4 ประเด็น ประกอบด้วย เหล้า บุหรี่ ยาเสพติด และอาหาร และวิธีการพัฒนาโครงการในแต่ละขั้นตอน (step by step)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

 

 

0 0

42. รายงานผลการติดตามโครงการป้องกันปัจจัยเสี่ยง งวดที่ 3 เขต 9 จังหวัดนครราชสีมา พื้นที่ 2 จังหวัด (นครราชสีมา และชัยภูมิ)การประชุมเตรียมพัฒนาศักยภาพและติดตามคณะกรรมการกองทุนฯใน โครงการการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น และกลไกอาสาสมัครเพ

วันที่ 2 ตุลาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

การประชุมเตรียมพัฒนาศักยภาพและติดตามคณะกรรมการกองทุนฯใน โครงการการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
และกลไกอาสาสมัครเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด เขต ๙
กองทุนตำบลฯ อำเภอบัวใหญ่ จังหวัดนครราชสีมา ของ คณะทำงานพี่เลี้ยงโครงการฯ เขต 9 จำนวน 12 คน ห้องประชุมชั้น 1 คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ จังหวัดชัยภูมิ ขั้นตอนการดำเนินงาน บรรยายเรื่อง
-ทบทวนโครงการการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น และกลไกอาสาสมัครเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด กองทุนฯอำเภอบัวใหญ่
โดย ผศ.ดร.ศักดิ์ชาย เพ็ชรตรา บรรยายเรื่อง ยกตัวอย่างโครงการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นและกลไกอาสาสมัครเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด กองทุนฯ อำเภอบัวใหญ่ ที่มีคุณภาพ โดย นายสังเวียน งาหัตถี ทีมพี่เลี้ยงเพื่อสนับสนุน การจัดทำแผนงาน โครงการของคณะกรรมการกองทุนฯ เขต ๙ บรรยายเรื่อง
ระดมความคิดและพัฒนาโครงการการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด กองทุนฯ อำเภอบัวใหญ่ โดย ทีมพี่เลี้ยงเพื่อสนับสนุน การจัดทำแผนงาน โครงการ ผลที่เกิดขึ้น
1. พี่เลี้ยง มีความเข้าใจสถานการณ์ภาพรวมการใช้จ่ายงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพ ปัญหาและอุปสรรคที่สำคัญในการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล เขต 9 2. พี่เลี้ยง มีความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบายและความร่วมมือของสำนักงานประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) รวมถึงแนวทางการดำเนินงานโครงการที่มีความเกี่ยวพันกับ 5 กิจกรรมหลักที่ต้องการให้เกิดร่วมกับกิจกรรมอื่น ๆ
3. พี่เลี้ยงในระดับเขต ระดับจังหวัดและระดับอำเภอ มีเข้าใจบทบาทหน้าที่ของพี่เลี้ยง กิจกรรมที่ควรดำเนินการในการติดตามโครงการของกองทุนใน 4 ประเด็น ประกอบด้วย เหล้า บุหรี่ ยาเสพติด และอาหาร และวิธีการพัฒนาโครงการในแต่ละขั้นตอน (step by step)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

 

 

0 0

43. การประชุมเตรียมพัฒนาศักยภาพและติดตามคณะกรรมการกองทุนฯใน โครงการการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น และกลไกอาสาสมัครเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด เขต ๙ กองทุนตำบลฯ อำเภอบัวใหญ่ จังหวัดนครราชสีมา ของ คณะทำ

วันที่ 2 ตุลาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

ขั้นตอนการดำเนินงาน บรรยายเรื่อง
-ทบทวนโครงการการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น และกลไกอาสาสมัครเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด กองทุนฯอำเภอบัวใหญ่
โดย ผศ.ดร.ศักดิ์ชาย เพ็ชรตรา บรรยายเรื่อง ยกตัวอย่างโครงการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นและกลไกอาสาสมัครเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด กองทุนฯ อำเภอบัวใหญ่ ที่มีคุณภาพ โดย นายสังเวียน งาหัตถี ทีมพี่เลี้ยงเพื่อสนับสนุน การจัดทำแผนงาน โครงการของคณะกรรมการกองทุนฯ เขต ๙ บรรยายเรื่อง
ระดมความคิดและพัฒนาโครงการการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด กองทุนฯ อำเภอบัวใหญ่ โดย ทีมพี่เลี้ยงเพื่อสนับสนุน การจัดทำแผนงาน โครงการ ผลที่เกิดขึ้น
1. พี่เลี้ยง มีความเข้าใจสถานการณ์ภาพรวมการใช้จ่ายงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพ ปัญหาและอุปสรรคที่สำคัญในการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล เขต 9 2. พี่เลี้ยง มีความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบายและความร่วมมือของสำนักงานประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) รวมถึงแนวทางการดำเนินงานโครงการที่มีความเกี่ยวพันกับ 5 กิจกรรมหลักที่ต้องการให้เกิดร่วมกับกิจกรรมอื่น ๆ
3. พี่เลี้ยงในระดับเขต ระดับจังหวัดและระดับอำเภอ มีเข้าใจบทบาทหน้าที่ของพี่เลี้ยง กิจกรรมที่ควรดำเนินการในการติดตามโครงการของกองทุนใน 4 ประเด็น ประกอบด้วย เหล้า บุหรี่ ยาเสพติด และอาหาร และวิธีการพัฒนาโครงการในแต่ละขั้นตอน (step by step)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

 

 

0 0

44. การประชุมพัฒนาศักยภาพและติดตามคณะกรรมการกองทุนฯในโครงการการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น และกลไกอาสาสมัครเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด เขต 9 ครั้งที่ 1

วันที่ 9 ตุลาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

ณ ห้องประชุมสำนักงานสาธารณสุขอำเภอบัวใหญ่ จ.นครราชสีมา จำนวน 60 คน ขั้นตอนการดำเนินงาน บรรยายเรื่อง
-ทบทวนโครงการการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น และกลไกอาสาสมัครเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด กองทุนฯอำเภอบัวใหญ่
โดย ผศ.ดร.ศักดิ์ชาย เพ็ชรตรา บรรยายเรื่อง ยกตัวอย่างโครงการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นและกลไกอาสาสมัครเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด กองทุนฯ อำเภอบัวใหญ่ ที่มีคุณภาพ โดย นายสังเวียน งาหัตถี ทีมพี่เลี้ยงเพื่อสนับสนุน การจัดทำแผนงาน โครงการของคณะกรรมการกองทุนฯ เขต ๙ บรรยายเรื่อง
ระดมความคิดและพัฒนาโครงการการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด กองทุนฯ อำเภอบัวใหญ่ โดย ทีมพี่เลี้ยงเพื่อสนับสนุน การจัดทำแผนงาน โครงการ ผลที่เกิดขึ้น
1) พี่เลี้ยงและคณะกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล มีความเข้าใจสถานการณ์ภาพรวมการใช้จ่ายงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพ ปัญหาและอุปสรรคที่สำคัญในการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล เขต 9 2) พี่เลี้ยงและคณะกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล มีความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบายและความร่วมมือของสำนักงานประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) รวมถึงแนวทางการดำเนินงานโครงการที่มีความเกี่ยวพันกับ 5 กิจกรรมหลักที่ต้องการให้เกิดร่วมกับกิจกรรมอื่น ๆ
3) คณะกรรมการกองทุนอำเภอบัวใหญ่ (5 กองทุน) มีความเข้าใจและจะนำวิธีการดำเนินงานใช้ในการติดตามแผนการดำเนินงานและโครงการกองทุนสุขภาพระดับพื้นที่ในลำดับต่อไป 4) พี่เลี้ยงในระดับเขต ระดับจังหวัดระดับอำเภอ และคณะกรรมการกองทุนอำเภอบัวใหญ่ (5 กองทุน) มีเข้าใจบทบาทหน้าที่ของพี่เลี้ยง กิจกรรมที่ควรใช้ในการติดตามแผนงานและโครงการของกองทุนใน 4 ประเด็น ประกอบด้วย เหล้า บุหรี่ ยาเสพติด และอาหาร และวิธีการพัฒนาโครงการในแต่ละขั้นตอน (step by step)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

 

 

0 0

45. การประชุมพัฒนาศักยภาพและติดตามคณะกรรมการกองทุนฯในโครงการการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น และกลไกอาสาสมัครเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด เขต 9 ครั้งที่ 1

วันที่ 9 ตุลาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

ขั้นตอนการดำเนินงาน บรรยายเรื่อง
-ทบทวนโครงการการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น และกลไกอาสาสมัครเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด กองทุนฯอำเภอบัวใหญ่
โดย ผศ.ดร.ศักดิ์ชาย เพ็ชรตรา บรรยายเรื่อง ยกตัวอย่างโครงการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นและกลไกอาสาสมัครเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด กองทุนฯ อำเภอบัวใหญ่ ที่มีคุณภาพ โดย นายสังเวียน งาหัตถี ทีมพี่เลี้ยงเพื่อสนับสนุน การจัดทำแผนงาน โครงการของคณะกรรมการกองทุนฯ เขต ๙ บรรยายเรื่อง
ระดมความคิดและพัฒนาโครงการการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด กองทุนฯ อำเภอบัวใหญ่ โดย ทีมพี่เลี้ยงเพื่อสนับสนุน การจัดทำแผนงาน โครงการ ผลที่เกิดขึ้น
1) พี่เลี้ยงและคณะกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล มีความเข้าใจสถานการณ์ภาพรวมการใช้จ่ายงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพ ปัญหาและอุปสรรคที่สำคัญในการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล เขต 9 2) พี่เลี้ยงและคณะกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล มีความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบายและความร่วมมือของสำนักงานประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) รวมถึงแนวทางการดำเนินงานโครงการที่มีความเกี่ยวพันกับ 5 กิจกรรมหลักที่ต้องการให้เกิดร่วมกับกิจกรรมอื่น ๆ
3) คณะกรรมการกองทุนอำเภอบัวใหญ่ (5 กองทุน) มีความเข้าใจและจะนำวิธีการดำเนินงานใช้ในการติดตามแผนการดำเนินงานและโครงการกองทุนสุขภาพระดับพื้นที่ในลำดับต่อไป 4) พี่เลี้ยงในระดับเขต ระดับจังหวัดระดับอำเภอ และคณะกรรมการกองทุนอำเภอบัวใหญ่ (5 กองทุน) มีเข้าใจบทบาทหน้าที่ของพี่เลี้ยง กิจกรรมที่ควรใช้ในการติดตามแผนงานและโครงการของกองทุนใน 4 ประเด็น ประกอบด้วย เหล้า บุหรี่ ยาเสพติด และอาหาร และวิธีการพัฒนาโครงการในแต่ละขั้นตอน (step by step)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

 

 

0 0

46. พัฒนาศักยภาพกองทุนให้สามารถทำแผนโครงการ ทีมพี่เลี้ยงอำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี และทีมพี่เลี้ยงอำเภอขุนหาญ จังหวัดศรีสะเกษ

วันที่ 14 ตุลาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

08.30-09.00 น. ลงทะเบียน/รับเอกสาร
09.00-10.00น.  ชี้แจงแนวทางการประเมินคุณภาพแผนงานและโครงการจัดการปัจจัยเสี่ยงฯอาหารและโภชนาการ โดย นายวินัย วงศ์อาสา ผู้ประสานงานทีมภาคอีสาน 10.00-12.00น.  นำเสนอกรณีตัวอย่างพื้นที่ต้นแบบแผนงานและโครงการจัดการปัจจัยเสี่ยงฯอาหารและโภชนาการที่มีคุณภาดี 12.00-13.00น.  พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.00-14.00น. แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อพัฒนาคุณภาพแผนงานและโครงการจัดการปัจจัยเสี่ยงฯอาหารและโภชนาการ
14.00-15.30น.  วางแผนการดำเนินงาของทีมพี่เลี้ยง เพื่อให้สามารถดำเนินการได้ตามเป้าหมายร่วมกัน 15.30-16.00น.  สรุปผลการเรียนรู้และนัดหมายกิจกรรมครั้งต่อไไป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

 

 

0 0

47. การประชุมพัฒนาศักยภาพและติดตามคณะกรรมการกองทุนฯใน โครงการการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น และกลไกอาสาสมัครเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด เขต 9 ครั้งที่ 2

วันที่ 16 ตุลาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

ห้องประชุมสำนักงานสาธารณสุขอำเภอบัวใหญ่ จังหวัดนครราชสีมา จำนวน 60 คน ขั้นตอนการดำเนินงาน บรรยายเรื่อง
-ทบทวนโครงการการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น และกลไกอาสาสมัครเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด กองทุนฯอำเภอบัวใหญ่
โดย ผศ.ดร.ศักดิ์ชาย เพ็ชรตรา บรรยายเรื่อง ยกตัวอย่างโครงการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นและกลไกอาสาสมัครเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด กองทุนฯ อำเภอบัวใหญ่ ที่มีคุณภาพ โดย นายสังเวียน งาหัตถี ทีมพี่เลี้ยงเพื่อสนับสนุน การจัดทำแผนงาน โครงการของคณะกรรมการกองทุนฯ เขต ๙ บรรยายเรื่อง
ระดมความคิดและพัฒนาโครงการการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด กองทุนฯ อำเภอบัวใหญ่ โดย ทีมพี่เลี้ยงเพื่อสนับสนุน การจัดทำแผนงาน โครงการ ผลที่เกิดขึ้น
1.พี่เลี้ยงและคณะกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล มีความเข้าใจสถานการณ์ภาพรวมการใช้จ่ายงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพ ปัญหาและอุปสรรคที่สำคัญในการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล เขต 9 2.พี่เลี้ยงและคณะกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล มีความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบายและความร่วมมือของสำนักงานประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) รวมถึงแนวทางการดำเนินงานโครงการที่มีความเกี่ยวพันกับ 5 กิจกรรมหลักที่ต้องการให้เกิดร่วมกับกิจกรรมอื่น ๆ
3.คณะกรรมการกองทุนอำเภอบัวใหญ่ (5 กองทุน) มีความเข้าใจและจะนำวิธีการดำเนินงานใช้ในการติดตามแผนการดำเนินงานและโครงการกองทุนสุขภาพระดับพื้นที่ในลำดับต่อไป 4.พี่เลี้ยงในระดับเขต ระดับจังหวัดระดับอำเภอ และคณะกรรมการกองทุนอำเภอบัวใหญ่ (5 กองทุน) มีเข้าใจบทบาทหน้าที่ของพี่เลี้ยง กิจกรรมที่ควรใช้ในการติดตามแผนงานและโครงการของกองทุนใน 4 ประเด็น ประกอบด้วย เหล้า บุหรี่ ยาเสพติด และอาหาร และวิธีการพัฒนาโครงการในแต่ละขั้นตอน (step by step)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

 

 

0 0

48. การประชุมพัฒนาศักยภาพและติดตามคณะกรรมการกองทุนฯใน โครงการการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น และกลไกอาสาสมัครเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด เขต 9 ครั้งที่ 2

วันที่ 16 ตุลาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

ขั้นตอนการดำเนินงาน บรรยายเรื่อง
-ทบทวนโครงการการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น และกลไกอาสาสมัครเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด กองทุนฯอำเภอบัวใหญ่
โดย ผศ.ดร.ศักดิ์ชาย เพ็ชรตรา บรรยายเรื่อง ยกตัวอย่างโครงการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นและกลไกอาสาสมัครเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด กองทุนฯ อำเภอบัวใหญ่ ที่มีคุณภาพ โดย นายสังเวียน งาหัตถี ทีมพี่เลี้ยงเพื่อสนับสนุน การจัดทำแผนงาน โครงการของคณะกรรมการกองทุนฯ เขต ๙ บรรยายเรื่อง
ระดมความคิดและพัฒนาโครงการการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด กองทุนฯ อำเภอบัวใหญ่ โดย ทีมพี่เลี้ยงเพื่อสนับสนุน การจัดทำแผนงาน โครงการ ผลที่เกิดขึ้น
1.พี่เลี้ยงและคณะกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล มีความเข้าใจสถานการณ์ภาพรวมการใช้จ่ายงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพ ปัญหาและอุปสรรคที่สำคัญในการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล เขต 9 2.พี่เลี้ยงและคณะกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล มีความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบายและความร่วมมือของสำนักงานประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) รวมถึงแนวทางการดำเนินงานโครงการที่มีความเกี่ยวพันกับ 5 กิจกรรมหลักที่ต้องการให้เกิดร่วมกับกิจกรรมอื่น ๆ
3.คณะกรรมการกองทุนอำเภอบัวใหญ่ (5 กองทุน) มีความเข้าใจและจะนำวิธีการดำเนินงานใช้ในการติดตามแผนการดำเนินงานและโครงการกองทุนสุขภาพระดับพื้นที่ในลำดับต่อไป 4.พี่เลี้ยงในระดับเขต ระดับจังหวัดระดับอำเภอ และคณะกรรมการกองทุนอำเภอบัวใหญ่ (5 กองทุน) มีเข้าใจบทบาทหน้าที่ของพี่เลี้ยง กิจกรรมที่ควรใช้ในการติดตามแผนงานและโครงการของกองทุนใน 4 ประเด็น ประกอบด้วย เหล้า บุหรี่ ยาเสพติด และอาหาร และวิธีการพัฒนาโครงการในแต่ละขั้นตอน (step by step)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

 

 

0 0

49. การประชุมเตรียมพัฒนาศักยภาพและติดตามคณะกรรมการกองทุนฯใน โครงการการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น และกลไกอาสาสมัครเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด เขต 9 กองทุนตำบลฯ อำเภอคอนสวรรค์ จังหวัดชัยภูมิ ของ คณะทำง

วันที่ 5 พฤศจิกายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

ห้องประชุมชั้น 1 คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ จังหวัดชัยภูมิ จำนวน12 คน ขั้นตอนการดำเนินงาน บรรยายเรื่อง
-ทบทวนโครงการการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น และกลไกอาสาสมัครเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด กองทุนฯอำเภอคอนสวรรค์ โดย ผศ.ดร.ศักดิ์ชาย เพ็ชรตรา บรรยายเรื่อง ยกตัวอย่างโครงการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นและกลไกอาสาสมัครเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด กองทุนฯ อำเภอคอนสวรรค์ ที่มีคุณภาพ โดย นายสังเวียน งาหัตถี ทีมพี่เลี้ยงเพื่อสนับสนุน การจัดทำแผนงาน โครงการของคณะกรรมการกองทุนฯ เขต ๙ บรรยายเรื่อง
ระดมความคิดและพัฒนาโครงการการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด กองทุนอำเภอคอนสวรรค์ โดย ทีมพี่เลี้ยงเพื่อสนับสนุน การจัดทำแผนงาน โครงการ ผลที่เกิดขึ้น
1.พี่เลี้ยง มีความเข้าใจสถานการณ์ภาพรวมการใช้จ่ายงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพ ปัญหาและอุปสรรคที่สำคัญในการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล เขต 9   2. พี่เลี้ยง มีความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบายและความร่วมมือของสำนักงานประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) รวมถึงแนวทางการดำเนินงานโครงการที่มีความเกี่ยวพันกับ 5 กิจกรรมหลักที่ต้องการให้เกิดร่วมกับกิจกรรมอื่น ๆ
3.พี่เลี้ยงในระดับเขต ระดับจังหวัดและระดับอำเภอ มีเข้าใจบทบาทหน้าที่ของพี่เลี้ยง กิจกรรมที่ควรดำเนินการในการติดตามโครงการของกองทุนใน 4 ประเด็น ประกอบด้วย เหล้า บุหรี่ ยาเสพติด และอาหาร และวิธีการพัฒนาโครงการในแต่ละขั้นตอน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

 

 

0 0

50. การประชุมเตรียมพัฒนาศักยภาพและติดตามคณะกรรมการกองทุนฯใน โครงการการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น และกลไกอาสาสมัครเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด เขต 9 กองทุนตำบลฯ อำเภอคอนสวรรค์ จังหวัดชัยภูมิ ของ คณะทำง

วันที่ 5 พฤศจิกายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

ขั้นตอนการดำเนินงาน บรรยายเรื่อง
-ทบทวนโครงการการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น และกลไกอาสาสมัครเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด กองทุนฯอำเภอคอนสวรรค์ โดย ผศ.ดร.ศักดิ์ชาย เพ็ชรตรา บรรยายเรื่อง ยกตัวอย่างโครงการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นและกลไกอาสาสมัครเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด กองทุนฯ อำเภอคอนสวรรค์ ที่มีคุณภาพ โดย นายสังเวียน งาหัตถี ทีมพี่เลี้ยงเพื่อสนับสนุน การจัดทำแผนงาน โครงการของคณะกรรมการกองทุนฯ เขต ๙ บรรยายเรื่อง
ระดมความคิดและพัฒนาโครงการการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด กองทุนอำเภอคอนสวรรค์ โดย ทีมพี่เลี้ยงเพื่อสนับสนุน การจัดทำแผนงาน โครงการ ผลที่เกิดขึ้น
1.พี่เลี้ยง มีความเข้าใจสถานการณ์ภาพรวมการใช้จ่ายงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพ ปัญหาและอุปสรรคที่สำคัญในการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล เขต 9   2. พี่เลี้ยง มีความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบายและความร่วมมือของสำนักงานประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) รวมถึงแนวทางการดำเนินงานโครงการที่มีความเกี่ยวพันกับ 5 กิจกรรมหลักที่ต้องการให้เกิดร่วมกับกิจกรรมอื่น ๆ
3.พี่เลี้ยงในระดับเขต ระดับจังหวัดและระดับอำเภอ มีเข้าใจบทบาทหน้าที่ของพี่เลี้ยง กิจกรรมที่ควรดำเนินการในการติดตามโครงการของกองทุนใน 4 ประเด็น ประกอบด้วย เหล้า บุหรี่ ยาเสพติด และอาหาร และวิธีการพัฒนาโครงการในแต่ละขั้นตอน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

 

 

0 0

51. การประชุมเตรียมพัฒนาศักยภาพและติดตามคณะกรรมการกองทุนฯใน โครงการการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น และกลไกอาสาสมัครเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด เขต 9 กองทุนตำบลฯ อำเภอคอนสวรรค์ จังหวัดชัยภูมิ ของ คณะทำง

วันที่ 5 พฤศจิกายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

ขั้นตอนการดำเนินงาน บรรยายเรื่อง
-ทบทวนโครงการการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น และกลไกอาสาสมัครเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด กองทุนฯอำเภอคอนสวรรค์ โดย ผศ.ดร.ศักดิ์ชาย เพ็ชรตรา บรรยายเรื่อง ยกตัวอย่างโครงการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นและกลไกอาสาสมัครเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด กองทุนฯ อำเภอคอนสวรรค์ ที่มีคุณภาพ โดย นายสังเวียน งาหัตถี ทีมพี่เลี้ยงเพื่อสนับสนุน การจัดทำแผนงาน โครงการของคณะกรรมการกองทุนฯ เขต ๙ บรรยายเรื่อง
ระดมความคิดและพัฒนาโครงการการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด กองทุนอำเภอคอนสวรรค์ โดย ทีมพี่เลี้ยงเพื่อสนับสนุน การจัดทำแผนงาน โครงการ ผลที่เกิดขึ้น
1.พี่เลี้ยง มีความเข้าใจสถานการณ์ภาพรวมการใช้จ่ายงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพ ปัญหาและอุปสรรคที่สำคัญในการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล เขต 9   2. พี่เลี้ยง มีความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบายและความร่วมมือของสำนักงานประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) รวมถึงแนวทางการดำเนินงานโครงการที่มีความเกี่ยวพันกับ 5 กิจกรรมหลักที่ต้องการให้เกิดร่วมกับกิจกรรมอื่น ๆ
3.พี่เลี้ยงในระดับเขต ระดับจังหวัดและระดับอำเภอ มีเข้าใจบทบาทหน้าที่ของพี่เลี้ยง กิจกรรมที่ควรดำเนินการในการติดตามโครงการของกองทุนใน 4 ประเด็น ประกอบด้วย เหล้า บุหรี่ ยาเสพติด และอาหาร และวิธีการพัฒนาโครงการในแต่ละขั้นตอน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

 

 

0 0

52. การประชุมพัฒนาศักยภาพและติดตามคณะกรรมการกองทุนฯใน โครงการการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น และกลไกอาสาสมัครเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด เขต 9 ครั้งที่ 1

วันที่ 13 พฤศจิกายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

ห้องประชุมสำนักงานสาธารณสุขอำเภอคอนสวรรค์ จังหวัดชัยภูมิ  จำนวน 40 คน ขั้นตอนการดำเนินงาน บรรยายเรื่อง
-ทบทวนโครงการการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น และกลไกอาสาสมัครเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด กองทุนฯอำเภอคอนสวรรค์ โดย ผศ.ดร.ศักดิ์ชาย เพ็ชรตรา บรรยายเรื่อง ยกตัวอย่างโครงการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นและกลไกอาสาสมัครเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด กองทุนฯ อำเภอคอนสวรรค์ ที่มีคุณภาพ โดย นายสังเวียน งาหัตถี ทีมพี่เลี้ยงเพื่อสนับสนุน การจัดทำแผนงาน โครงการของคณะกรรมการกองทุนฯ เขต ๙   บรรยายเรื่อง
ระดมความคิดและพัฒนาโครงการการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด กองทุนฯ อำเภอคอนสวรรค์ โดย ทีมพี่เลี้ยงเพื่อสนับสนุน การจัดทำแผนงาน โครงการ ผลที่เกิดขึ้น
1) พี่เลี้ยงและคณะกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล มีความเข้าใจสถานการณ์ภาพรวมการใช้จ่ายงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพ ปัญหาและอุปสรรคที่สำคัญในการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล เขต 9 2) พี่เลี้ยงและคณะกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล มีความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบายและความร่วมมือของสำนักงานประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) รวมถึงแนวทางการดำเนินงานโครงการที่มีความเกี่ยวพันกับ 5 กิจกรรมหลักที่ต้องการให้เกิดร่วมกับกิจกรรมอื่น ๆ
3) คณะกรรมการกองทุนอำเภอคอนสวรรค์ (5 กองทุน) มีความเข้าใจและจะนำวิธีการดำเนินงานใช้ในการติดตามแผนการดำเนินงานและโครงการกองทุนสุขภาพระดับพื้นที่ในลำดับต่อไป 4) พี่เลี้ยงในระดับเขต ระดับจังหวัดระดับอำเภอ และคณะกรรมการกองทุนอำเภอคอนสวรรค์ (5 กองทุน) มีเข้าใจบทบาทหน้าที่ของพี่เลี้ยง กิจกรรมที่ควรใช้ในการติดตามแผนงานและโครงการของกองทุนใน 4 ประเด็น ประกอบด้วย เหล้า บุหรี่ ยาเสพติด และอาหาร และวิธีการพัฒนาโครงการในแต่ละขั้นตอน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

 

 

0 0

53. การประชุมพัฒนาศักยภาพและติดตามคณะกรรมการกองทุนฯใน โครงการการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น และกลไกอาสาสมัครเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด เขต 9 ครั้งที่ 1

วันที่ 13 พฤศจิกายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

ขั้นตอนการดำเนินงาน บรรยายเรื่อง
-ทบทวนโครงการการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น และกลไกอาสาสมัครเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด กองทุนฯอำเภอคอนสวรรค์ โดย ผศ.ดร.ศักดิ์ชาย เพ็ชรตรา บรรยายเรื่อง ยกตัวอย่างโครงการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นและกลไกอาสาสมัครเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด กองทุนฯ อำเภอคอนสวรรค์ ที่มีคุณภาพ โดย นายสังเวียน งาหัตถี ทีมพี่เลี้ยงเพื่อสนับสนุน การจัดทำแผนงาน โครงการของคณะกรรมการกองทุนฯ เขต ๙   บรรยายเรื่อง
ระดมความคิดและพัฒนาโครงการการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด กองทุนฯ อำเภอคอนสวรรค์ โดย ทีมพี่เลี้ยงเพื่อสนับสนุน การจัดทำแผนงาน โครงการ ผลที่เกิดขึ้น
1) พี่เลี้ยงและคณะกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล มีความเข้าใจสถานการณ์ภาพรวมการใช้จ่ายงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพ ปัญหาและอุปสรรคที่สำคัญในการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล เขต 9 2) พี่เลี้ยงและคณะกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล มีความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบายและความร่วมมือของสำนักงานประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) รวมถึงแนวทางการดำเนินงานโครงการที่มีความเกี่ยวพันกับ 5 กิจกรรมหลักที่ต้องการให้เกิดร่วมกับกิจกรรมอื่น ๆ
3) คณะกรรมการกองทุนอำเภอคอนสวรรค์ (5 กองทุน) มีความเข้าใจและจะนำวิธีการดำเนินงานใช้ในการติดตามแผนการดำเนินงานและโครงการกองทุนสุขภาพระดับพื้นที่ในลำดับต่อไป 4) พี่เลี้ยงในระดับเขต ระดับจังหวัดระดับอำเภอ และคณะกรรมการกองทุนอำเภอคอนสวรรค์ (5 กองทุน) มีเข้าใจบทบาทหน้าที่ของพี่เลี้ยง กิจกรรมที่ควรใช้ในการติดตามแผนงานและโครงการของกองทุนใน 4 ประเด็น ประกอบด้วย เหล้า บุหรี่ ยาเสพติด และอาหาร และวิธีการพัฒนาโครงการในแต่ละขั้นตอน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

 

 

0 0

54. การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาแผนกองทุนตำบลและข้อเสนอโครงการกองทุนตำบล ภายใต้โครงการเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ สุรา ยาสูบ ยาเสพติด อาหารและโภชนาการ

วันที่ 15 พฤศจิกายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

ณ ห้องประชุมสำนักงานสาธารณสุขอำเภอคอนสวรรค์ อ.คอนสวรรค์ จ.ชัยภูมิ จำนวน 50 คน ขั้นตอนการดำเนินงาน บรรยายเรื่อง
-ความสำคัญของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น โดย ผศ.ดร.ศักดิ์ชาย เพ็ชรตรา บรรยายเรื่อง -สถานการณ์ระบบสุขภาพของชุมชน/สังคม ความสำคัญของความเป็นมาของโครงการ -ความสำคัญของปัจจัยเสี่ยง สุรา ยาสูบ สารเสพติดและโภชนาการ โดย นายสังเวียน งาหัตถีและนางปริยากร ชาลีพรม บรรยายเรื่อง ความสำคัญของการจัดการระบบอาหารและโภชนาการ -แนวทางการจัดทำแผนงาน/โครงการกองทุนตำบล
-การพัฒนาข้อเสนอโครงการกองทุนตำบล
โดย ผศ.ดร.ศักดิ์ชาย เพ็ชรตรา และนายสุวัฒนะ วงปฏิมาพร ผลที่เกิดขึ้น
1) พี่เลี้ยงและคณะกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล มีความเข้าใจสถานการณ์ภาพรวมการใช้จ่ายงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพ ปัญหาและอุปสรรคที่สำคัญในการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล เขต 9 2) พี่เลี้ยงและคณะกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล มีความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบายและความร่วมมือของสำนักงานประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และมูลนิธิประชาสังคมอุบลราชธานี รวมถึงแนวทางการดำเนินงานโครงการที่มีความเกี่ยวพันกับ 5 กิจกรรมหลักที่ต้องการให้เกิดร่วมกับกิจกรรมอื่น ๆ
3) คณะกรรมการกองทุนอำเภอคอนสวรรค์ (10 กองทุน) มีความเข้าใจและจะนำกิจกรรมดังกล่าวบรรจุเข้าแผนการดำเนินงานกองทุนสุขภาพระดับพื้นที่ในลำดับต่อไป 4) พี่เลี้ยงในระดับเขต ระดับจังหวัดและระดับอำเภอ มีเข้าใจบทบาทหน้าที่ของพี่เลี้ยง กิจกรรมที่ควรดำเนินการในการดำเนินโครงการของกองทุนใน 4 ประเด็น ประกอบด้วย เหล้า บุหรี่ ยาเสพติด และอาหาร และวิธีการพัฒนาโครงการในแต่ละขั้นตอน (step by step)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

 

 

0 0

55. การประชุมพัฒนาศักยภาพและติดตามคณะกรรมการกองทุนฯใน โครงการการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น และกลไกอาสาสมัครเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด เขต 9 ครั้งที่ 2

วันที่ 20 พฤศจิกายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

ห้องประชุมสำนักงานสาธารณสุขอำเภอคอนสวรรค์ จังหวัดชัยภูมิ จำนวน 40 คน ขั้นตอนการดำเนินงาน บรรยายเรื่อง
-ทบทวนโครงการการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น และกลไกอาสาสมัครเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด กองทุนฯอำเภอคอนสวรรค์ โดย ผศ.ดร.ศักดิ์ชาย เพ็ชรตรา บรรยายเรื่อง ยกตัวอย่างโครงการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นและกลไกอาสาสมัครเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด กองทุนฯ อำเภอคอนสวรรค์ ที่มีคุณภาพ โดย นายสังเวียน งาหัตถี ทีมพี่เลี้ยงเพื่อสนับสนุน การจัดทำแผนงาน โครงการของคณะกรรมการกองทุนฯ เขต ๙ บรรยายเรื่อง
ระดมความคิดและพัฒนาโครงการการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด กองทุนฯ อำเภอคอนสวรรค์ โดย ทีมพี่เลี้ยงเพื่อสนับสนุน การจัดทำแผนงาน โครงการ ผลที่เกิดขึ้น
1) พี่เลี้ยงและคณะกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล มีความเข้าใจสถานการณ์ภาพรวมการใช้จ่ายงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพ ปัญหาและอุปสรรคที่สำคัญในการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล เขต 9 2) พี่เลี้ยงและคณะกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล มีความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบายและความร่วมมือของสำนักงานประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) รวมถึงแนวทางการดำเนินงานโครงการที่มีความเกี่ยวพันกับ 5 กิจกรรมหลักที่ต้องการให้เกิดร่วมกับกิจกรรมอื่น ๆ
3) คณะกรรมการกองทุนอำเภอคอนสวรรค์ (5 กองทุน) มีความเข้าใจและจะนำวิธีการดำเนินงานใช้ในการติดตามแผนการดำเนินงานและโครงการกองทุนสุขภาพระดับพื้นที่ในลำดับต่อไป 4) พี่เลี้ยงในระดับเขต ระดับจังหวัดระดับอำเภอ และคณะกรรมการกองทุนอำเภอคอนสวรรค์ (5 กองทุน) มีเข้าใจบทบาทหน้าที่ของพี่เลี้ยง กิจกรรมที่ควรใช้ในการติดตามแผนงานและโครงการของกองทุนใน 4 ประเด็น ประกอบด้วย เหล้า บุหรี่ ยาเสพติด และอาหาร และวิธีการพัฒนาโครงการในแต่ละขั้นตอน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

 

 

0 0

56. การประชุมพัฒนาศักยภาพและติดตามคณะกรรมการกองทุนฯใน โครงการการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น และกลไกอาสาสมัครเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด เขต 9 ครั้งที่ 2

วันที่ 20 พฤศจิกายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

การประชุมพัฒนาศักยภาพและติดตามคณะกรรมการกองทุนฯใน โครงการการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น และกลไกอาสาสมัครเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด เขต 9 ครั้งที่ 2 วันที่ 20 พฤศจิกายน 2561
ห้องประชุมสำนักงานสาธารณสุขอำเภอคอนสวรรค์ จังหวัดชัยภูมิ 40 คน ขั้นตอนการดำเนินงาน บรรยายเรื่อง
-ทบทวนโครงการการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น และกลไกอาสาสมัครเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด กองทุนฯอำเภอคอนสวรรค์ โดย ผศ.ดร.ศักดิ์ชาย เพ็ชรตรา บรรยายเรื่อง ยกตัวอย่างโครงการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นและกลไกอาสาสมัครเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด กองทุนฯ อำเภอคอนสวรรค์ ที่มีคุณภาพ โดย นายสังเวียน งาหัตถี ทีมพี่เลี้ยงเพื่อสนับสนุน การจัดทำแผนงาน โครงการของคณะกรรมการกองทุนฯ เขต ๙ บรรยายเรื่อง
ระดมความคิดและพัฒนาโครงการการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด กองทุนฯ อำเภอคอนสวรรค์ โดย ทีมพี่เลี้ยงเพื่อสนับสนุน การจัดทำแผนงาน โครงการ ผลที่เกิดขึ้น
1) พี่เลี้ยงและคณะกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล มีความเข้าใจสถานการณ์ภาพรวมการใช้จ่ายงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพ ปัญหาและอุปสรรคที่สำคัญในการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล เขต 9 2) พี่เลี้ยงและคณะกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล มีความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบายและความร่วมมือของสำนักงานประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) รวมถึงแนวทางการดำเนินงานโครงการที่มีความเกี่ยวพันกับ 5 กิจกรรมหลักที่ต้องการให้เกิดร่วมกับกิจกรรมอื่น ๆ
3) คณะกรรมการกองทุนอำเภอคอนสวรรค์ (5 กองทุน) มีความเข้าใจและจะนำวิธีการดำเนินงานใช้ในการติดตามแผนการดำเนินงานและโครงการกองทุนสุขภาพระดับพื้นที่ในลำดับต่อไป 4) พี่เลี้ยงในระดับเขต ระดับจังหวัดระดับอำเภอ และคณะกรรมการกองทุนอำเภอคอนสวรรค์ (5 กองทุน) มีเข้าใจบทบาทหน้าที่ของพี่เลี้ยง กิจกรรมที่ควรใช้ในการติดตามแผนงานและโครงการของกองทุนใน 4 ประเด็น ประกอบด้วย เหล้า บุหรี่ ยาเสพติด และอาหาร และวิธีการพัฒนาโครงการในแต่ละขั้นตอน












ภาคผนวก ก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

 

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมร่วมกับผู้รับผิดชอบงานกองทุนตำบลฯ ของ สปสช.เขต8  (2) เข้าพบผู้บริหาร อปท.(นายก อบต./นายกเทศมนตรีเทศบาลตำบล)ในฐานะประธานกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล เพื่อชี้แจงทำความเข้าใจโครงการ และเรียนเชิญเข้าร่วมโครงการ (3) ประชุมหารือร่วมกับผู้บริหาร ระดับจังหวัดอุดรธานีและหนองคาย  เพื่อชี้แจงทำความเข้าใจโครงการ และเรียนเชิญเป็นที่ปรึกษาโครงการ  (4) เข้าพบผู้บริหาร ระดับอำเภอเพื่อชี้แจงทำความเข้าใจโครงการ และเรียนเชิญเป็นที่ปรึกษาโครงการ  (5) ประชุมร่วมกับ พี่เลี้ยงระดับ จังหวัดอุดรธานีและหนองคาย เพื่อชี้แจงทำความเข้าใจโครงการ และ หารือแนวทางการทำงานโครงการ  (6) ประชุมร่วมกับ พี่เลี้ยงระดับอำเภอ จังหวัดอุดรธานีและหนองคาย เพื่อชี้แจงทำความเข้าใจโครงการ และ หารือแนวทางการทำงานโครงการ (7) จัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อศักยภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น ให้จัดทำแผนงาน/โครงการสร้างเสริมสุขภาพโดยการการควบคุม ปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา บุหรี่ ยาเสพติด  และ อาหาร และ การจัดทำระบบกำกับติดตามการดำเนินงานออนไลน์ (8) อบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพ  พี่เลี้ยงและคณะกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล เพื่อจัดทำแผนและโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น/พื้นที่  (9) จัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อศักยภาพเรื่อง  การจัดทำระบบกำกับติดตามการดำเนินงานออนไลน์ แผนงาน/โครงการสร้างเสริมสุขภาพโดยการการควบคุม ปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา บุหรี่ ยาเสพติด  และ อาหาร (10) โครงการปัจจัยเสี่ยง เขต 9 นครราชสีมา (11) อบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพ  พี่เลี้ยงและคณะกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล เพื่อจัดทำแผนและโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น/พื้นที่ (12) อบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพ  พี่เลี้ยงและคณะกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล เพื่อจัดทำแผนและโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น/พื้นที่ (13) อบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพ  พี่เลี้ยงและคณะกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล เพื่อจัดทำแผนและโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น/พื้นที่ (14) โครงการปัจจัยเสี่ยง เขต 9 นครราชสีมา พื้นที่นำร่อง อ คอนสวรรค์ จ ชัยภูมิ (15) อบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพ  พี่เลี้ยงและคณะกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล เพื่อจัดทำแผนและโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น/พื้นที่ (16) การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาแผนกองทุนตำบลและข้อเสนอโครงการกองทุนตำบล ภายใต้โครงการเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ สุรา ยาสูบ ยาเสพติด อาหารและโภชนาการ (17) การอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาแผนกองทุนตำบลและข้อเสนอโครงการกองทุนตำบล ภายใต้โครงการเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ สุรา ยาสูบ ยาเสพติด อาหารและโภชนาการ (18) พัฒนาศักยภาพกองทุนจัดทำแผน/โครงการเพื่อควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพสุรา ยาสูบ ยาเสพติด อาหารและโภชนาการ พื้นที่  จ.กาฬสินธุ์ (19) การประชุมเชิงปฏิบัติ โครงการเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ สุรา ยาสูบ ยาเสพติด อาหารและโภชนาการ ของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น (20) การประชุมเชิงปฏิบัติ โครงการเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ สุรา ยาสูบ ยาเสพติด อาหารและโภชนาการ ของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น (21) การประชุมเชิงปฏิบัติ โครงการเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ สุรา ยาสูบ ยาเสพติด อาหารและโภชนาการ ของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น (22) การประชุมเชิงปฏิบัติ โครงการเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ สุรา ยาสูบ ยาเสพติด อาหารและโภชนาการ ของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น (23) ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่นให้จัดทำแผนงาน/โครงการจัดการปัจจัยเสี่ยง (24) ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่นให้จัดทำแผนงาน/โครงการจัดการปัจจัยเสี่ยง (25) การประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำแผนและพัฒนาโครงการจัดการปัจจเสี่ยงต่อสุขภาพ อาหารและโภชนาการ (อ.เขื่องใน จ.อุบลราชธานี) (26) ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่นให้จัดทำแผนงาน/โครงการจัดการปัจจัยเสี่ยง (27) การประชุมเชิงปฏิบัติการ “การพัฒนาศักยภาพกองทุนฯ การทำแผนงาน/โครงการเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ สุรา ยาสูบ ยาเสพติด อาหารและโภชนาการ (28) การประชุมเชิงปฏิบัติการ “การพัฒนาศักยภาพกองทุนฯ การทำแผนงาน/โครงการเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ สุรา ยาสูบ ยาเสพติด อาหารและโภชนาการ (29) การประชุมเชิงปฏิบัติการ “การพัฒนาศักยภาพกองทุนฯ การทำแผนงาน/โครงการเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ สุรา ยาสูบ ยาเสพติด อาหารและโภชนาการ (30) การประชุมเชิงปฏิบัติการ “การพัฒนาศักยภาพกองทุนฯ การทำแผนงาน/โครงการเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ สุรา ยาสูบ ยาเสพติด อาหารและโภชนาการ (31) การประชุมเชิงปฏิบัติการ “การพัฒนาศักยภาพกองทุนฯ การทำแผนงาน/โครงการเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ สุรา ยาสูบ ยาเสพติด อาหารและโภชนาการ (32) การประชุมเชิงปฏิบัติการ “การพัฒนาศักยภาพกองทุนฯ การทำแผนงาน/โครงการเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ สุรา ยาสูบ ยาเสพติด อาหารและโภชนาการ (33) การประชุมเชิงปฏิบัติการ “การพัฒนาศักยภาพกองทุนฯ การทำแผนงาน/โครงการเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ สุรา ยาสูบ ยาเสพติด อาหารและโภชนาการ (34) การประชุมเชิงปฏิบัติการ “การพัฒนาศักยภาพกองทุนฯ  การทำแผนงาน/โครงการเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ สุรา ยาสูบ ยาเสพติด อาหารและโภชนาการ (35) การประชุมเชิงปฏิบัติการ “การพัฒนาศักยภาพกองทุนฯ  (ให้สามารถทำแผน/โครงการเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ สุรา ยาสูบ ยาเสพติด อาหารและโภชนาการ)  เขตพื้นที่ ๗,๘,๙,๑๐” (36) การพัฒนาศักยภาพกองทุน (ให้สามารถทำแผน/โครงการเพื่อควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ สุรา ยาสูบ ยาเสพติด อาหารและโภชนาการ) พื้นที่เขต 7,8,9,10 (37) การประชุมเชิงปฏิบัติการ “การพัฒนาศักยภาพกองทุนฯ  (ให้สามารถทำแผน/โครงการเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ สุรา ยาสูบ ยาเสพติด อาหารและโภชนาการ)  เขตพื้นที่ 7, 8, 9, และ 10 (38) อบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาแผนงาน/โครงการเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาปัจจัยเสี่ยงสุรา บุหรี่ยาสูบ ยาเสพติด อาหารและโภชนาการ พื้นที่  จ.ขอนแก่น (39) การพัฒนาและปรับแก้โครงการ เขต 10 (อ.ขุนหาญ จ.ศรีสะเกษ และอ.เขื่องใน จ.อุบลราชธานี) (40) รายงานผลการติดตามโครงการป้องกันปัจจัยเสี่ยง งวดที่ 3 เขต 9 จังหวัดนครราชสีมา พื้นที่ 2 จังหวัด (นครราชสีมา และชัยภูมิ)การประชุมเตรียมพัฒนาศักยภาพและติดตามคณะกรรมการกองทุนฯใน โครงการการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น  และกลไกอาสาสมัครเพ (41) รายงานผลการติดตามโครงการป้องกันปัจจัยเสี่ยง งวดที่ 3 เขต 9 จังหวัดนครราชสีมา พื้นที่ 2 จังหวัด (นครราชสีมา และชัยภูมิ)การประชุมเตรียมพัฒนาศักยภาพและติดตามคณะกรรมการกองทุนฯใน โครงการการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น  และกลไกอาสาสมัครเพ (42) รายงานผลการติดตามโครงการป้องกันปัจจัยเสี่ยง งวดที่ 3 เขต 9 จังหวัดนครราชสีมา พื้นที่ 2 จังหวัด (นครราชสีมา และชัยภูมิ)การประชุมเตรียมพัฒนาศักยภาพและติดตามคณะกรรมการกองทุนฯใน โครงการการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น  และกลไกอาสาสมัครเพ (43) การประชุมเตรียมพัฒนาศักยภาพและติดตามคณะกรรมการกองทุนฯใน โครงการการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น  และกลไกอาสาสมัครเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด เขต ๙  กองทุนตำบลฯ อำเภอบัวใหญ่ จังหวัดนครราชสีมา ของ คณะทำ (44) การประชุมพัฒนาศักยภาพและติดตามคณะกรรมการกองทุนฯในโครงการการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น และกลไกอาสาสมัครเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด เขต 9 ครั้งที่ 1 (45) การประชุมพัฒนาศักยภาพและติดตามคณะกรรมการกองทุนฯในโครงการการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น และกลไกอาสาสมัครเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด เขต 9 ครั้งที่ 1 (46) พัฒนาศักยภาพกองทุนให้สามารถทำแผนโครงการ อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี (47) พัฒนาศักยภาพกองทุนให้สามารถทำแผนโครงการ ทีมพี่เลี้ยงอำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี และทีมพี่เลี้ยงอำเภอขุนหาญ จังหวัดศรีสะเกษ (48) พัฒนาศักยภาพกองทุนให้สามารถทำแผนโครงการ ทีมพี่เลี้ยงอำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี และทีมพี่เลี้ยงอำเภอขุนหาญ จังหวัดศรีสะเกษ (49) การประชุมพัฒนาศักยภาพและติดตามคณะกรรมการกองทุนฯใน โครงการการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น และกลไกอาสาสมัครเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด เขต 9 ครั้งที่ 2 (50) การประชุมพัฒนาศักยภาพและติดตามคณะกรรมการกองทุนฯใน โครงการการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น และกลไกอาสาสมัครเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด เขต 9 ครั้งที่ 2 (51) การประชุมเตรียมพัฒนาศักยภาพและติดตามคณะกรรมการกองทุนฯใน โครงการการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น  และกลไกอาสาสมัครเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด เขต 9  กองทุนตำบลฯ อำเภอคอนสวรรค์ จังหวัดชัยภูมิ ของ คณะทำง (52) การประชุมเตรียมพัฒนาศักยภาพและติดตามคณะกรรมการกองทุนฯใน โครงการการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น  และกลไกอาสาสมัครเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด เขต 9  กองทุนตำบลฯ อำเภอคอนสวรรค์ จังหวัดชัยภูมิ ของ คณะทำง (53) การประชุมเตรียมพัฒนาศักยภาพและติดตามคณะกรรมการกองทุนฯใน โครงการการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น  และกลไกอาสาสมัครเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด เขต 9  กองทุนตำบลฯ อำเภอคอนสวรรค์ จังหวัดชัยภูมิ ของ คณะทำง (54) การประชุมพัฒนาศักยภาพและติดตามคณะกรรมการกองทุนฯใน โครงการการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น และกลไกอาสาสมัครเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด เขต 9 ครั้งที่ 1 (55) การประชุมพัฒนาศักยภาพและติดตามคณะกรรมการกองทุนฯใน โครงการการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น และกลไกอาสาสมัครเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด เขต 9 ครั้งที่ 1 (56) การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาแผนกองทุนตำบลและข้อเสนอโครงการกองทุนตำบล ภายใต้โครงการเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ สุรา ยาสูบ ยาเสพติด อาหารและโภชนาการ (57) การประชุมพัฒนาศักยภาพและติดตามคณะกรรมการกองทุนฯใน โครงการการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น และกลไกอาสาสมัครเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด เขต 9 ครั้งที่ 2 (58) การประชุมพัฒนาศักยภาพและติดตามคณะกรรมการกองทุนฯใน โครงการการพัฒนาศักยภาพกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น และกลไกอาสาสมัครเพื่อการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสุรา ยาสูบ และยาเสพติด เขต 9 ครั้งที่ 2

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


รายงานกิจกรรม สำหรับพี่เลี้ยงโครงการปัจจัยเสี่ยง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัด

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด