แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)
เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator) | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต (Output) | ผลลัพธ์ (Outcome) | ผลกระทบ (Impact) | อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ | |
---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อให้กลไกขับเคลื่อนป่าร่วมยางได้อย่างเข้มแข็ง ตัวชี้วัด : 1. มีกลไกคณะทำงานอย่างน้อย 15 คน ที่สามารถขับเคลื่อนได้อย่างต่อเนื่อง มีการแบ่งบทบาท ความร่วมคิด ร่วมทำ วิเคราะห์ปัญหาทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และได้รับการยอมรับ 2. เครือข่ายอนุรักษ์พันธุ์กรรมพืชในป่ายางอย่างน้อย 1 เครือข่าย ขับเคลื่อนป่าร่วมยางมีการขยายไปสู่ชาวสวนยาง |
1.00 |
|
|
|
||
2 | 2.เพื่อให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสู่ระบบป่าร่วมยางครบวงจร ตัวชี้วัด : 1.ชาวสวนยางมีความรู้และความตระหนักความสำคัญของป่าร่วมยาง 2. เกิดครัวเรือนปรับเปลี่ยนการปลูกยางพาราเพียงอย่างเดียวสู่พืชร่วมยางที่มีพืชอย่างน้อย 5 ประเภทไม่น้อยกว่า 30 ครัวเรือน พื้นที่อย่างน้อย 60 ไร่ 3. มีระบบการกระจายพืชผักและผลผลิตที่ได้จากป่าร่วมยาง มีตลาดทางเลือกจำนวน 2 ตลาด 4.มีแผนการแลกเปลี่ยนแบ่งปันผลผลิตในระดับชุมชนและนอกชุมชนเพื่อสร้างคุณค่าและมูลค่าให้กับป่าร่วมยาง พร้อมขับเคลื่อนแลกเปลี่ยนแบ่งปันผลผลิต |
1.00 |
|
|
|
||
3 | 3. มีป่าร่วมยางยั่งยืนเป็นพื้นที่ผลิตอาหารปลอดภัยเพิ่มขึ้น ตัวชี้วัด : 1. เกิดพื้นที่ป่าร่วมยางในจังหวัดพัทลุงไม่น้อยกว่า 60 ไร่ 2. ผู้เข้าร่วมโครงการมีรายได้จากการสร้างพื้นที่ป่าร่วมยางอย่างน้อย 1,000 บาทต่อเดือน 3.มีครัวเรือนอย่างน้อย 30 ครัวเรือนมีอาหารปลอดภัยบริโภคในครัวเรือนเพิ่มขึ้นสามารถลดรายจ่ายในครัวเรือนอย่างน้อยเดือนละ 300 บาท |
1.00 |
|
|
|