พัฒนาคุณภาพชีวิตเด็กและเยาวชนต.แว้ง กิจกรรมชุมชนสร้างภูมิคุ้มกันสำหรับเด็กและเยาวชน
ชื่อโครงการ | พัฒนาคุณภาพชีวิตเด็กและเยาวชนต.แว้ง กิจกรรมชุมชนสร้างภูมิคุ้มกันสำหรับเด็กและเยาวชน |
ภายใต้โครงการ | ขับเคลื่อนการมีส่วนร่วมประชาภาคสังคม ในการแก้ไขปัญหาและพัฒนาจังหวัดชายแดนใต้ |
ภายใต้องค์กร | องค์กร??? |
รหัสโครงการ | |
วันที่อนุมัติ | 17 กันยายน 2560 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 17 กันยายน 2560 - 31 มีนาคม 2561 |
งบประมาณ | 172,350.00 บาท |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | เยาวชนสร้างสุขกำลัง 3 |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นายนัสรูเด็น เจ๊ะเต๊ะ |
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ | |
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ | |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลแว้ง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 17 ก.ย. 2560 | 31 มี.ค. 2561 | 172,350.00 | |||
รวมงบประมาณ | 172,350.00 |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
ด้วยสถานการณ์ปัญหาต่างๆของเด็กและเยาวชน อาทิ ปัญหาการติดเกม การติดสารเสพติดกาตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร และการทะเลาะวิวาทใช้ความรุนแรง เป็นต้นสาเหตุของปัญหาเหล่านี้ส่วนหนึ่งมาจากสภาพแวดล้อมที่เป็นอันตราย และพ่อ แม่ ผู้ปกครองขาดทักษะในการเลี้ยงลูกทำให้เด็กและเยาวชนหันไปหาอบายมุข สิ่งมอมเมาเด็กขาดภูมิคุ้มกันในการดำรงชีวิตประกอบกับชุมชนยังไม่สามารถบริหารจัดการพัฒนาเด็กให้มีศักยภาพในการดูแลตนเองให้พ้นจากสถานการณ์ปัญหาต่างๆได้ จากปัจจุบันปัญหาที่ประสบอยู่ ปัญหายาเสพติด มี ประเด็นที่เกี่ยวข้องคือ การสนับสนุนช่วยเหลือ ซึ่งไม่ได้หมายถึงแค่เรื่องเงินทอง แต่หมายถึงการสนับสนุนช่วยเหลือด้วยความรัก ความผูกพัน และการมีสัมพันธภาพที่ดี จากพ่อแม่ที่เข้ามาคลุกวงในแบบจับถูก คือมีความใกล้ชิด แต่มองในมุมบวก รู้ว่าเขามีจุดดีเรื่องอะไร และมีจุดอ่อนเรื่องไหน จะเติมเต็มเขาได้อย่างไร ไม่ใช่แค่ไปชี้ผิด แล้วกล่าวโทษตำหนิอย่างเดียว การสนับสนุนช่วยเหลือมีหลายระดับ ตั้งแต่ระดับพ่อแม่ที่ใกล้ชิดตัวเด็กที่สุด ระดับโรงเรียนซึ่งหมายถึงคุณครู ซึ่งคุณครูสมัยก่อนจะรู้รายละเอียดประวัติของเด็กแต่ละคน หรือบางทีรู้จักกระทั่งพ่อแม่ ครอบครัวของเด็ก แต่คุณครูปัจจุบันอาจไม่ได้มองแม้กระทั่งนอกห้องเรียนว่าเด็กใช้ชีวิตอย่าง ไรบ้าง แล้วครูเองก็ไม่ได้คลุกวงในแบบ "จับถูก" ด้วย ตอนนี้ ส่วนใหญ่พ่อแม่ผู้ปกครองหรือผู้ใหญ่จำนวนไม่น้อยชอบคลุกวงในแบบ "จับผิด" เด็ก ก็เลยต้องปกป้องตัวเอง ตั้งการ์ดไว้ก่อน ระบบการช่วยเหลือจึงไปไม่ถึงตัวเด็ก เด็กจึงต้องใช้ประสบการณ์เดิมๆ หรือลองผิดลองถูกสิ่งแปลกใหม่เพื่อมากลบความเครียด สุดท้ายก็เลยนำไปสู่ปัญหาอื่นๆ เช่น เรื่องยาเสพติด ความรุนแรง เด็ก ทุกคนควรวิ่งหาผู้ใหญ่ได้เวลามีปัญหาต้องการความช่วยเหลือ แต่เราพบว่าทุกวันนี้บ้านเรา เด็กขาดที่ปรึกษาหรือพี่เลี้ยงอย่างรุนแรง เมื่อเด็กเจอปัญหา เด็กไม่สามารถปรึกษาผู้ใหญ่ได้เลย แม้แต่ในชุมชนก็ขาดที่พึ่งให้กับเด็กๆ อย่างสิ้นเชิง การสร้างระบบที่ปรึกษาและพี่เลี้ยงพร้อมกระบวนการสร้างเสริมต้นทุนชีวิตเด็ก และเยาวชนให้เกิดขึ้นในทุกชุมชนจึงเป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่งสำหรับประเทศไทย การ ใช้ความรุนแรง เช่น การยกพวกตีกัน บ่งบอกถึงการขาดทักษะชีวิตหลายเรื่อง ไม่ว่าจะเป็นวิธีขจัดความเครียด การผิดหวังให้เป็น การจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี หรือกระบวนการตัดสินใจที่ดี สิ่งเหล่านี้เป็นทักษะชีวิตที่อยู่ในส่วนของพลังตัวตน ซึ่งพัฒนาได้ด้วยรูปแบบของกิจกรรมต่างๆ ถ้าทักษะเหล่านี้พร่อง ก็มีโอกาสสูงที่จะเกิดความรุนแรงตามมา หรือมีการยกพวกตีกันอย่างที่เห็นกันอยู่บ่อยๆ ดั้งนั้นการพัฒนาให้เด็กและเยาวชนเป็นทรัพยากรที่มีคุณค่าของประเทศจึงจำเป็นต้องส่งเสริมพัฒนาเด็กและเยาวชนให้เป็นคนดีและคนเก่งด้วยการพัฒนาเด็กและเยาวชนให้ครอบคลุมทั้งทางด้าน ร่างกายสติปัญญาจิตใจอารมณ์ สังคม และครอบคลุมใน ๖ มิติ คือศีลธรรมการดำรงชีวิตสังคมวิชาการอาชีพ และนันทนาการรวมทั้งต้องพัฒนาเด็กและเยาวชนแบบคู่ขนานไปพร้อมกับครอบครัว และชุมชน ด้วยการสร้างภาคีเครือข่ายในชุมชนให้ร่วมกันส่งเสริมสนับสนุนพัฒนาเด็กและเยาวชน ให้เป็นกำลังที่เข้มแข็งมีคุณภาพเพื่อจะสามารถพัฒนาประเทศชาติได้ต่อไปในอนาคต กลุ่มเยาวชนสร้างสุขกำลัง 3ได้เล็งเห็นความสำคัญของการพัฒนาเด็กและเยาวชนให้เป็นคนดี คนเก่งตามหลักการดังกล่าวจึงได้จัดกิจกรรมชุมชนสร้างภูมคุ้มกันสำหรับเด็กและเยาวชนภายใต้โครงการค่ายพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็กและเยาวชนตำบลแว้ง กิจกรรมชุมชนสร้างภูมิคุ้มกันสำหรับเด็กและเยาวชน
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี |
---|
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | |||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 0 | 174,310.00 | 1 | 0.00 | |
17 ก.ย. 60 | การประชุมคณะทำงานกลางครั้งที่ 1 | 0 | 3,900.00 | - | ||
20 ก.ย. 60 | ประชุมเชิงปฏิบัติการกิจกรรมชุมชน วันหยุดสุดสัปดาห์ ครั้งที่ 1 กิจกรรม : การดำรงชีวิตและประชุมครอบครัวเป้าหมาย | 0 | 33,100.00 | - | ||
23 ก.ย. 60 | ค่าเดินทางประชุม | 0 | 1,120.00 | - | ||
25 ก.ย. 60 - 25 ก.ค. 61 | การประชุมคณะทำงานกลางครั้งที่ 2 | 0 | 1,950.00 | - | ||
30 ก.ย. 60 | ประชุมเชิงปฏิบัติการกิจกรรมชุมชน วันหยุดสุดสัปดาห์ ครั้งที่ 2 กิจกรรม : ส่งเสริมคุณธรรม ศิลธรรม และจริยธรรม | 0 | 16,600.00 | - | ||
7 ต.ค. 60 | ประชุมเชิงปฏิบัติการกิจกรรมชุมชน วันหยุดสุดสัปดาห์ ครั้งที่ 3 กิจกรรม : ส่งเสริมงานวิชาการ | 0 | 16,600.00 | - | ||
14 ต.ค. 60 | ประชุมเชิงปฏิบัติการกิจกรรมชุมชน วันหยุดสุดสัปดาห์ ครั้งที่ 4 กิจกรรม : สร้างสังคมเอื้ออาทร | 0 | 16,600.00 | - | ||
21 ต.ค. 60 | ประชุมเชิงปฏิบัติการกิจกรรมชุมชน วันหยุดสุดสัปดาห์ ครั้งที่ 5 กิจกรรม : ส่งเสริมอาชีพ | 0 | 16,600.00 | - | ||
21 - 22 ต.ค. 60 | ค่าเดินทาง | 0 | 1,120.00 | - | ||
22 ต.ค. 60 | ประชุมเชิงปฏิบัติการกิจกรรมชุมชน วันหยุดสุดสัปดาห์ ครั้งที่ 6 กิจกรรม : นันทนาการ | 0 | 16,600.00 | - | ||
31 ต.ค. 60 | กิจกรรมยกย่องเชิดชูเกียรติ | 0 | 37,300.00 | - | ||
4 พ.ย. 60 | จัดเวทีสรุปผลการดำเนินงานโครงการและนำเสนอสู่สาธารณชน | 0 | 10,500.00 | - | ||
11 ธ.ค. 60 | ค่าจัดทำงานรายงาน | 0 | 1,200.00 | - | ||
14 ม.ค. 61 | เดินทางเข้าร่วมประชุม | 0 | 1,120.00 | - | ||
15 ก.ค. 61 | อบรมการบันทึกข้อมูลการมส่วนร่วมของภาคประชาสังคมฯ | 0 | 0.00 | ✔ | 0.00 |
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 25 มี.ค. 2561 16:58 น.