directions_run

โครงการเตรียมรองรับสังคมสูงวัยเทศบาลตำบลควนกุน

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

Node Flagship จังหวัดตรัง


“ โครงการเตรียมรองรับสังคมสูงวัยเทศบาลตำบลควนกุน ”

ตำบลกะลาเส อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นายสุธน โข้ยนึ่ง

ชื่อโครงการ โครงการเตรียมรองรับสังคมสูงวัยเทศบาลตำบลควนกุน

ที่อยู่ ตำบลกะลาเส อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 63001740023 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 30 กรกฎาคม 2563 ถึง 10 ตุลาคม 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเตรียมรองรับสังคมสูงวัยเทศบาลตำบลควนกุน จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกะลาเส อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ Node Flagship จังหวัดตรัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเตรียมรองรับสังคมสูงวัยเทศบาลตำบลควนกุน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเตรียมรองรับสังคมสูงวัยเทศบาลตำบลควนกุน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกะลาเส อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 63001740023 ระยะเวลาการดำเนินงาน 30 กรกฎาคม 2563 - 10 ตุลาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 117,000.00 บาท จาก Node Flagship จังหวัดตรัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เทศบาลตำบลควนกุน ประกอบด้วย 5 ชุมชนได้แก่ ชุมชนร่มเมือง ชุมชนควนกุน ชุมชนเมืองใหม่ ชุมชนตรอกบก และชุมชนหัวสะพาน มีประชากร ณ วันที่ 30 พฤษภาคม 2562 จำนวน 2,149 คนปัจจุบันจากข้อมูลประชากรพบว่า เทศบาลตำบลควนกุนเข้าสู่สังคมสูงวัยแล้ว
ดังนั้นเพื่อให้มีการเตรียมการรองรับสังคมสูงวัยร่วมกันของภาคประชาชน หน่วยงานท้องถิ่นเทศบาล รพ.สต. และโรงเรียนผู้สูงอายุโดย เมื่อวันที่ 9 มิถุนายน 2563 ณ ห้องประชุมสภาเทศบาลตำบลควนกุน มีการประชุมปรึกษาหารือเพื่อพัฒนาโครงการเตรียมรองรับสังคมสูงวัยเทศบาลตำบลควนกุน ได้ข้อสรุปลำดับความต้องการในการแก้ปัญหารองรับสังคมผู้สูงวัยในเขตเทศบาลตำบลควนกุนมีดังนี้คือ ลำดับแรก ด้านสุขภาพร้อยละ 50 ลำดับสองด้านเศรษฐกิจร้อยละ 28 ลำดับสามการปรับสภาพสิ่งแวดล้อมร้อยละ 14 และลำดับที่สี่ด้านสังคมร้อยละ 8 ตรงกับชมรมผู้สูงอายุเทศบาลตำบลควนกุนได้ทำการสำรวจความต้องการของผู้สูงอายุในชุมชน พบว่า  ผู้สูงอายุในเขตเทศบาลตำบลควนกุนมีคุณภาพชีวิตลดลง และจากข้อมูลโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกะลาเส ได้ตรวจสุขภาพผู้สูงอายุจำนวน 184 คน พบว่าเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน 13 คน  เสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง 68 คน เสี่ยงเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจและสมอง 152 คน  เสี่ยงเป็นโรคเข่าเสื่อม 60 คน  ดังนั้น การแก้ปัญหารองรับสังคมผู้สูงวัยในเขตเทศบาลตำบลควนกุน ภายใต้โครงการมีชมรมผู้สูงอายุที่มีความเข้มแข็ง ที่มีสมาชิกในปัจจุบันจำนวน 50 คน มีการทำกิจกรรมในโรงเรียนผู้สูงอายุทุกวันศุกร์ของทุกสัปดาห์ มีธรรมนูญสุขภาพของผู้สูงอายุ ซึ่งเป็นกลุ่มที่คอยขับเคลื่อนงานที่เกี่ยวกับการดูแลผู้สูงอายุ และปัจจุบันที่จังหวัดตรังได้เข้าสู่สังคมสูงวัย โดยมีจำนวนผู้สูงอายุ คิดเป็นร้อยละ 17 ของประชากรทั้งหมด ได้ตระหนักถึงปัญหาในส่วนนี้ จึงเกิดแนวคิดสร้างความพร้อมเตรียมรองรับสังคมสูงวัย ในกลุ่มช่วงอายุ 40-59 ปี โดยในฐานะที่ผู้สูงอายุเป็นผู้ที่เชี่ยวชาญชีวิต ผ่านประสบการณ์ต่างๆในช่วงวัยนั้นมาก่อน จีงอยากส่งเสริมให้กลุ่มที่รองรับสังคมสูงวัยมีความรู้ในการใช้ชีวิตวัยสูงอายุและวัยหลังเกษียณอายุ การเตรียมความพร้อมรองรับสังคมผู้สูงอายุโดยการจัดอบรมเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพ สิทธิหน้าที่ของผู้สูงอายุและประสบการณ์การใช้ชีวิต ในฐานะผู้เชี่ยวชาญชีวิต รวมทั้งกิจกรรมการออกกำลังกาย ในมิติด้านสุขภาพ โดยการทำกิจกรรมออกกำลังกายร่วมกับชมรมผู้สูงอายุที่มีการจัดกิจกรรมในทุกวันศุกร์สุดสัปดาห์ รวมทั้งการสร้างหลักประกันให้กับตนเอง (การออมทรัพย์) ในมิติด้านเศรษฐกิจ โดยให้กลุ่มเป้าหมายช่วงอายุ 40 – 59 ปี ได้เข้าร่วมกิจกรรมการออมร่วมกับชมรมผู้สูงอายุ เพื่อมีเงินเก็บไว้ใช้ในยามตนเองจำเป็นเช่น ยามเจ็บป่วยจะได้ไม่เครียดกับการไม่มีเงินรักษาตัว เชื่อว่าเมื่อสุขภาพกลุ่มดีขึ้นและสามารถช่วยรองรับสังคมผู้สูงอายุในอนาคตได้ จึงมีความประสงค์ที่จัดทำโครงการพัฒนาสุขภาพรองรับสังคมผู้สูงวัยให้มีสุขมากขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจในการเตรียมเข้าสู่สังคมสูงวัย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ส่วนที่ สสส.สนับสนุนเพิ่มเติม (เบิกจ่ายตามจริง และเมื่อเหลือจะต้องคืนให้กับ สสส. เมื่อสิ้นสุดโครงการ)
  2. กิจกรรมที่ 2การรวบรวม สำรวจข้อมูลเตรียมรองรับสังคมสูงวัย ทต.ควนกุน 2 ครั้ง
  3. กิจกรรมที่ 1 สร้างความเข้มแข็งและองค์ความรู้ให้แกนนำในการขับเคลื่อนเตรียมรองรับสังคมสูงวัยทต.ควนกุน ประชุมคณะทำงาน 10 ครั้ง
  4. กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมส่งเสริมการเตรียมรองรับสังคมสูงวัย
  5. บัญชีธนาคาร
  6. กิจกรรมปฐมนิเทศโครงการเตรียมรองรับสังคมสูงวัย
  7. กิจกรรมย่อยที่ 1.1 ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 1
  8. กิจกรรมย่อยที่ 2.1 การรวบรวม สำรวจข้อมูลเตรียมรองรับสังคมสูงวัย ทต.ควนกุน ครั้งที่ 1
  9. กิจกรรมที่ 3 ส่งเสริมพัฒนาความรู้เตรียมรองรับสังคมสูงวัยด้านสุขภาพ
  10. ค่าจัดทำป้ายเขตปลอดบุหรี่และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และป้ายชื่อโครงการ สสส. สำหรับติดในสถานที่จัดกิจกรรม
  11. กิจกรรมย่อยที่ 1.2 ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 2
  12. กิจกรรมที่ 4 ส่งเสริมพัฒนาความรู้เตรียมรองรับสังคมสูงวัยด้านการออม
  13. ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อจัดทำรายงาน ส.1 และ ง.1 ผ่านระบบ www.happynetwork.org
  14. ค่าอินเตอร์เน็ตเพื่อจัดทำรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบออนไลน์งวดที่ 1(30ก.ค.-29พ.ย.63)
  15. ค่าอินเตอร์เน็ตเพื่อจัดทำรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบออนไลน์งวดที่ 3(30เม.ย.63-29พ.ค.64)
  16. ค่าจัดทำชุดนิทรรศการแสดงผลการดำเนินงานในเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้โครงการ
  17. การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ความก้าวหน้าการดำเนินงานครั้งที่ 1 ประเด็นเตรียมรองรับสังคมสูงวัย
  18. กิจกรรมย่อยที่ 1.3 ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 3
  19. กิจกรรมย่อยที่ 1.4 ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 4
  20. กิจกรรมย่อยที่ 1.5 ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 5
  21. การถอดบทเรียนประเด็นการเตรียมรองรับสังคมสูงวัยเพื่อพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพผ่านกระบวนการสมัชชาสุขภาพจังหวัดตรัง
  22. กิจกรรมย่อยที่ 2.2 การรวบรวม สำรวจข้อมูลเตรียมรองรับสังคมสูงวัย ทต.ควนกุน ครั้งที่ 2
  23. กิจกรรมย่อยที่ 1.6 ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 6
  24. กิจกรรมที่ 5 ส่งเสริมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์กับผู้เชี่ยวชาญชีวิต
  25. กิจกรรมย่อยที่ 1.7 ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 7
  26. กิจกรรมย่อยที่ 1.8 ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 8
  27. กิจกรรมที่ 6 สรุปบทเรียนการดำเนินโครงการ
  28. กิจกรรมย่อยที่ 1.9 ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 9
  29. การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ความก้าวหน้าการดำเนินงานครั้งที่ 2 ประเด็นเตรียมรองรับสังคมสูงวัย
  30. กิจกรรมย่อยที่ 1.10 ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 10
  31. ค่าอินเตอร์เน็ตเพื่อจัดทำรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบออนไลน์งวดที่ 3(30พ.ย.63-29เม.ย.64)
  32. กิจกรรมที่ 7 กิจกรรมทำสื่อเพื่อเผยแพร่ผลงาน
  33. ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผลลัพธ์และบทเรียนการดำเนินงาน ครั้งที่ 2 หน่วยจัดการจังหวัดที่มรจุดเน้นสำคัญ(Node Flagship)ประเด็นการเตรียมรองรับสังคมสูงวัย
  34. ค่าเปิดบัญชีธนาคาร

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มคนอายุ 40-59 ปี 150
ผู้สูงอายุและผู้ดูแลผู้สูงอายุทั่วไป 50

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

เกิดคณะทำงานที่มีความรู้ความเข้าใจเป็นแกนนำในการขับเคลื่อนการเตรียมรองรับสังคมสูงวัย เกิดข้อมูลกลุ่มเป้าหมายเตรียมรองรับสังคมสูงวัยทต.ควนกุน เกิดข้อมูลผู้เชี่ยวชาญชีวิตทต.ควนกุน กลุ่มเป้าหมายมีความเข้าใจการเตรียมรองรับสังคมสูงวัยร้อยละ 80 จากกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด กลุ่มเป้าหมายเตรียมรองรับสังคมสูงวัยมีการสมัครเป็นสมาชิกกองทุนสวัสดิการตำบล เพิ่มขึ้นร้อยละ 20 จากกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด กลุ่มเป้าหมายเตรียมรองรับสังคมสูงวัยมีการออมในรูปแบบต่าง ๆเช่น การออมเงิน เพิ่มขึ้นร้อยละ 20 จากกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด กลุ่มเป้าหมายเตรียมรองรับสังคมสูงวัยมีสุขภาพดีขึ้นร้อยละ 20 จากกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด มีแผนงานโครงการที่เกี่ยวข้องกับการเตรียมรองรับสังคมสูงวัยในแผนพัฒนาท้องถิ่นและหรือกองทุนสุขภาพตำบล


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมปฐมนิเทศโครงการเตรียมรองรับสังคมสูงวัย

วันที่ 30 กรกฎาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

ตัวแทนคณะทำงานโครงการเข้าร่วมรับฟังการชี้แจงปฐมนิเทศโครงการฯ
เพื่อทำความเข้าใจเป้าหมายการทำงานของNode Flagship จังหวัดตรัง การทำความเข้าใจบันไดผลลัพธ์โครงการ และหลักเกณฑ์การใช้จ่ายงบประมาณ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1) ตัวแทนคณะทำงานจำนวน 3 คนได้โครงการเข้าร่วมรับฟังการชี้แจงปฐมนิเทศโครงการฯ
2) คณะทำงานมีความเข้าใจเป้าหมายการทำงานของNode Flagship จังหวัดตรัง  และเข้าใจหลักเกณฑ์การใช้จ่ายงบประมาณของ สสส.

 

0 0

2. กิจกรรมย่อยที่ 1.1 ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 1

วันที่ 18 กันยายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

คณะทำงานโครงการเข้าร่วมรับฟังการชี้แจงปฐมนิเทศโครงการฯ
เพื่อทำความเข้าใจเป้าหมายการทำงานของNode Flagship จังหวัดตรัง การทำความเข้าใจบันไดผลลัพธ์โครงการ และหลักเกณฑ์การใช้จ่ายงบประมาณ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. คณะทำงานได้รับความรู้ความเข้าใจเป็นแกนนำในการขับเคลื่อนการเตรียมรองรับสังคมสูงวัย
  2. มีกลุ่มแกนนำ ประกอบด้วย กรรมการชมรมผู้สูงอายุเทศบาลตำบลควนกุนร่วมกับ อสม.ควนกุน
  3. มีการรวมกลุ่มทำกิจกรรมตรวจสุขภาพในกลุ่มต่อเนื่อง
  4. ผู้เข้าร่วมประชุมมีความตระหนักและเข้าใจเรื่องการเตรียมรองรับสังคมสูงวัย
  5. มีกลไกลคณะทำงานเตรียมรองรับสังคมสูงวัยเข้มแข็ง
  6. มีป้ายไวนิลในการประชุม

 

20 0

3. กิจกรรมย่อยที่ 2.1 การรวบรวม สำรวจข้อมูลเตรียมรองรับสังคมสูงวัย ทต.ควนกุน ครั้งที่ 1

วันที่ 25 กันยายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

  • เชิญประชุมคณะทำงานและผู้เกี่ยวข้อง
  • ให้ความรู้เรื่องรองรับสังคมสูงวัย โดย นายสุธน โข้ยนึ่ง เป็นวิทยากร 2 ชั่วโมง
  • รับประทานอาหารว่าง
  • ให้ความรู้เรื่องสำรวจข้อมูล เรื่อง การเตรียมรองรับสังคมสูงวัย - รับประทานอาหารกลางวัน
  • กิจกรรมวิเคราะห์ข้อมูลใน 4 มิติ (เศรษฐกิจ , สิ่งแวดล้อม , สุขภาพ , สังคม) โดยนายสุธน โข้ยนึ่ง เป็นวิทยากร 1 ชั่วโมง
  • รับประทานอาหารว่าง
  • กิจกรรมวิเคราะห์ข้อมูล (ต่อ) โดยนายสุธน โข้ยนึ่ง เป็นวิทยากร 1 ชั่วโมง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • มีฐานข้อมูลเตรียมรองรับสังคมสูงวัยของเทศบาลตำบลควนกุน

 

30 0

4. กิจกรรมที่ 3 ส่งเสริมพัฒนาความรู้เตรียมรองรับสังคมสูงวัยด้านสุขภาพ

วันที่ 1 ตุลาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

  • เชิญกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการเตรียมรองรับสังคมสูงวัย จำนวน 200 คน
  • ถ่ายเอกสาร 240 ชุด แจกผู้เข้าร่วมประชุม
  • เชิญวิทยากรระดับจังหวัดตรัง มาให้ความรู้
  • ให้ความรู้เรื่องเตรียมรองรับสังคมสูงวัย โดยนายวัชรินทร์  ศรีประสิทธิ์ ประธานสาขาสมาคมผู้สูงอายุแห่งประเทศไทย จังหวัดตรัง เป็นวิทยากร 2 ชั่วโมง
  • รับประทานอาหารว่าง
  • กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผู้เข้าร่วมประชุม
  • รับประทานอาหารกลางวัน
  • วิเคราะห์โครงการเตรียมรองรับสังคมสูงวัยใน 4 มิติ (ด้านเศรษฐกิจ , ด้านสิ่งแวดล้อม , ด้านสุขภาพ , ด้านสังคม)
  • รับประทานอาหารว่าง
  • กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของผู้เข้าร่วมประชุม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • กลุ่มเป้าหมายเตรียมรองรับสังคมสูงวัย มีความเข้าใจตามโครงการเพิ่มขึ้น
  • กลุ่มเป้าหมายสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง
  • มีการรวมกลุ่มดูแลสุขภาพ เช่น การตรวจสุขภาพ การออกกำลังกาย

 

200 0

5. ค่าจัดทำป้ายเขตปลอดบุหรี่และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และป้ายชื่อโครงการ สสส. สำหรับติดในสถานที่จัดกิจกรรม

วันที่ 15 ตุลาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

จัดทำป้ายเขตปลอดบุหรี่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ป้ายเขตปลอดบุหรี่

 

0 0

6. กิจกรรมที่ 4 ส่งเสริมพัฒนาความรู้เตรียมรองรับสังคมสูงวัยด้านการออม

วันที่ 26 ตุลาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

  • เชิญกลุ่มเป้าหมายเตรียมรองรับสังคมสูงวัย จำนวน 50 คน เข้าร่วมประชุม
  • ให้ความรู้เรื่อง การออมทรัพย์ โดย นางสาวสมใจ มีแก้ว เจ้าหน้าที่กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตบ้านร่มเมือง
  • รับประทางอาหารว่าง
  • ให้ความรู้เรื่อง การออมโดยการปลูกต้นไม้ โดยนายบัณฑิต ชิดงาน เกษตรกรบ้านควนกุน
  • รับประทานอาหารกลางวัน
  • กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการอบรม
  • รับประทานอาหารว่าง
  • กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เรื่อง ธรรมนูญสุขภาพ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • มีการปฏิบัติตามธรรมนูญสุขภาพ เตรียมรองรับสังคมสูงวัย
  • มีการออมเพิ่มขึ้น

 

50 0

7. กิจกรรมย่อยที่ 1.2 ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 2

วันที่ 26 ตุลาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประชุมคณะทำงาน
  2. สร้างความรู้เพิ่มเติม สร้างความตระหนักและความสำคัญในการขับเคลื่อนเตรียมรองรับสังคมสูงวัย
  3. ติดตามประเมินผลการทำเดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

. 1. แกนนำได้เข้าร่วมประชุม   2. ผู้รับผิดชอบโครงการได้ชี้แจงโครงการ สร้างตระหนักและความสัมคัญในการขับเคลื่อนเตรียมรองรับสังคมสูงวัย   3. มีคณะทำงานเกิดขึ้น เป็นแกนนำในการขับเคลื่อน การเตรียมรองรับสังคมสูงวัย

 

30 0

8. กิจกรรมย่อยที่ 1.3 ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 3

วันที่ 12 มีนาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

  1. แต่งตั้งคณะทำงาน
  2. สร้างความรู้ความตระหนักและความสำคัญในการขับเคลื่อนเตรียมสังคมสูงวัย
  3. ติดตามประเมินผลการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. แกนนำได้เข้าร่วมประชุม
  2. ผู้รับผิดชอบโครงการได้ชี้แจงโครงการ สร้างความตระหนักและความสำคัญในการขับเคลื่อนเตรียมรองรับสังคมสูงวัย
  3. มีคณะทำงานเกิดขึ้น เป็นแกนนำในการขับเคลื่่อนการเตียมรองรับสังคมสูงวัย

 

20 0

9. กิจกรรมย่อยที่ 1.4 ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 4

วันที่ 19 มีนาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประชุมคณะทำงาน
  2. สร้างความรู้เพิ่มเติม สร้างความตระหนักและความสำคัญในการขับเคลื่อน เตรียมรองรับสังคมสูงวัย
  3. ติมตามประเมินผลการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. แกนนำได้เข้าร่วมประชุม
  2. ผู้รับผิดชอบโครงการได้ชี้แจงโครงการ สร้างความตระหนักและความสำคัญในการขับเคลื่อนเตรียมรองรับสังคัมสูงวัย

 

20 0

10. กิจกรรมย่อยที่ 1.5 ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 5

วันที่ 26 มีนาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

  1. แต่งตั้งคณะทำงาน
  2. สร้างความตระหนักและความสำคัญในการขับเคลื่อนเตรียมรองรับสังคมสูงวัย
  3. ติดตามประเมินผลการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. แกนนำได้เข้าร่วมประชุม
  2. ผู้รับผิดชอบโครงการได้ชี้แจงโครงการ สร้างความตระหนักและความสำคัญในการขับเคลื่อนเตรียมรองรับสังคมสูงวัย
  3. มีคณะทำงานเกิดขึ้น เป็นแกนนำในการขับเคลื่อนเตรียมรองรับสังคมสูงวัย

 

20 0

11. การถอดบทเรียนประเด็นการเตรียมรองรับสังคมสูงวัยเพื่อพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพผ่านกระบวนการสมัชชาสุขภาพจังหวัดตรัง

วันที่ 31 มีนาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

เข้าร่วมกิจกรรมการถอดบทเรียนประเด็นการเตรียมรองรับสังคมสูงวัยเพื่อพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพผ่านกระบวนการสมัชชาสุขภาพจังหวัดตรัง ระหว่างวันที่ 30 - 31 ณ เกาะลิบง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นำประสบการณ์ที่ได้จากกิจกรรมการถอดบทเรียนประเด็นการเตรียมรองรับสังคมสูงวัยเพื่อพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพผ่านกระบวนการสมัชชาสุขภาพจังหวัดตรัง ประถ่ายทอดแก่สังคมผู้สูงวัยต่อไป เพื่อปรับใช้ในการดำเนินชีวิต

 

0 0

12. กิจกรรมย่อยที่ 1.6 ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 6

วันที่ 2 เมษายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

  1. แต่งตั้งคณะทำงาน
  2. สร้างความตระหนักและความสำคัญในการขับเคลื่อนเตรียมรองรับสังคมสูงวัย
  3. ติดตามประเมินผลการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. แกนนำได้เข้าร่วมประชุม
  2. ผู้รับผิดชอบโครงการได้ชี้แจงโครงการ สร้างความตระหนักและความสำคัญในการขับเคลื่อนเตรียมรองรับสังคมสูงวัย
  3. มีคณะทำงานเกิดขึ้น เป็นแกนนำในการขับเคลื่อนเตรียมรองรับสังคมสูงวัย

 

20 0

13. กิจกรรมที่ 5 ส่งเสริมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์กับผู้เชี่ยวชาญชีวิต

วันที่ 9 เมษายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

  1. สำรวจข้อมูลผู้เชี่ยวชาญชีวิตในเขตเทศบาลตำบลควนกุน
  2. กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กลุ่มเตรียมรองรับสังคมสูงวัยกับผู้เชี่ยวชาญชีวิต

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. มีข้อมูลผู้เชี่ยวชาญชีวิตในเขตเทศบาลตำบลควนกุน
  2. มีการทำกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ กลุ่มเตรียมรองรับสังคมสูงวัย กับผู้เชี่ยวชาญชีวิต
  3. กลุ่มผู้เตรียมรองรับสังคมสูงวัยได้รับความรู้ที่หลากหลาย นำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันของตนเอง

 

200 0

14. กิจกรรมย่อยที่ 1.7 ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 7

วันที่ 16 เมษายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

  1. แต่งตั้งคณะทำงาน
  2. สร้างความรู้ความตระหนักและความสำคัญในการขับเคลื่อนเตรียมรองรับสังคมสูงวัย
  3. ติดตามประเมินผลการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1, แกนนำได้เข้าร่วมประชุม 2. ผู้รับผิดชอบโครงการได้ชี้แจงโครงการ สร้างความตระหนักและความสำคัญในการขับเคลื่อนเตรียมรองรับสังคมสูงวัย 3. มีคณะทำงานเกิดขึ้น เป็นแกนนำในการขับเคลื่อนการเตรียมรองรับสังคมสูงวัย

 

20 0

15. กิจกรรมย่อยที่ 1.8 ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 8

วันที่ 23 เมษายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

  1. แต่งตั้งคณะทำงาน
  2. สร้างความรู้ความตระหนักและความสำคัญในการขับเคลื่อนเตรียมรองรับสังคมสูงวัย
  3. ติดตามประเมินผลการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. แกนนำได้เข้าร่วมประชุม
  2. ผู้รับผิดชอบโครงการได้ชี้แจงโครงการ สร้างความตระหนักและความสำคัญในการขับเคลื่อนเตรียมรองรับสังคมสูงวัย
  3. มีคณะทำงานเกิดขึ้น เป็นแกนนำในการขับเคลื่อนการเตรียมรองรับสังคมสูงวัย

 

20 0

16. กิจกรรมที่ 6 สรุปบทเรียนการดำเนินโครงการ

วันที่ 30 เมษายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

  1. จัดประชุมสรุปบทเรียน แก่กลุ่มเป้าหมาย และคณะทำงาน
  2. นำเสนอความสำเร็จผลลัพธ์การดำเนินงาน ปัญหาอุปสรรค บทเรียน และแนวทางการขับเคลื่อน การเตรียมรองรับสังคมสูงวัย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. มีการประชุมสรุปบทเรียน แก่กลุ่มเป้าหมายและคณะทำงาน
  2. มีการนำเสนอความสำเร็จ ผลลัพธ์ การดำเนินงาน ปัญหาอุปสรรค บทเรียน และแนวทางการขับเคลื่อนการเตรียมรองรับสังคมสูงวัย
  3. มีการนำเสนอในที่ประชุมใหญ่ระดับจังหวัด

 

30 0

17. กิจกรรมย่อยที่ 1.9 ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 9

วันที่ 7 พฤษภาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

  1. แต่งตั้งคณะทำงาน
  2. สร้างความรู้ความตระหนักและความสำคัญในการขับเคลื่อนเตรียมรองรับสังคมสูงวัย
  3. ติดตามประเมินผลการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. แกนนำได้เข้าร่วมประชุม
  2. ผู้รับผิดชอบโครงการได้ชี้แจ้งโครงการ สร้างความตระหนักและความสำคัญในการขับเคลื่อนเตรียมรองรับสังคมสูงวัย
  3. มีคณะทำงานเกิดขึ้น เป็นแกนนำในการขับเคลื่อนการเตรียมรองรับสังคมสูงวัย

 

20 0

18. กิจกรรมย่อยที่ 1.10 ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 10

วันที่ 21 พฤษภาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

  1. แต่งตั้งคณะทำงาน
  2. สร้างความรู้ความตระหนัก และความสำคัญในการขับเคลื่อนเตรียมรองรับสังคมสูงวัย
  3. ติดตามประเมินผลการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. แกนนำได้เข้าร่วมประชุม
  2. ผู้รับผิดชอบโครงการได้ชี้แจงโครงการ สร้างความตระหนักและความสำคัญในการขับเคลื่อนเตรียมรองรับสังคมสูงวัย
  3. มีคณะทำงานเกิดขึ้น เป็นแกนนำในการขับเคลื่อนการเตรียมรองรับสังคมสูงวัย

 

20 0

19. ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผลลัพธ์และบทเรียนการดำเนินงาน ครั้งที่ 2 หน่วยจัดการจังหวัดที่มรจุดเน้นสำคัญ(Node Flagship)ประเด็นการเตรียมรองรับสังคมสูงวัย

วันที่ 9 ตุลาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผลลัพธ์และบทเรียนการดำเนินงาน ครั้งที่ 2 หน่วยจัดการจังหวัดที่มรจุดเน้นสำคัญ(Node Flagship)ประเด็นการเตรียมรองรับสังคมสูงวัย ณ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีตรัง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ผลลัพธ์และบทเรียนการดำเนินงาน  ประเด็นที่สำคัญในการเตียมรองรับสังคมสูงวัย และประสบการณ์ไปถ่ายทอดให้แก่สังคมผู้สูงวัยต่อไป

 

0 0

20. กิจกรรมที่ 7 กิจกรรมทำสื่อเพื่อเผยแพร่ผลงาน

วันที่ 9 ตุลาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

  1. จัดทำสื่อเผยแพร่ผลงาน VDO
  2. บันทึกลงแผ่น VDO เผยแพร่ต่อไป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. มีสื่อเผยแพร่ลงผลงานในรูป VDO
  2. มีการประชาสัมพันธ์กับกลุ่มเตรียมรองรับสังคมสูงวัยต่อประชาชนต่อไป

 

0 0

21. ค่าเปิดบัญชีธนาคาร

วันที่ 10 ตุลาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

คืนเงินผู้จัดโครงการค่าเปิดบัญชีธนาคาร

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คืนเงินผู้จัดโครงการค่าเปิดบัญชีธนาคาร

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจในการเตรียมเข้าสู่สังคมสูงวัย
ตัวชี้วัด : 1.1มีคณะทำงานที่มีความรู้ความเข้าใจเป็นแกนนำในการขับเคลื่อนการเตรียมรองรับสังคมสูงวัย 1.2 มีข้อมูลกลุ่มเป้าหมายเตรียมรองรับสังคมสูงวัยทต.ควนกุน 1.3 มีข้อมูลผู้เชี่ยวชาญชีวิตทต.ควนกุน 1.4กลุ่มเป้าหมายมีความเข้าใจการเตรียมรองรับสังคมสูงวัยร้อยละ 80 1.5 กลุ่มเป้าหมายเตรียมรองรับสังคมสูงวัยมีการสมัครเป็นสมาชิกกองทุนสวัสดิการตำบล เพิ่มขึ้นร้อยละ 20 1.6กลุ่มเป้าหมายเตรียมรองรับสังคมสูงวัยมีการออมในรูปแบบต่าง ๆเช่น การออมเงิน เพิ่มขึ้นร้อยละ 20 1.5 กลุ่มเป้าหมายเตรียมรองรับสังคมสูงวัยสุขภาพดีขึ้นร้อยละ 20 1.7มีแผนงานโครงการที่เกี่ยวข้องกับการเตรียมรองรับสังคมสูงวัยในแผนพัฒนาท้องถิ่นและหรือกองทุนสุขภาพตำบล
1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 200
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มคนอายุ 40-59 ปี 150
ผู้สูงอายุและผู้ดูแลผู้สูงอายุทั่วไป 50

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจในการเตรียมเข้าสู่สังคมสูงวัย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ส่วนที่ สสส.สนับสนุนเพิ่มเติม (เบิกจ่ายตามจริง และเมื่อเหลือจะต้องคืนให้กับ สสส. เมื่อสิ้นสุดโครงการ) (2) กิจกรรมที่ 2การรวบรวม สำรวจข้อมูลเตรียมรองรับสังคมสูงวัย ทต.ควนกุน 2 ครั้ง (3) กิจกรรมที่ 1 สร้างความเข้มแข็งและองค์ความรู้ให้แกนนำในการขับเคลื่อนเตรียมรองรับสังคมสูงวัยทต.ควนกุน ประชุมคณะทำงาน 10 ครั้ง (4) กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมส่งเสริมการเตรียมรองรับสังคมสูงวัย (5) บัญชีธนาคาร (6) กิจกรรมปฐมนิเทศโครงการเตรียมรองรับสังคมสูงวัย (7) กิจกรรมย่อยที่ 1.1 ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 1 (8) กิจกรรมย่อยที่ 2.1 การรวบรวม สำรวจข้อมูลเตรียมรองรับสังคมสูงวัย ทต.ควนกุน ครั้งที่ 1 (9) กิจกรรมที่ 3 ส่งเสริมพัฒนาความรู้เตรียมรองรับสังคมสูงวัยด้านสุขภาพ (10) ค่าจัดทำป้ายเขตปลอดบุหรี่และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และป้ายชื่อโครงการ สสส. สำหรับติดในสถานที่จัดกิจกรรม (11) กิจกรรมย่อยที่ 1.2 ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 2 (12) กิจกรรมที่ 4 ส่งเสริมพัฒนาความรู้เตรียมรองรับสังคมสูงวัยด้านการออม (13) ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อจัดทำรายงาน ส.1 และ ง.1 ผ่านระบบ www.happynetwork.org (14) ค่าอินเตอร์เน็ตเพื่อจัดทำรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบออนไลน์งวดที่ 1(30ก.ค.-29พ.ย.63) (15) ค่าอินเตอร์เน็ตเพื่อจัดทำรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบออนไลน์งวดที่ 3(30เม.ย.63-29พ.ค.64) (16) ค่าจัดทำชุดนิทรรศการแสดงผลการดำเนินงานในเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้โครงการ (17) การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ความก้าวหน้าการดำเนินงานครั้งที่ 1 ประเด็นเตรียมรองรับสังคมสูงวัย (18) กิจกรรมย่อยที่ 1.3 ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 3 (19) กิจกรรมย่อยที่ 1.4 ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 4 (20) กิจกรรมย่อยที่ 1.5 ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 5 (21) การถอดบทเรียนประเด็นการเตรียมรองรับสังคมสูงวัยเพื่อพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพผ่านกระบวนการสมัชชาสุขภาพจังหวัดตรัง (22) กิจกรรมย่อยที่ 2.2 การรวบรวม สำรวจข้อมูลเตรียมรองรับสังคมสูงวัย ทต.ควนกุน ครั้งที่ 2 (23) กิจกรรมย่อยที่ 1.6 ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 6 (24) กิจกรรมที่ 5 ส่งเสริมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์กับผู้เชี่ยวชาญชีวิต (25) กิจกรรมย่อยที่ 1.7 ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 7 (26) กิจกรรมย่อยที่ 1.8 ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 8 (27) กิจกรรมที่ 6 สรุปบทเรียนการดำเนินโครงการ (28) กิจกรรมย่อยที่ 1.9 ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 9 (29) การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ความก้าวหน้าการดำเนินงานครั้งที่ 2 ประเด็นเตรียมรองรับสังคมสูงวัย (30) กิจกรรมย่อยที่ 1.10 ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 10 (31) ค่าอินเตอร์เน็ตเพื่อจัดทำรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบออนไลน์งวดที่ 3(30พ.ย.63-29เม.ย.64) (32) กิจกรรมที่ 7 กิจกรรมทำสื่อเพื่อเผยแพร่ผลงาน (33) ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผลลัพธ์และบทเรียนการดำเนินงาน ครั้งที่ 2 หน่วยจัดการจังหวัดที่มรจุดเน้นสำคัญ(Node Flagship)ประเด็นการเตรียมรองรับสังคมสูงวัย (34) ค่าเปิดบัญชีธนาคาร

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการเตรียมรองรับสังคมสูงวัยเทศบาลตำบลควนกุน

รหัสโครงการ 63001740023 ระยะเวลาโครงการ 30 กรกฎาคม 2563 - 10 ตุลาคม 2564

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

มีการรวมกลุ่มของชมรมผู้สูงอายุ และการจัดกิจกรรมเตรียมรองรับสังคมสูงวัย

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

มีการดูแลสุขภาพส่วนบุคคล

รายงานการตรวจสุขภาพของกลุ่มเป้าหมายรายบุคคล

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

มีการจัดกิจกรรมทางกายของชมรมผู้สูงอายุ

ภาพถ่ายการออกกำลังกายของชมรม

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

กิจกรรมการแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ของกลุ่มเป้าหมายและผู้เชี่ยวชาญชีวิต

ภาพถ่ายการจัดกิจกรรม

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

มีกิจกรรมการออมของชมรมผู้สูงอายุ

สมุดบัญชีการออมของสมาชิก

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

การปลูกผักสวนครัว รั้วกินได้ของสมาชิกชมรมผู้สูงอายุ

ภาพถ่ายผักสวนครัว รั้วกินได้

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

มีการอบรมการปรับสภาพบ้านให้ช่าง และกลุ่มเป้าหมายในโครงการ

ภาพถ่ายการเข้าอบรมในโครงการ

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

กิจกรรมพืชผักสวนครัวรั้วกินได้

ภาพถ่ายการจัดกิจกรรม

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

มีกฎ กติกา ของชมรมผู้สูงอายุเกี่ยวกับการจัดการสุขภาพ

เอกสารกฎ กติกา ของชมรมผู้สูงอายุ

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

มีการมอบรางวัลในชมรมผู้สูงอายุ สุขภาพดีเด่น

ภาพถ่ายการมอบรางวัล

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

มีธรรมนูญโรงเรียนผู้สูงอายุ ที่มีเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับการเตรียมรองรับสังคมสูงวัย

เอกสารธรรมนูญโรงเรียนผู้สูงอายุ

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

มีการเชื่อมโยงเครือข่าย กับหน่วยจัดการระดับจังหวัดของ สสส.

ภาพถ่ายการจัดกิจกรรมร่วมกัน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

การจัดประชุมการถอดบทเรียน เพื่อประเมินปัญหาที่เกิดขึ้น และบทเรียนที่ดีที่ได้ระหว่างการจัดทำโครงการ

เอกสารการถอดบทเรียน และภาพถ่ายการจัดกิจกรรม

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

การจัดประชุมร่วมกันระหว่าง ท้องถิ่น รพสต. เครือข่ายภาคประชาชน เพื่อดำเนินโครงการร่วมกัน

ภาพถ่าย และเอกสารบันทึกการประชุม

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

มีการดำเนินงานของชมรมผู้สูงอายุ ที่ขับเคลื่อนงานเตรียมรองรับสังคมสูงวัยในพื้นที่

ภาพถ่ายการจัดกิจกรรม และรายงานประชุม

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

มีการจัดการประเมินผลลัพธ์ระหว่างการจัดทำโครงการ (ARE) ที่ทำให้ทุกคนได้ร่วมเรียนรู้การจัดการโครงการร่วมกัน

ภาพถ่ายการจัดกิจกรรม และสรุปการถอดบทเรียน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

เกิดทักษะการประเมินเชิงคุณภาพ และเชิงประมาณ รวมทั้งเทคนิคการเขียนโครงการในโครงการ ที่มีการจัดอบรมให้คณะทำงาน

ภาพถ่ายการจัดกิจกรรม และผลการดำเนินงาน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการเตรียมรองรับสังคมสูงวัยเทศบาลตำบลควนกุน จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 63001740023

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสุธน โข้ยนึ่ง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด