directions_run

โครงการปลูกป่าชุมชนเพื่อคืนความสมบูรณ์ให้คลองโหล๊ะจันกระ

แบบการวิเคราะห์และการสังเคราะห์ปัจจัยกำหนดความสำเร็จของโครงการ

การเปลี่ยนแปลงที่เกิดกับคน กลุ่มคน เครือข่าย (เช่น มีความรู้ มีทักษะ มีความชำนาญ มีศักยภาพและขีดความสามารถเพิ่มขึ้น)

การเปลี่ยนแปลงทั้งที่คาดการณ์ไว้และไม่ได้คาดการณ์ไว้ล่วงหน้ารายละเอียดหลักฐานแนวทางการพัฒนาต่อ

การเรียนรู้ของคณะทำงานโครงการ กลุ่มเด็กเยาวชนและเจ้าของที่ดินริมคลอง

1.คณะทำงานโครงการเกิดการเรียนรู้เรื่องการบริหารจัดการโครงการและความสามารถในการขับเคลื่อนโครงการสู่ผลลัพธ์ที่วางไว้ 2.การเรียนรู้ของกลุ่มเด็กเยาวชนกับประวัติศาสตร์และวิถีชีวิตของชุมชนที่มีความสัมพันธ์เกี่ยวโยงกับสายน้ำลำคลอง 3.การปรับเปลี่ยนวิธีคิดและพฤติกรรมของเจ้าของที่ดินริมคลองต่อการฟื้นฟูระบบนิเวสน์ของสายน้ำ

1.คณะทำงานโครงการสามารถบริหารจัดการโครงการได้และสามารถนำเสนองานผ่านเอกสารประกอบโครงการและการเขียนรายงานโครงการทางเวปไซด์ได้และสามารถพัฒนาศักยภาพของตนเองในการสร้างกิจกรรมเพื่อการเรียนรู้และตอบผลลลัพธ์ของโครงการได้และประสานความร่วมมือกับภาคีได้จนสามารถทำกิจกรรมได้ทั้งกิจกรรมที่วางแผนไว้ตามโครงการและกิจกรรมที่ได้เกิดขึ้นนอกเหนือจากที่วางแผนงานไว้ตามโครงการเช่นการทำงานร่วมกับชุมชนภายนอกและสถาบันการศึกษาที่ขอร่วมกิจกรรมของโครงการที่นอกเหนืแไปจากแผนงานที่กำหนดไว้ของโครงการ 2.กลุ่มเด็กเยาวชนมีการเรียนรู้และตื่นตัวในการร่วมกิจกรรมภายใต้โครงการตามที่คณะทำงานโครงการวางแผนไว้และเข้าร่วมกิจกรรมโครงการอย่างต่อเนื่อง 3.คนในชุมชนและเจ้าของที่ดินริมคลองได้เรียนรู้และปรับเปลี่ยนวิธีคิดจากเดิมที่ที่ดินริมคลองที่อยู่ติดกับของตนเองในพื้นที่ลำคลองนั้นเป็นพื้นที่สาธารณะของชุมชนและให้ความร่วมมือที่จะช่วยกันดูแลรักาาสายน้ำของชุมชนจนสามารถเปลี่ยนพฤติกรรมการรุกล้ำพื้นที่ริมคลองเพื่อการเพาะปลูกลดลงและปล่อยให้เป็นพื้นที่สาธารณะของชุมชนให้ธรรมชาติเป็นสิ่งกำหนดการเปลี่ยนแปลงและปรับสภาพของมันเอง

1การพัฒนาคน ในอนาคตจำเป็นจ้องพัฒนาความสามารถและยกระดับการทำงานของคณะทำงานให้มีการทำงานที่กว้างขึ้นทั้งพื้นที่และประเด็น 2.กลุ่มเด็กเยาวชนยังคงต้องให้ความรู้เพื่อเอื้อให้เกิดความรักความหวงแหนต่อทรัพยากรของชุมชน

การเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อผลสัมฤทธิ์ของโครงการ (เช่น เกิดนโยบาย เกิดข้อตกลงชุมชน เกิดมาตรการทางสังคม)

การเปลี่ยนแปลงทั้งที่คาดการณ์ไว้และไม่ได้คาดการณ์ไว้ล่วงหน้ารายละเอียดหลักฐานแนวทางการพัฒนาต่อ

การเปลี่ยนกลไก และกระบวนการในชุมชนที่เอื้อต่อผลสัมฤทธิ์ของโครงการ (เช่น เกิดกลุ่ม ชมรม เครือข่าย เกิดกระบวนการเรียนรู้ เกิดกระบวนการมีส่วนร่วม)

การเปลี่ยนแปลงทั้งที่คาดการณ์ไว้และไม่ได้คาดการณ์ไว้ล่วงหน้ารายละเอียดหลักฐานแนวทางการพัฒนาต่อ