Node Flagship

directions_run

โครงการส่งเสริมและสนับสนุนการผลิตและบริโภคผักปลอดภัยในครัวเรือน ตำบลลำใหม่

แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

กิจกรรมระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
เวทีติดตามเพือการเรียนรู้และพัฒนา ARE ครั้งที่ 1 14 ก.ย. 2563 14 ก.ย. 2563

 

ทำเวทีติดตามเพือการเรียนรู้และพัฒนา ARE ครั้งที่ 1
จัดประชุม ผู้รับผิดชอบโครงการ คณะกรรมการดำเนินงานโครงการ และตัวแทนสมาชิกเข้าร่วมโครงการ รายงานผลการปฎิบัติงานกิจกรรมทีดำเนินการผ่านมาแล้ว ทำการวิเคราะห์ผลการดำเนินงาน ร่วมแลกเปลียนเรียนรู้ซักถามปัญหาอุปสรรค และแนวทางแก้ไข้ปัญหาการดำเนินงาน

 

ผลการปฎิบัติงานกิจกรรมทีผ่านมาครบตามแผนทีต้งไว้ในบันไดผลลัพธ์
กิจกรรมทีดำเนินการสอดคล้องตามแผนตัวชี้วัดผลลัพธ์ มีหลักฐานและบันทึกรายงานผลเป็นทีประจัก

 

เวทีถอดบทเรียนAREรอบ3พีเลี้ยง 12 เม.ย. 2564 12 เม.ย. 2564

 

เข้าร่วมกิจกรรมถอดบทเรียน AREรอบ3 ร่วมถอดบทเรียนร่วมกัน2กลุ่มโครงการย่อย ร่วมกิจกรรมAREรอบ3 ร่วมกับพี้เลี้ยงโครงการ

 

ร่วมถอดบทเรียนผลการดำเนินงานของแต่ละกลุ่มโครงการย่อย สรุปผลการดำเนินงานตามแผนโครงการTime line

 

กิจกรรมที่ 1 รับสมัครทีมงาน และคัดเลือกทีมงาน 25 เม.ย. 2564

 

 

 

 

 

กิจกรรมที่ 2 คณะทำงานสำรวจข้อมูลของผู้ที่สมัครใจเข้าร่วม 25 เม.ย. 2564

 

 

 

 

 

กิจกรรมที่ 3 หาข้อมูลพื้นฐานการปลูกการบริโภคตลาดในพื้นที่ 25 เม.ย. 2564

 

 

 

 

 

กิจกรรมที่ 4 รวมกลุ่ม ให้ความรู้ รณรงค์ และกระตุ้นให้มีการปลูกผัก โดยไม่ใช้สารเคมี และตระหนักเห็นประโยชน์การปลูกไว้บริโภค 25 เม.ย. 2564

 

 

 

 

 

กิจกรรมที่ 5 ลงมือปฏิบัติการปลูกและบริโภคผักปลอดสารเคมี และเริ่ม บันทึกข้อมูลอย่างต่อเนื่อง 25 เม.ย. 2564

 

 

 

 

 

กิจกรรมที่ 6 นำสินค้ามาจำหน่ายในชุมชน 25 เม.ย. 2564

 

 

 

 

 

กิจกรรมที่ 7 การติดตามผลและ สำรวจข้อมูลแปลงเกษตรปลอดสารพิษ 25 เม.ย. 2564

 

 

 

 

 

กิจกรรมพัฒนาศักยภาพที่จัดโดย Node Flagship ยะลา 25 เม.ย. 2564

 

 

 

 

 

ประชุมขับเคลื่อนหน่วยจัดการระดับจังหวัด 1 มิ.ย. 2563 1 มิ.ย. 2563

 

เข้าร่วมประชุมกับหน่วยจัดการจังหวัด รับฟังการชี้แจงต่างๆ จัดทำโครงการ

 

เข้าใจการดำเนินงานโครงการ ได้โครงการเพื่อเสนอขอรับการอนุมัติเงินสนับสนุนโครงการ การพัฒนาศักยภาพพื่้นที่โครงการย่อย โดยหน่วยจัด จังหวัดยะลา ได้ฝึกวิธีการทำบันไดผลลัพธ์โครงการส่งเสริมและสนับสนุนการผลิตและบริโภคผักปลอดภัยในครัวเรือนตำบลลำใหม่

 

เวทีปฐมนิเทศ และทำสัญญาโครงการย่อย 3 มิ.ย. 2563 3 มิ.ย. 2563

 

  1. ปฐมนิเทศ
  2. สร้างการรับรู้ การเข้าใจ ในเรื่อง หลักการ เป้ายหมายโครงการ การทำสัญญาจ้าง การรายงานทางการเงิน และรายงานการดำเนินงานโครงการ

 

  1. แกนนำ จำนวน 3 คน เข้าร่วมกิจกรรมปฐมนิเทศ คิดเป็นร้อยละ 100
  2. แกนนำโครงการย่อย เข้าใจหลักการ และเป้าหมายของโครงการ
  3. จัดทำสัญญาจ้าง
  4. เข้าใจการดำเนินงานทางการเงิน
  5. เข้าใจแนวทางการรายงานการดำเนินงานตามงวดงานอย่างชัดเจน

 

จัดทำไวนิลโครงการ 15 มิ.ย. 2563 15 มิ.ย. 2563

 

จัดทำป้ายประชาสัมพันธ์โครงการและป้ายบันไดผลลัพธ์โครงการ

 

ได้ป้ายประชาสัมพันธ์โครงการ จำนวน 2 แผ่น เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการเข้าใจในโครงการและจัดติดตั้งทุกครั้งในการดำเนินงานโครงการ

 

กิจกรรมที่1.ประชุมเพื่อจัดตั้งคณะทำงานดำเนินงานตามโครงการ ประกอบด้วยตัวแทนจากกรรมการหมู่บ้าน ปราชณ์ชุมชนและกลุ่มอื่นๆที่เห็นชอบร่วมกัน 24 มิ.ย. 2563 24 มิ.ย. 2563

 

ประชุมคณะทำงาน
ประกอบด้วยตัวแทนจากกรรมการหมู่บ้าน ปราชณ์ชุมชนและกลุ่มอื่นๆที่เห็นชอบร่วมกัน คัดเลือกคณะทำงาน

 

คณะทำงานทีเข้าร่วมทำงานประกอบด้วยตัวแทนจากกรรมการหมู่บ้าน ปราชณ์ชุมชนและกลุ่มอื่นๆที่เห็นชอบร่วมกัน แบ่งหน้าทีรับผิดชอบ เข้าใจของโครงการ

 

ประชุมครั้งที่2 ประชุมชี้แจง ทำความเข้าใจโครงการ แบ่งบทบาทหน้าที พร้อมวางแผนการดำเนินงานร่วมกัน รวมถึงรวบรวมข้อมูลพฤติกรรมการปลูกผัก การบริโภคผัก การใช้สารเคมี ในแต่ละเรือน 30 มิ.ย. 2563 30 มิ.ย. 2563

 

  1. ประชุมชี้แจง ทำความเข้าใจโครงการ ตั้งแต่งวัตถุประสงค์โครงการ เป้าหมาย บันไดผลลัพธ์ทั้ง 4 ขั้นของบันได ให้คณะทำงานทำความเข้าใจอีกครั้ง
  2. แบ่งบทบาทหน้าที่ของแต่ละคนที่จะต้องรับผิดชอบ ตั้งแต่ประธาน รองประธาน กรรมการฝ่ายต่าง ๆ เลขานุการ เหรัญญิก เป็นต้น
    1. วางแผนการดำเนินงานร่วมกัน คือ การสำรวจผู้บริโภคผัก การสำรวจพื้นที่ การสำรวจพื้นที่เป้าหมาย การสำรวจการตลาด เป็นต้น
    2. รวบรวมข้อมูลพฤติกรรมการปลูกผัก การบริโภคผัก การใช้สารเคมี ในแต่ละเรือน

 

  1. คณะทำงานเข้าใจโครงการตั้งแต่งวัตถุประสงค์โครงการ เป้าหมาย บันไดผลลัพธ์ทั้ง 4 ขั้นของบันได
  2. โครงการมีคณะทำงาน ประกอบด้วย ประธานโครงการ รองประธานโครงการ กรรมการฝ่ายต่าง ๆ เลขานุการ เหรัญญิก เป็นต้น
  3. ทุกคนรู้จักบทบาทหน้าที่ที่ตนเองรับผิดชอบ
  4. มีข้อมูลพฤติกรรมการปลูกผัก การบริโภคผัก การใช้สารเคมีในแต่ละครัวเรือน พื้นในการค้าผัก

 

เวทีพัฒนาศักยภาพการรายงานผลลัพธ์ของโครงการย่อย 6 ก.ค. 2563 6 ก.ค. 2563

 

  1. ผู้เข้าร่วมประชุมโครงการย่อยละ 2 คน ประกอบด้วย ประธานโครงการย่อยและผู้บันทึกโครงการย่อย
  2. ฝึกการใช้โปรแกรมการรายงานผล ตั้งแต่ การบันทึกกิจกรรม การบันทึกรายละเอียด ขั้นตอนการปฏิบัติ ผลผลิต / ผลลัพธ์ และรายงานสรุปการใช้จ่ายงบประมาณ
  3. ทุกโครงการย่อยได้ลงมือปฏิบัติ

 

  1. ทีมงานที่เข้ารับการพัฒนาการใช้โปรแกรม และรายงานผล ได้เพิ่มกิจกรรม และบันทึกกิจกรรมที่ได้ดำเนินการแล้ว
  2. ทีมงานเข้าใจการใช้โปรแกรม และการรายงานผล ร้อยละ 100

 

กิจกรรมที่2 ครั้งที่1.คณะทำงานสำรวจข้อมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมการปลูกผักการบริโภคผักและการใช้สารเคมี ในแต่ละครัวเรือน 12 ก.ค. 2563 12 ก.ค. 2563

 

ประชุมวางแผนการปฏิบัติงาน ลงพื้นที่สำรวจข้อมูลในแปลง

 

ได้รับข้อมูลพื้นฐานในการลงพื้นที่หาข้อมูลการปลูกเกี่ยวกับพฤติกรรมการปลูกผักการบริโภคผักและการใช้สารเคมี ในแต่ละครัวเรือน ได้รับข้อมูลการลงพื้นที่หาข้อมูลการปลูก

 

กิจกรรมที่ 3 ครั้งที่ 1 ดำเนินการลงพื้นที่หาข้อมูลการปลูก การบริโภคและตลาดในพื้นที่ชุมชนบ้านลูกา 13 ก.ค. 2563 13 ก.ค. 2563

 

คณะทำงานประชุมแบ่งหน้าทีรับผิดชอบ คณะทำงานดำเนินการลงพื้นที่หาข้อมูลการปลูก การบริโภคและตลาดในพื้นที่ชุมชนบ้านลูกา

 

ไดรับข้อมูลการปลูก การบริโภคและตลาดในพื้นที่ชุมชนบ้านลูกา ลงพื้นทีตรวจแปลงปลูกของชุมชน

 

กิจกรรมที่ 3 ครั้งที่ 2 สรุปข้อมูลพื้นฐานในการลงพื้นที่หาข้อมูลการปลูก การบริโภคและตลาดในพื้นที่ชุมชนบ้านลูกา 16 ก.ค. 2563 16 ก.ค. 2563

 

สรุปข้อมูลพื้นฐานในการลงพื้นที่หาข้อมูลการปลูก การบริโภคและตลาดในพื้นที่ชุมชนบ้านลูกา

 

ได้รับข้อมูลพื้นฐานในการลงพื้นที่หาข้อมูลการปลูก การบริโภคและตลาดในพื้นที่ชุมชนบ้านลูกา ได้รับข้อมูลความต้องการของตลาดในชุมชนเพ่อเป็นข้อมูลการปลูก

 

เวทีทบทวนบันไดผลลัพธ์และออกแบบเก็บข้อมูลของโครงการ 15 ส.ค. 2563 15 ส.ค. 2563

 

1.เข้าร่วมประชุมทบทวนบันไดผลลัพธ์ 2.แก้ไข้บันไดผลลัพธืให้สอดคล้องกับวัตถุประส่งค์โครงการ

 

แก้ไข้จัดทำบันไดผลลัพธ์ใหม่เพื่อสอดคล้องกับวัตถุประส่งค์โครงการ ร่วมกันออกแบบบันไดผลลัพธ์ใหม่เพื่อสอดคล้องกับวัตถุประส่งค์โครงการ

 

ประชุมพิจารณายกร่างตารางข้อมูลผลลัพธ์เชิงประเด็นยุทธศาสตร์ 20 ส.ค. 2563 20 ส.ค. 2563

 

ประชุมพิจารณายกร่างตารางข้อมูลผลลัพธ์เชิงประเด็นยุทธศาสตร์า

 

พิจรณายกร่างตารางข้อมูลผลลัพธ์เชิงประเด็นยุทธศาสตร์

 

กิจกรรมที4 รวมกลุ่ม ให้ความรู้รณรงค์และกระตุ้นให้มีการปลูกผักโดยไม่ใช้สารเคมีและตระหนักเห็นประโยชน์การปลูกไว้บริโภค ครั้งที่ 1 25 ส.ค. 2563 25 ส.ค. 2563

 

เชิญสมาชิกเข้าร่วมอบรม รับฟังข้อมูล และเรียนรู้การปลูกผักปลอดภัย และอบรมเรืองการขอรับการรับรองมาตราฐาน GAP
รับสมัครผู้เข้าร่วมโครงการตามเป้าจำนวนทีกำหนดไว้ เชิญวิทยากรจากหน่วยงาน ศวพ.ยะลา เชิญวิทยากรจากหน่วยงาน เกษตรอำเภอเมืองยะลา

 

มีผู้มาเข้าร่วมอบรมและรับฟังรายละเอียดการดำเนินงานโครงการจำนวน 100 คน
ผู้เข้าร่วมอบรมจากชุมชนบ้านลูกาและชุมชนในตำบลลำใหม่ มีผู้สมัครเข้าร่วมโครงการครบตามจำนวนเป้าทีได้กำหนดไว้ จำนวน 60 ครัวเรือน ผู้เข้าร่วมอบรมได้รับฟังการบรรยายและเข้าใจการปลูกผักปลอดภัย กระบวนการปลูก วิธีการเตรียมดินก่อนปลูกและการดูแลผัก ผู้เข้าร่วมอบรมได้รับฟังการบรรยายและเข้าใจกระบวนการผลิตผัก รับรองมาตราฐาน GAP

 

กิจกรรมที่5 ลงมือปฏิบัติการปลูกและบริโภคผักปลอดสารเคมี และเริ่มบันทึกข้อมูลอย่างต่อเนื่อง 5 ต.ค. 2563 3 ธ.ค. 2563

 

สมาชิกทีเข้าร่วมโครงการได้ลงพื้นทีแปลงปลูก ทำการเตรียมดินแปลงสำหรับปลูกของแต่คน

 

สมาชิกทีเข่าร่วมโครงการได้ลงมื้อปฏิบัติตามทีได้อบรมมา
สมาชิกแต่ละครัวเรือนได้รับเมล็ดพันธ์และอุปกรณ์การเกษตร

 

กิจกรรมเวทีการประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา(ARE)ของหน่วยงานจัดการระดับจังหวัดยะลา ครั้งที่ 1 24 ต.ค. 2563 24 ต.ค. 2563

 

มีการจัดเวทีการอบรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ตามประเด็นยุทธศาสคร์
มีการทบทวนผลลัพธ์ของโครงการย่อย นำเสนอผลงานของแต่ละกลุ่ม ปรับปรุงแผนการดำเนินงาน เรียนรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับการรายงานผลการดำเนินงานโดยการคีย์รายงานเข้าระบบ

 

ผู้เข้าร่วมเกิดการเรียนรู้และมีความเข้าใจในประเด็นยุทธศาสตร์มากขึ้น มีการ่่ทบทวนผลลัพธ์โครงการเพื่อให้บรรลุตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับผลงานของแต่ละกลุ่มสามารถนำกลับไปใช้เพื่อการปรับปรุงแผนโครงการเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่เป้าหมาย มีการปรับแผนการดำเนินงานให้ทันกับสถานการณ์และเวลาที่กำหนด เกิดการเรียนรู้และมีความเข้าใจเกี่ยวกับการรายงานผลในรูปแบบออนไลน์มากขึ้น

 

กิจกรรมที่6 นำสินค้าจำหน่ายในชุมชน ดำเนินการนำสินค้าจำหน่ายในชุมชน ตามตลาดในพื้นที่ 10 พ.ย. 2563 17 ก.พ. 2564

 

นำสินค้าส่งตามร้านค้า รับออร์เดอจำหน่ายและส่งตามลูกค้าสั่ง ออกจำหน่ายและแสดงสินค้าตามงานของหน่วยงานจัดขึ้น

 

จำหน่ายผักปลอดภัย มีฉลากสินค้าทีมาตราฐาน สินค้าได้รับการบรรจุภัณฑ์ทีสวยงามเพื่อออกจำหน่าย

 

Node Flasing ภาคีเครือข่ายจังหวัด 26 พ.ย. 2563 26 พ.ย. 2563

 

ประชุมชี้แจงรายงานผลการปฎิบัติงาน

 

รายงานผลการปฎิบัติงานให้หน่วยงานภาคีรับทราบการดำเนินงานทีผ่านมา

 

กิจกรรมที่7การติดตามผลและสำรวจข้อมูลแปลงเกษตรปลอดสารพิษ ครั้งที่1 28 พ.ย. 2563 6 ม.ค. 2564

 

คณะทำงานได้ลงตรวจแปลงของสมาชิก

 

สมาชิกได้ทำการปลูกในแต่ละแปลง

 

กิจกรรมที่ 4 รวมกลุ่มให้ความรู้ รณรงค์และกระตุ้นให้มีการปลูกผัก โดยไม่ใช้สารเคมี และตระหนักเห็นประโยชน์การปลูกไว้บริโภค ครั้งที่ 2 16 ธ.ค. 2563 16 ธ.ค. 2563

 

อบรมให้ความรู้กับสมาชิกเข้าร่วมกิจกรรม การทำปุ่ยหมัก น้ำหมักและน้ำยาไล่แมลง การเตรียมดิน และการให้ปุ๋ย

 

สมาชิกได้รับความรู้และสนใจการปลูกผักปลอดสารพิษ นำความรู้ทีได้มาลงปฏิบัติ คณะทำงานให้ความร่วมมือ คณะทำงานเข้าใจในการทำงานร่วมกันมากขึ้น คณะทำงานทราบถึงการประเมินที่ผ่านมา คณะทำงานและความรู้ความเข้าใจในเรื่องของผักและปุ๋ยหมักมากขึ้น

 

กิจกรรมที่7การติดตามผลและสำรวจข้อมูลแปลงเกษตรปลอดสารพิษ ครั้งที่2 26 ธ.ค. 2563 16 ม.ค. 2564

 

คณะทำงานลงตรวจและติดตามผลการดำเนินงานของสมาชิก

 

สมาชิกได้ปฏิบัติตามข้อตกลง สมาชิกได้ทำการปลูกผักปลอดสารพิษตามทีอบรมมา

 

กิจกรรมที่7การติดตามผลและสำรวจข้อมูลแปลงเกษตรปลอดสารพิษ ครั้งที่3 23 ม.ค. 2564 18 ก.พ. 2564

 

คณะทำงานและพี่เลี้ยงลงตรวจแปลงและติดตามผลการดำเนินงาน

 

สมาชิกได้ปลุกผักตามข้อตกลง สมาชิกมีแปลงปลูกผักเอง

 

ประชุมครั้งที่3 สรุปความก้าวหน้าการทำงานตามแผนเสนอปัญหาทีพบและร่วมกันหาทางแก้ปัญหา หรือพัฒนาการทำงานให้ดีขึ้นและอื่นๆ 6 ก.พ. 2564 6 ก.พ. 2564

 

ประชุมคณะทำงานสรุปความก้าวหน้าการดำเนินงาน

 

รวบรวมข้อมูลแปลงปลูกผัก

 

กิจกรรมที่7การติดตามผลและสำรวจข้อมูลแปลงเกษตรปลอดสารพิษ ครั้งที่4 20 ก.พ. 2564 14 มี.ค. 2564

 

ลงตรวจติดตามแปลงของสมาชิก

 

สมาชิกได้ปฏิบัติจริง

 

กิจกรรมที่ 2 ครั้งที่ 2 คณะทำงานสำรวจข้อมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมการปลูกและบริโภคผักที่ไม่ใช้สารเคมีใด ๆ ในแต่ละครัวเรือน เพื่อเปรียบเที่ยบกับข้อมูลเริ่มโครงการและสรุปข้อมูลเพื่อเตรียมคืนข้อมูล 6 มี.ค. 2564 25 มี.ค. 2564

 

ประชุมคณะทำงานสำรวจข้อมูล รวบรวมข้อมูลทีลงสำรวจ

 

คณะทำงานลงพืนทีเพื่อสำรวจข้อมูล รวมบรวมข้อมูลทีได้รับจากการสำรวจ สรุปข้อมูลการดำเนินงานสำรวจข้อมูล ได้รับข้อมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมการปลูกและบริโภคผักที่ไม่ใช้สารเคมี

 

ประชุมครั้งที่4 ประชุมเพื่อสรุปผลการดำเนินงานโครงการ และหารือถึงการทำงานนี้ต่อเมื่อจบโครงการที่ สสส.สนับสนุน 20 มี.ค. 2564 20 มี.ค. 2564

 

ประชุมคณะกรรมการดำเนินงาน สมาชิกที่เข้าร่วมโครงการร่วมประชุมเพื่่อสรุปการดำเนินงาน

 

สรุปผลการดำเนินงานทีผ่านมา รวบรวมข้อมูลจากสมาชิก

 

เวทีถอดบทเรียน Noode Flasing 24 มี.ค. 2564 24 มี.ค. 2564

 

เข้าร่วมกิจกรรมตามประเด็น ร่วมถอดบทเรียนร่วมกับภาคีเครือข่าย

 

ร่วมถอดบทเรียนผลการดำเนินงานของแต่ละกลุ่มโครงการย่อย สรุปผลการดำเนินงานของแต่ละโครงการย่อย ได้รับข้อเสนอแนะจากหน่วยงานภาคีเรือข่ายทีเข้าร่วม