แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
Node Flagship จังหวัดพัทลุง
“ โครงการการฟื้นคืนชีวิตชาวสวนยางด้วยวิถีป่าร่วมยางยั่งยืน บ้านควนอินนอโม ”
ตำบลตะโหมด อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นายก่อเกียรติ บุญพน
ชื่อโครงการ โครงการการฟื้นคืนชีวิตชาวสวนยางด้วยวิถีป่าร่วมยางยั่งยืน บ้านควนอินนอโม
ที่อยู่ ตำบลตะโหมด อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 65-00232-0024 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2565 ถึง 30 เมษายน 2566
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการการฟื้นคืนชีวิตชาวสวนยางด้วยวิถีป่าร่วมยางยั่งยืน บ้านควนอินนอโม จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตะโหมด อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ Node Flagship จังหวัดพัทลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการการฟื้นคืนชีวิตชาวสวนยางด้วยวิถีป่าร่วมยางยั่งยืน บ้านควนอินนอโม
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการการฟื้นคืนชีวิตชาวสวนยางด้วยวิถีป่าร่วมยางยั่งยืน บ้านควนอินนอโม " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตะโหมด อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 65-00232-0024 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2565 - 30 เมษายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 105,000.00 บาท จาก Node Flagship จังหวัดพัทลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ
บทคัดย่อ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ผลลัพธ์ที่ได้
การประเมินผล
ปัญหาและอุปสรรค
ข้อเสนอแนะ
เอกสารประกอบอื่นๆ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันยางพาราเข้าครอบครองพื้นที่ทําการเกษตรอย่างต่อเนื่อง ข้อมูลพื้นที่ปลูกยางพาราของสถาบันวิจัยยาง ปีพ.ศ. 2558 รายงานว่า ประเทศไทยมีพื้นที่ปลูกยางทั้งสิ้น 18,761,231 ไร่ ประกอบด้วย พื้นที่ปลูกยางของภาคใต้จํานวน 11,906,882 ไร่ รองลงมาคือ พื้นที่ปลูกยางพาราของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จํานวน 3,477,303 ไร่ ภาคตะวันออกรวมกับภาคกลาง จํานวน 2,509,644 ไร่ ส่วนภาคเหนือพื้นที่ปลูกยางพาราน้อยที่สุด จํานวน 867,402 ไร่ พื้นที่ปลูกยางทั้งหมดของประเทศที่กล่าวถึง มีจํานวน พื้นที่ซึ่งเปิดกรีดไปแล้ว จํานวนรวมทั้งสิ้น 10,896,957 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 85 ของพื้นที่ปลูกยางทั้งหมด ในจํานวนนี้ให้ผลผลิตเฉลี่ย 282 กิโลกรัม/ไร่/ปี อย่างไรก็ตามพื้นที่ปลูกยางของประเทศไทยยังมีอัตราที่ เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้เนื่องมาจากสภาวะวิกฤติน้ำมันเชื้อเพลิง มีส่วนชาวยางสร้างโอกาสให้กับยางธรรมชาติขึ้นมาอยู่เหนือยางเทียม อย่างไม่คาดคิด ความต้องการยางธรรมชาติในเชิงอุตสาหกรรมจึงสูงขึ้น ช่วยฉุดให้ราคายางพาราสูงตาม ส่งผลให้พื้นที่ปลูกยางพารา ขยายตัวเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว นอกจากป่าบนพื้นที่สูงจะถูกแทนที่ด้วย สวนยางพาราแล้ว บริเวณที่ราบลุ่มที่เคยเป็นพืชไร่ วันนี้ยังถูกแทนที่ด้วยยางพาราจํานวนไม่น้อย ทั้งๆ ที่ผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่จะต่ำมากก็ตาม เมื่อรวมพื้นที่ปลูกยางพาราของทั้งจังหวัดสงขลา จังหวัด พัทลุง และจังหวัดนครศรีธรรมราช พบว่ามีพื้นที่ปลูกยาง ทั้งสิ้นประมาณ 3,430,422 ไร่ ในจํานวนพื้นที่นี้พบว่ามีพื้นที่ป่าอนุรักษ์รวมอยู่ด้วยจํานวนหนึ่ง จากข้อมูลภาพถ่ายทางอากาศเมื่อปี พ.ศ. 2545 ซึ่งกรมทรัพยากรป่าไม้ลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา ได้รายงาน โดยอ้างจากรายงานโครงการจัดทําแผนแม่บทการพัฒนาลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรและสิ่ง - แวดล้อม ปีพ.ศ. 2548 พบว่าพื้นที่ป่าอนุรักษ์ได้ถูกบุกรุกประมาณ 23,618 ตารางกิโลเมตร ซึ่งพื้นที่เหล่านี้ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ในเขตลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา ที่ครอบคลุมบางส่วนของจังหวัดสงขลา จังหวัด พัทลุง และจังหวัดนครศรีธรรมราช การรุกป่าเพื่อเปลี่ยนเป็นพื้นที่การเกษตร สืบเนื่องจากพื้นที่เดิม ดินเกิดสภาวะเสื่อมโทรมส่งผลให้ผลผลิตลดจํานวนลง การแก้ปัญหาของเกษตรกรวิธีที่ง่ายที่สุดก็คือการขยายพื้นที่ปลูก เพื่อให้ ผลิตต่อไร่คงที่หรือเพิ่มมากขึ้น แต่ด้วยไม่มีพื้นที่ว่างเปล่าเหลืออยู่ เกษตรกรจึงเลือกที่จะรุกเข้าไปทําแปลงเกษตรในพื้นที่อนุรักษ์ซึ่งส่วนใหญ่อยู่ในบริเวณพื้นที่ต้นน้ำ แต่ด้วยถูกปลูกฝังมาให้ยึดติดกับระบบเกษตรกระแสหลักที่ยึดเอาเทคโนโลยีเป็นตัวตั้ง เกษตรกรจึงทําเกษตร ในระบบการปลูกพืชเชิงเดี่ยว ส่งผลให้สวนยางพาราทั้งหมดในทุกพื้นที่ เป็นสวนยางพาราเชิงเดี่ยวทั้งสิ้น ในมิติที่เป็นประโยชน์ของการจัดการ เกษตรกรรมระบบนี้เกษตรกรจะได้ค่าตอบแทนสูง แต่จะชักนําให้ต้นทุนสูงตามไปด้วย ทั้งนี้เพราะต้องวิ่งตามเทคโนโลยีไปตลอดไม่ สิ้นสุด ในทางกลับกันหากพิจารณาในมิติความยั่งยืนของการจัดการเชิงเดี่ยวที่ปลูกในที่พื้นที่เดิมต่อเนื่องกันประมาณ 3 รอบ ใช้เวลา ประมาณ 60 ปีหรือมากกว่า จะพบว่าอัตราการเจริญเติบโตของต้น ยางพาราจะค่อยๆ ลดขนาดลงตามลําดับ ส่งผลให้ต้นยางพารามี เปลือกบางลง และให้น้ํายางน้อย เนื่องจากดินในแปลงปลูกพืช เชิงเดี่ยวเสื่อมคุณภาพลง ด้วยเพราะเกิดการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของดิน ทั้งทางด้านกายภาพ เคมีและชีววิทยา ที่สืบเนื่องมาจากการ ใช้ปุ๋ยเคมีและสารเคมีในแปลงปลูกยางพาราเป็นเวลายาวนาน
ส่งผลกระทบก่อให้เกิดความเสื่อมโทรมของดิน ทําให้เศษซากดังกล่าว ตกค้างอยู่ในดินยาวนานกว่าที่ควรจะเป็น ขณะเดียวกันกลไกดังกล่าว มีส่วนสนับสนุนให้ผิวอนุภาคดินมีไฮโดรเจนไอออนจับเกาะในปริมาณ มากขึ้น จึงไม่ใช้เรื่องแปลกที่ดินจะค่อยๆพัฒนาไปสู่ความเป็นกรดขึ้น อย่างต่อเนื่อง การเสื่อมของคุณภาพดินยังสร้างผลกระทบกับวงจรธาตุ อาหารของระบบนิเวศทั้งระบบ เช่น วงจรของธาตุไนโตรเจน ฟอสฟอรัสและธาตุอาหารอื่น วงจรธาตุอาหารดังกล่าวจะถูกตัดตอน ให้ขาดเป็นช่วงๆ ระบบนิเวศของดินในพื้นที่ปลูกยางพาราจึงขับเคลื่อน วงจรธาตุอาหารลดประสิทธิภาพลงอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้ขาดธาตุ อาหารจําพวกไนโตรเจนในดินลดจํานวนลง ส่วนฟอสฟอรัสแม้จะยังมี อยู่ก็มิอาจใช้ประโยชน์ได้เนื่องจากไม่ได้อยู่ในรูปของฟอสเฟตที่ละลายน้ำได้ด้วยเพราะดินเป็นกรด ดินที่ขาดธาตุอาหารหรือมีธาตุอาหารแต่อยู่ในรูปที่ใช้ ประโยชน์ไม่ได้ จัดเป็นดินที่เสื่อมความอุดมสมบูรณ์พืชที่อาศัยอยู่ใน ดินลักษณะดังกล่าวจึงเติบโตได้น้อยและให้ผลผลิตต่ำ ทางออกของ เกษตรกรอย่างง่าย ก็คือการนําเข้าธาตุอาหารดังกล่าวสู่ดินมากขึ้นตามลําดับ แต่อย่างไรก็ตามแม้ว่าจะเพิ่มปุ๋ยเคมีลงไปเท่าใดก็หาเป็น ประโยชน์ไม่ เพราะดินที่เป็นกรดทําให้ธาตุอาหารฟอสฟอรัสไม่แตกตัว เป็นไอออน โดยจะอยู่ในรูปสารประกอบของโลหะเป็นส่วนใหญ่ รากพืชจึงไม้สามารถนําเข้าเพื่อใช้ประโยชน์ได้
ดังนั้นแม้ว่าเกษตรกรจะเพิ่มปุ๋ยเคมีลงไปในดินมาก สักเพียงใด ก็จะไม่เกิดประโยชน์กับต้นยางพารา ด้วยเพราะไม่ สามารถนําธาตุอาหารชนิดนี้เข้าสู่รากเพื่อส่งต่อไปยังส่วนต่างๆของ เนื้อเยื่อที่ได้รับคําสั่งมา สุดท้ายก็จะเกิดสภาวะขาดแคลนธาตุอาหาร เมื่อหันกลับมาพิจารณามิติของการปลูกยางพาราเชิง บูรณาการ ที่อาจเป็นการใช้พืชหลายชนิดปลูกแซม ป่าร่วมยาง หรืออาจพัฒนาให้ ซับซ้อนสู่การสร้างสังคมพืช จะพบว่าวิธีนี้เป็นวิธีที่สอดคล้องกับ ธรรมชาติเนื่องจากมีส่วนช่วยให้โครงสร้างของดิน ทั้งทางกายภาพ เคมีและชีววิทยา ได้มีการพัฒนาตนเองไปสู่การสร้างสัดส่วนขององค์ประกอบของโครงสร้างของดินให้เหมาะสม เช่น หากดินมีสภาพ ทางกายภาพที่มีช่องว่างระหว่างเม็ดดินติดต่อเชื่อมโยงถึงกันทั้งหมด ก็จะช่วยให้อากาศแพร่ผ่านลงไปในดินได้ลึกมากขึ้น ขณะเดียวกันช่วย ให้คาร์บอนไดออกไซด์ที่ถูกกักเก็บสามารถแพร่ออกจากดินสู่ บรรยากาศได้ไม่ยุ่งยาก รากพืชก็จะทําหน้าที่ได้สมบูรณ์ขึ้น ทุกครั้งที่ฝนตก หากดินมีช่องว่างระหว่าง อนุภาคดินติดต่อ เชื่อมโยงเป็นเครือข่ายถึงกันอย่างเป็นระบบ การระบายน้ำลงสู่ดินชั้น ล่างจะกระทําได้อย่างมีประสิทธิภาพ จะไม่มีน้ำถูกกักขังอยู่ระหว่างช่องว่างอนุภาคดิน ส่งผลให้รากพืชไม่เครียดเพราะขาดออกซิเจน สําหรับหายใจ เมื่อดินสามารถกักอากาศเอาไว้ในช่องว่างระหว่าง อนุภาคดินได้มาก ก็จะมีไนโตรเจนสําหรับให้ จุลินทรีย์ตรึงเพื่อ เปลี่ยนเป็นไนเตรต ขณะเดียวกันก็มีปริมาณออกซิเจนเพียงพอสําหรับ ให้รากพืช สัตว์ในดิน และจุลินทรีย์ใช้ในการหายใจเพื่อสร้างพลังงาน หากการสร้างพลังงานไม่ติดขัด การขับเคลื่อนวิถีภายในระบบชีวิตของ แต่ละสรรพชีวิตก็จะสะดวกและคล่องตัว ส่งผลให้สภาวะแวดล้อมของ ดินดีขึ้น สภาวะเช่นว่านี้จะสนับสนุนให้เกิดการชักนําให้สรรพชีวิตอื่นๆ ในที่อยู่อาศัยอื่น ได้อพยพเข้ามามากขึ้นตามลําดับ หากเป็นเช่นนี้ได้ก็ จะช่วยให้ดินพัฒนาไปสู่สุขภาวะอย่างต่อเนื่อง
ในธรรมชาติพัฒนาการ ของสังคมพืชได้ให้ ความสําคัญ กับความ หลากหลายของพันธุกรรม ทั้งพืช สัตว์และจุลินทรีย์ ได้ส่วนร่วมในการทําหน้าที่ อ ย่างเป็นระบบ กรอบ ความคิด ดังกล่าวมีสวน สนับสนุนให้เครื่องจักรมีชีวิต ในดินแต่ละภาคส่วนได้ทําหน้าที่สนับสนุนการ ขับเคลื่อนวงจรธาตุอาหาร ให้เคลื่อนตัวไดเร็วขึ้น และขยายเครือขยายสู่วงกว้างมากขึ้น ทําให้มีปุ๋ยธรรมชาติคืนกลับสู่ดิน เพียงพอสําหรับการเฉลี่ยและแบ่งปันกัน ผลลัพธ์ก็คือความแข็งแรง ของระบบนิเวศที่จะทยอยคืนกลับมาอย่างช้าๆ แต่มั่นคง สุดท้าย ระบบเกษตรเช่นว่านี้จะก้าวย่างสู่มิติของความยั่งยืน หากเราสร้างกรอบคิดการปลูกยางพารา โดยอาศัยหลักการ และเหตุผลดังกล่าวข้างต้น ก็จะมี ส่วนช่วยให้สังคมพืชป่ายางพารา ได้ปรับตัวจากความเปราะบางสู่ความแข็งแรงของระบบ แม้ว่าจะมี การคุกคามที่ทําให้เกิดภาวะเครียด จากตัวแปรใดๆ ก็ตาม สรรพชีวิต ก็สามารถปรับตัวโดยอาศัยกลไกการป้องกันตัวเอง ช่วยแก้ปัญหา ทั้ง การแก้ปัญหาเฉพาะส่วนตัวหรือการแก้ปัญหาแบบมีส่วนร่วม เช่น จุลินทรีย์กลุ่มหนึ่งอาจช่วยกันแย่งชิงอาหาร หรือตัวรับอิเล็กตรอน ของจุลินทรีย์ก่อโรค ทําให้จุลินทรีย์ก่อโรคขาดอาหาร หรือพลังงาน สุดท้ายจุลินทรีย์ก่อโรคจะค่อยๆ ลดจํานวนประชากรลงตามลําดับอย่างต่อเนื่อง และหายไปในที่สุดโดยเกษตรกรไม่ต้องพึ่งพาสารเคมี ที่เป็นพิษแต่อย่างใด สังคมพืชสวนยางพารา มองดูก็คล้ายกับสังคมพืชใน ป่าดิบชื้น เพียงแต่มีจํานวน เรือนยอดของพืชเสมือนร่ม ขนาดและรูปแบบที่ซ่อน เหลื่อมในแนวดิ่งจํานวนน้อย กว่า แต่จํานวนที่น้อยกว่านี้ก็ สามารถทําหน้าที่ช่วยดูดซับ และสะท้อนรังสีอัลตราไวโอเลตไม่ให้กระทบกับประชากร ของจุลินทรีย์โดยตรง ทั้งนี้เพื่อให้เครื่องจักรที่มีชีวิตเหล่านี้ได้ทําหน้าที่ ผลิตอินทรียวัตถุ และช่วยคืนกลับธาตุอาหารให้กับดินผ่านกลไกของ การย่อยสลายเพื่อส่งต่อให้กับพืช ทํานองเดียวกันธรรมชาติยังได้ ออกแบบให้โปรโตซัว คอยทําหน้าที่ควบคุมประชากรของแบคทีเรีย ไม่ให้เพิ่มจํานวนเร็วมากเกินไป ทั้งนี้เพื่อความสอดคล้องกับปริมาณใบ พืชที่ร่วงหล่น รวมทั้งเศษซากพืชที่มีจํานวนสอดคล้องกับประชากร ของสัตว์กินซาก
ข้อมูลที่กล่าวมาข้างต้นทั้งหมด ล้วนบ่งชี้ให้เห็นว่าระบบ เกษตรเชิงเดี่ยวในบริเวณพื้นที่ป่าต้นน้ำ น่าจะเป็นจุดเริ่มต้นของ ประเด็นปัญหาหลายๆ ประเด็นที่สัมพันธ์และเชื่อมโยงกันอย่างเป็น ระบบ จากต้นน้ำสู่ปลายน้ำ และรายทาง ก่อให้เกิดผลกระทบกับ สรรพชีวิตที่เป็นส่วนประกอบของโครงสร้างระบบนิเวศ ภายใต้ระบบ ธรรมชาติที่ซับซ้อน หากประสงค์จะแก่ปัญหาดังกล่าวจะต้องมองให้ ครบทุกมิติหลังจากนั้นจึงเริ่มต้นแก้ปัญหาแบบมีส่วนร่วมโดยเริ่มที่ต้นน้ำ แล้วเชื่อมโยงสู่กลางน้ำและปลายน้ำอย่างเป็นระบบ ถึงจะทํา ให้ทุกข์ของสรรพสิ่งของลุ่มน้ําค่อยๆ คลี่คลายลงอย่างมีพัฒนาการ
ดังนั้นในการขับเคลื่อนส่งเสริมฟื้นชีวิตคืนเศรษฐกิจชาวสวนยางพัทลุงด้วยกระบวนการพัฒนาสวนยางเป็นพื้นที่พืชร่วมยาง ผลลัพธ์ของการดำเนินงาน เกิดเครือข่ายป่าร่วมยางยั่งยืน สมาชิกในเครือข่ายได้ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผลกระทบของยางเชิงเดี่ยวและการใช้สารเคมีที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม ทำให้มีชาวสวนยางจำนวน 54 ครอบครัว ปรับเปลี่ยนเข้าสู่ระบบป่ายางยั่งยืน มีการปลูกพืชแซมในสวนยาง โดยในการขับเคลื่อนงานนั้นการดำเนินงานได้อย่างต่อเนื่อง ได้มีกลไกขับเคลื่อน “คณะทำงานป่าร่วมยาง” มีคณะทำงานจำนวน 20 คน มีแกนนำหลักในการขับเคลื่อนและการบริหารจัดการจำนวน 6 คน ที่ได้มีส่วนร่วมในการร่วมคิด ร่วมทำ และสามารถวิเคราะห์แก้ปัญหาได้ ได้มีการแบ่งบทบาทการทำงาน และรับผิดชอบตามที่ได้รับมอบหมาย มีกติกาข้อตกลง ได้ทำตามข้อตกลงและสมาชิกในเครือข่ายยอมรับและเข้าร่วม สำหรับแกนนำบางส่วนใหม่กระบวนการทำงานเป็นทีมยังขาดทักษะความชำนาญในเรื่องการบริหารจัดการและการขับเคลื่อนงานแบบมีส่วนร่วม การทำงานได้รับความร่วมมือและสนับสนุนจากภาคีความร่วมมือ เนื่องได้มีกระบวนการร่วมในกิจกรรม และแปลงรูปธรรมต้นแบบทำให้ได้รับความยอมรับ และเห็นความตั้งใจร่วมแรงร่วมใจของเครือข่ายฯ เช่น เทศบาลตำบลลำสินธุ์ ธกส. สปก.พัทลุง
เกิดวิชาต้องไม่พาตาย ถ่ายทอดความรู้ของชุมชนสู่คนรุ่นใหม่ มีเยาวชนคนรุ่นใหม่ได้เรียนรู้และนำความรู้ที่ได้ไปใช้ ในการเพาะกล้าไม้ การขยายพันธุ์พืชที่เหมาะสมกับพืชแต่ละชนิด ที่สามารถขยายพันธุ์พืชสำหรับเตรียมปลูกร่วมในป่าร่วมยาง เกิดธนาคารพันธุ์พืช มีโรงเรือนเพาะและขยายพันธุ์พืชจำนวน 16 โรง มีระบบการกระจายแบ่งปันให้กับสมาชิก และมีรายได้จากการจำหน่ายพันธุ์กล้าไม้ให้กับคนที่สนใจเพิ่มความหลายหลายในแปลง ส่งผลให้ธนาคารพันธุ์พืชมีความเติบโต และมีพันธุ์กล้าไม้ที่เหมาะสมในการปลูกรวมในสวนยางแต่ละระยะจำนวน 30 ชนิด นอกจากนี้ผลผลิตในแปลงที่ปลูก หรือที่เว้นไว้ในส่วนยางมีระบบการรวบรวมและจัดการกระจายผลผลิต และบริโภคในครัวเรือน มีการเพิ่มมูลค่านำพืชใช้ประโยชน์อาหาร ใช้สอย ไม้ประดับ เพิ่มรายได้ให้กับชาวสวนยาง ซึ่งเฉลี่ยมีรายได้เพิ่มขึ้นเดือนละ 1,000 บาท มีระบบตลาด ระบบร้านค้าชุมชน ศูนย์เรียนรู้พันธุกรรมพืชตำบลลำสินธุ ซึงจากการดำเนินการนั้น ทางกลุ่มวิสาหกิจชุมชนคนเกษตร ผลผลิตที่นำมานั้นยังสร้างคุณค่าและเพิ่มมูลค่าพืชร่วมในสวนยางนั้นยังมีน้อย
ช่องว่างในกระบวนการดำเนินงานในการจัดการกระบวนการขับเคลื่อนของกลไกเครือข่ายที่สามารถดำเนินการขับเคลื่อนงานได้ คณะทำงานร้อยกว่า 50 ของคณะทำงานมีความตั้งใจและสามารถขับเคลื่อนงานได้ แต่มีร้อยละ 50 นั้นขาดทักษะความชำนาญในการบริหารจัดการและขับเคลื่อนงาน หรือบางคนมีการแบ่งเวลาไม่เหมาะสมกับการดำเนินชีวิต มีการปรับเปลี่ยน
มีกระบวนการทำซ้ำเพื่อเติมส่วนช่องว่างของโมเดลป่าร่วมยางยังยืนที่ยังไม่สมบูรณ์ โดยเฉพาะในการเก็บข้อมูลตัวชี้วัดผลลัพธ์ยังไม่ครบถ้วน และการวิเคราะห์ข้อมูลยังไม่ชัดเจน และทดสอบเพิ่มความมั่นใจโมเดล ในการขยายพื้นที่ป่าร่วมยางยั่งยืนคืนชีวิตชาวสวนยางพัทลุง ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี มีสุขภาวะ
ด้วยเหตุนี้ กลุ่มวิถีชุมชนคนเกษตรร่วมกับกลุ่มเครือข่ายคนอินทรีย์วิถีเมืองลุง จึงได้จัดทำโครงการฟื้นคืนชีวิตชาวสวนยางด้วยวิถีป่าร่วมยางยั่งยืน เพื่อปรับกระบวนทัศน์ในการทำสวนยางพาราของคนเมืองลุงให้เปลี่ยนจากระบบพืชเชิงเดี่ยวไปสู่ระบบพืชร่วมยางขึ้น รวมถึงสร้างและพัฒนากลไกเครือข่ายภาคประชาชน เกษตรกรคนเล็กคนน้อยในชุมชนพัทลุง ให้รู้และตระหนักถึงการพิษภัยของการใช้สารเคมีทางการเกษตร เพื่อยกระดับเป็นโมเดลการจัดการป่าร่วมยางยั่งยืน เป็นแนวทางหนึ่งที่นำไปสู่เมืองโดยมีเป้าหมายสำคัญในการร่วมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์จังหวัดของภาคประชาชนในการสร้างพัทลุงให้เป็นเมืองสีเขียวเกษตรกรชาวสวนยางมีรายได้ที่มั่นคง และมีความมั่นคงทางด้านอาหาร
เพื่อให้โมเดลป่าร่วมยางยั่งยืน นำไปสู่การขยายผลต่อไปได้ ในปีที่ 2 มีแนวทางในการขับเคลื่อนป่าร่วมยางเพื่อมีปรับเปลี่ยนของชาวสวนยางเข้าสู่ระบบป่าสวนยางยังยืนที่เหมาะสมกับพื้นที่ใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น กระบวนการปลูก การจัดจัดการผลผลิตเชื่อมร้อยแลกเปลี่ยนระหว่างผู้ผลิตและผู้บริโภค มีกระบวนการพัฒนากลไกขับเคลื่อนและพัฒนาศักยภาพแกนนำให้สามารถขับเคลื่อนงานมีคณะทำงานที่อย่างเข้มแข็ง ร่วมคิด ร่วมวิเคราะห์ ประเมินการดำเนินงาน แก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสม และขับเคลื่อนงานให้บรรลุตามเป้าหมายและวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ได้ พัฒนากลไกเครือข่ายให้มีกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้แบ่งปันพันธุ์พืช ผลผลิต ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน กระบวนการในการยกระดับพัฒนาระบบตลาด ตลาดนัดชุมชน แบ่งปันพืชผัก อาหารปลอดภัย งานจักสาน ซึ่งใช้วัสดุจากป่าร่วมยาง และพัฒนาระบบตลาดออนไลน์ มีกระบวนการเพิ่มเติมความรู้ในการจัดการและบรรจุ การขนส่งที่มีคุณภาพที่ดี ส่งเสริมการนำผลผลิตจากป่าร่วมยางสร้างรายได้ เสริมแรงให้ชาวสวนยางปรับเปลี่ยนเข้าสู่ระบบป่ายางยังยืน สนับสนุนครัวเรือนอยางน้อยง 50 ครัวเรือนในการทำป่าร่วมยางเพิ่มพื้นที่ป่าร่วมยางในจังหวัดพัทลุง และถอดบทเรียน โมเดลคืนชีวิตชาวสวนยางด้วยระบบป่าร่วมยางยั่งยืน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้กลไกขับเคลื่อนป่าร่วมยางได้อย่างเข้มแข็ง
- 2.เพื่อให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสู่ระบบป่าร่วมยางครบวงจร
- 3. มีป่าร่วมยางยั่งยืนเป็นพื้นที่ผลิตอาหารปลอดภัยเพิ่มขึ้น
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ชื่อกิจกรรมที่ 1 อบรมคณะทำงาน ครั้งที่ 1
- กิจกรรม ที่เข้าร่วมกับหน่วย สสส.
- ชื่อกิจกรรมที่ 2 เรียนรู้สร้างความเข้าใจ
- ชื่อกิจกรรมที่ 3 ศึกษาดูงาน
- ชื่อกิจกรรมที่ 4 สรุปผลจากการศึกษาดูงานและวิธีการดำเนินการ
- ชื่อกิจกรรมที่ 1 อบรมคณะทำงาน
- ชื่อกิจกรรมที่ 5 วางแผนการจัดการแปลง
- ชื่อกิจกรรมที่ 8 เรียนรู้การทำปุ๋ยหมักแทนการใช้สารเคมี
- ชื่อกิจกรรมที่ 9 เรียนรู้การทำน้ำหมักแทนการใช้สารเคมี
- ถอนคืนเงินเปิดบัญชีธนาคาร
- ชื่อกิจกรรมที่ 6 ส่งเสริมการจัดทำโรงเรือนเพาะชำพันธุ์พืช
- ชื่อกิจกรรมที่ 14 ARE พื้นที่ 2 ครั้ง
- ชื่อกิจกรรมที่ 7 เรียนรู้การขยายพันธ์พืช
- ชื่อกิจกรรมที่ 11 ติดตามแปลงป้าหมาย 2 ครั้ง
- ชื่อกิจกรรมที่ 12 เวทีเรียนรู้ผลการปฏิบัติงาน 2 ครั้ง
- ชื่อกิจกรรมที่ 10 การปฏิบัติการปลูก
- ชื่อกิจกรรมที่ 13 สร้างพื้นที่แบ่งปันผลผลิตทางการเกษตร
- ชื่อกิจกรรมที่ 15 สรุปผลการดำเนินโครงการ
- ค่าบริการอินเตอร์เน็ต
- ปฐมนิเทศโครงการ
- จัดทำป้ายโครงการ
- อบรมคณะทำงาน ครั้งที่ 2
- อบรมคณะทำงาน ครั้งที่ 3
- อบรมคณะทำงาน ครั้งที่ 4
- อบรมคณะทำงาน ครั้งที่ 5
- งานสมัชชา พัทลุง มหานครแห่งความสุข
- อบรมคณะทำงาน ครั้งที่ 6
- ARE พื้นที่ ครั้งที่ 1
- ARE พื้นที่ ครั้งที่ 2
- ประเมินผลเผื่อการเรียนรู้และพัฒนา AREร่วมกับหน่วยจัดการโครงการ 1
- อบรมคณะทำงาน ครั้งที่ 7
- อบรมคณะทำงาน ครั้งที่ 8
- อบรมคณะทำงาน ครั้งที่ 9
- อบรมคณะทำงาน ครั้งที่ 10
- อบรมคณะทำงาน ครั้งที่ 11
- อบรมคณะทำงาน ครั้งที่ 12
- ค่าบริการอินเตอร์เน็ต
- ประเมินผลเผื่อการเรียนรู็และพัฒนา AREร่วมกับหน่วยจัดการโครงการ
- สมัชชพัทลุงมหานครแห่งความสุข หิ้วชั้นมาชันชี2
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายรอง
136
กลุ่มเป้าหมายหลัก
34
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เกิดพื้นที่ป่าร่วมยางในจังหวัดพัทลุงไม่น้อยกว่า 60 ไร่
- ผู้เข้าร่วมโครงการมีรายได้จากการสร้างพื้นที่ป่าร่วมยางอย่างน้อย 1,000 บาทต่อเดือน
3.มีครัวเรือนอย่างน้อย 30 ครัวเรือนมีอาหารปลอดภัยบริโภคในครัวเรือนเพิ่มขึ้นสามารถลดรายจ่ายในครัวเรือนอย่างน้อยเดือนละ 300 บาท
4.ชาวสวนยางมีความรู้และความตระหนักความสำคัญของป่าร่วมยาง
- เกิดครัวเรือนปรับเปลี่ยนการปลูกยางพาราเพียงอย่างเดียวสู่พืชร่วมยางที่มีพืชอย่างน้อย 5 ประเภทไม่น้อยกว่า 30 ครัวเรือน พื้นที่อย่างน้อย 60 ไร่
- มีระบบการกระจายพืชผักและผลผลิตที่ได้จากป่าร่วมยาง มีตลาดทางเลือกจำนวน 2 ตลาด
7.มีแผนการแลกเปลี่ยนแบ่งปันผลผลิตในระดับชุมชนและนอกชุมชนเพื่อสร้างคุณค่าและมูลค่าให้กับป่าร่วมยาง พร้อมขับเคลื่อนแลกเปลี่ยนแบ่งปันผลผลิต
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ปฐมนิเทศโครงการ
วันที่ 9 พฤษภาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- เข้าร่วมประชุม กับหน่วยงาน สสส.
- ปฐมนิเทศ แนวทางการดำเนินโครงการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- อบรมเกี่ยวกับเอกสารที่ใช้ประกอบการรายงานผลโครงการ
- แนวทางการดำเนินงาน
- ทำบันทึกข้อตกลง







3
0
2. จัดทำป้ายโครงการ
วันที่ 25 พฤษภาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
จัดทำป้ายรณรงค์เขตปลอดบุหรี่และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
จัดทำป้ายรณรงค์เขตปลอดบุหรี่และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ขนาด 1.2*2.4 เมตร


0
0
3. ชื่อกิจกรรมที่ 1 อบรมคณะทำงาน ครั้งที่ 1
วันที่ 27 พฤษภาคม 2565 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ประสานคณะทำงาน ทำความเข้าใจเกี่ยวกับโครงการ
- จัดหาคณะทำงานในตำแหน่งต่างๆ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1 นายณัฐพงศ์ คงสง พี่เลี้ยงของโครงการ ได้เข้ามาทำความเข้าใจของโครงการกับคณะกรรมการแปลงใหญ่ยางพาราสหกรณ์กองทุนสวนยางบ้านควนอินนอโม จำกัด
2 ได้จัดเลือกคณะทำงาน ของโครงการ ดังต่อไปนี้
- นายก่อเกียรติ บุญพน ตำแหน่ง ผู้ประสานงานโครงการ
- นายบุญโชค เอียดเฉลิม ตำแหน่ง ผู้ประสานงานพื้นที่
- นางวิมล บัวมา ตำแหน่ง ผู้บันทึกข้อมูล
- นายดลเล๊าะ ทักษิณาวาณิชย์ ตำแหน่ง ฝ่ายการเงิน
- นางมาลี นันทสิน ตำแหน่ง ฝ่ายบัญชี



13
0
4. อบรมคณะทำงาน ครั้งที่ 2
วันที่ 8 มิถุนายน 2565 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.ประสานคณะทำงาน นำข้อมูลความก้าวหน้าการดำเนินงานแลกเปลี่ยนกำหนดแนวทางการดำเนินงาน
2. จัดประชุมเพื่อติดตามการดำเนินงาน ร่วมกันคิด วิเคราะห์ มีปัญหาร่วมหาทางแก้ปัญหา และกำหนดแนวทางการดำเนินงาน ขับเคลื่อนตามแผนปฏิบัติการ เพื่อบรรลุตามเป้าหมายวัตถุประสงค์ที่ได้กำหนดไว้
3. วางแผนการดำเนินการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- กรรมการได้กำหนดแนวทางการดำเนินงาน
- นัดวันจัดอบรมสมาชิก เป็นวันพฤหัสบดี ที่ 16 มิถุนายน 2565 3. กำหนดวันศึกษาดูงาน เป็นวันพฤหัสบดี ที่ 23 มิถุนายน 2565 ผู้เข้าร่วมประชุม - 13 คน



13
0
5. ชื่อกิจกรรมที่ 2 เรียนรู้สร้างความเข้าใจ
วันที่ 10 มิถุนายน 2565 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- นำสื่อ วิดีดีทัศน์ มาแสดงให้กับสมาชิกเพื่อเพิ่มความรู้ความเข้าใจ
- แนวคิดในการจัดทำโครงการ
- จัดหาสมาชิกเข้าร่วมโครงการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- สมาชิกมีความรู้ ความเข้าใจ แนวทางของโครงการมากยิ่งขึ้น
- สมาชิกได้นำเสนอให้มีการไปศึกษาดูงาน เพื่อเป็นแนวทางในการทำโครงการ จึงได้กำหนดวันที่ไปศึกษาดูงาน เป็นวันพฤหัสบดี ที่ 13 มิถุนายน 2565 ณ ศูนย์เรียนรู้พันธุกรรมพืช ต.ลำสินธุ์ อ.ศรีนครินทร์ จ.พัทลุง






39
0
6. ชื่อกิจกรรมที่ 3 ศึกษาดูงาน
วันที่ 23 มิถุนายน 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ศึกษาดูงานเพื่อหาแนวทางในการจัดทำป่าร่วมยาง
- หาแนวคิดเพื่อมาปรับเปลี่ยนให้เหมาะสมกับตัวเอง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- สมาชิกมีแนวคิด และมีความรู้ เพื่อนำมาปรับใช้ให้เหมาะสมกับพื้นที่ของตัวเอง
- กำหนดวันที่จะสรุปผลจาการไปศึกษาดูงาน เป็นวันพฤหัสบดีที่ 29 มิถุนายน 2565










30
0
7. ชื่อกิจกรรมที่ 4 สรุปผลจากการศึกษาดูงานและวิธีการดำเนินการ
วันที่ 29 มิถุนายน 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- แลกเปลี่ยนข้อมูลที่ได้จากการ ศึกษาดูงาน
- วางแผนการปลูก
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1 สมาชิกนำเสนอความรู้ แนวทางที่ได้จากการศึกษาดูงาน
2 นำแนวคิดที่ได้จาการศึกษาดูงานมาหาแนวทาง เพื่อปรับใช้ใช้ให้เหมาะสมกับพื้นที่ของสมาชิกแต่ละคน




30
0
8. อบรมคณะทำงาน ครั้งที่ 3
วันที่ 15 กรกฎาคม 2565 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.ประสานคณะทำงาน นำข้อมูลความก้าวหน้าการดำเนินงานแลกเปลี่ยนกำหนดแนวทางการดำเนินงาน
2. จัดประชุมเพื่อติดตามการดำเนินงาน ร่วมกันคิด วิเคราะห์ มีปัญหาร่วมหาทางแก้ปัญหา และกำหนดแนวทางการดำเนินงาน ขับเคลื่อนตามแผนปฏิบัติการ เพื่อบรรลุตามเป้าหมายวัตถุประสงค์ที่ได้กำหนดไว้
3. วางแผนการดำเนินการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1 นายก่อเกียรติ บุญพน ได้นำเสนอความก้าวหน้าของโครงการ และขอฟังความคิดเห็นจากผู้เข้าร่วมประชุม เกี่ยวกับการดำเนินโครงการ
2. ได้วางแผนการดำเนินการขั้นต่อไป



13
0
9. อบรมคณะทำงาน ครั้งที่ 4
วันที่ 9 สิงหาคม 2565 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.ประสานคณะทำงาน นำข้อมูลความก้าวหน้าการดำเนินงานแลกเปลี่ยนกำหนดแนวทางการดำเนินงาน
2. จัดประชุมเพื่อติดตามการดำเนินงาน ร่วมกันคิด วิเคราะห์ มีปัญหาร่วมหาทางแก้ปัญหา และกำหนดแนวทางการดำเนินงาน ขับเคลื่อนตามแผนปฏิบัติการ เพื่อบรรลุตามเป้าหมายวัตถุประสงค์ที่ได้กำหนดไว้
3. วางแผนการดำเนินการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.ประสานคณะทำงาน นำข้อมูลความก้าวหน้าการดำเนินงาน
2. ติดตามการดำเนินงาน วิเคราะห์ มีปัญหาร่วมหาทางแก้ปัญหา และกำหนดแนวทางการดำเนินงาน ขับเคลื่อนตามแผนปฏิบัติการ
3. วางแผนการดำเนินการของเดือนถัดไป


13
0
10. อบรมคณะทำงาน ครั้งที่ 5
วันที่ 1 กันยายน 2565 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.ประสานคณะทำงาน นำข้อมูลความก้าวหน้าการดำเนินงานแลกเปลี่ยนกำหนดแนวทางการดำเนินงาน
2. จัดประชุมเพื่อติดตามการดำเนินงาน ร่วมกันคิด วิเคราะห์ มีปัญหาร่วมหาทางแก้ปัญหา และกำหนดแนวทางการดำเนินงาน ขับเคลื่อนตามแผนปฏิบัติการ เพื่อบรรลุตามเป้าหมายวัตถุประสงค์ที่ได้กำหนดไว้
3. วางแผนการดำเนินการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- คณะทำงาน นำข้อมูลความก้าวหน้าการดำเนินงานแลกเปลี่ยนกำหนดแนวทางการดำเนินงาน
- ติดตามการดำเนินงาน ร่วมกันคิด วิเคราะห์ มีปัญหาร่วมหาทางแก้ปัญหา และกำหนดแนวทางการดำเนินงาน
- วางแผนการดำเนินการ เดือนถัดไป


13
0
11. งานสมัชชา พัทลุง มหานครแห่งความสุข
วันที่ 12 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
กำหนดกา จัดงานสมัชชาพัทลุงมหานครแห่งความสุข ภายใต้โครงการการขับเคลื่อนแผนชุมชนสู่การพัฒนาท้องถิ่นแบบบูรราการ วันจันทร์ที่ ๑๒ กันยายน พ.ศ. ๑๕๖๕ ณ หอประชุมจังหวัดพัทลุง อำเภอเมืองลุง จะงหวัดพัทลุง ๐๘.๓๐ - ๐๙.๐๐ น. ลงทะเบียน/รับเอกสาร ๐๙.๐๐ - ๐๙.๑๕ น. การแสดงเปิดงานด้วยชุดการแสดงมโนราห์ จากนักเรียนโรงเรียนอุบลรัตนราชกัญญาราชวิทยาลัย พัทลุง ๐๙.๑๕ - ๐๙.๓๐ น. กล่าวต้อนรับผู้ร่วมงาน โดยนายวิสุทธิ์ ธรรมเพชร นายกองค์กรบริการส่วนจังหวัดพัทลุง ๐๙๓๐ - ๑๐.๐๐ น. รับชมวีดีทัศน์ความเป็นมาของสภาขับเคลื่อนพัทลุงมหานครแห่งความสุข และนำเสนอผลการดำเนินงานชองประเด็นการขับเคลื่อนพัทลุงใหานาครแห่งความสุข ๘ ประเด็น ดังนี้ ประเด็นที่ ๑ ออกแบบระบบการศึกษาเพื่อเสริมสร้างศักยภาพของผู้เรียนเพื่อสร้างพลเมืองผู้ตื่นรู้ ประเด็นที่ ๒ สร้างเศรษฐกิจเกื้อกูล ประเด็นที่ ๓ ออกแบบระบบการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเพื่อสร้างระบบนิเวศที่ยั่งยื่น ประเด็นที่ ๔ จังหวัดอาหารปลอดภัยและรักษาพันธุ์พืช/สร้างจุดเด่นด้านสมุนไพรและการดูแลสุขภาพชุมชน ประเด็นที่ ๕ การสร้างความมั่นคงของชุมชน ( สวัสิการชุมชนและที่อยู่อาศัย )
ประเด็นที่ ๖ ประวัติศาสตร์ ภูมิปัญญา ประเพณีวัฒนธรรม ประเด็นที่ ๗ ออกแบบพื้นที่พิเศษของจังหวัดพัทลุง ประเด็นที่ ๘ สร้างการท่องเที่ยวที่ยั่งยืน ๑๐.๐๐ - ๑๒.๐๐ น. ผู้เข้าร่วมงานร่วมแลกเปลี่ยนความรู้ ให้ขอเสนอแนะต่อผู้แทนประเด็นทั้ง ๘ ประเด็น ณ ลานเวทีการเรียนรู้พัทลุงมหานครแห่งความสุข ๑๒.๐๐ - ๑๓.๐๐ น. รับประทานอาหารกลางวันร่วมกันในบรรยากาศ คนเมืองลุงหิ้วชั้นมาชันชี ๑๓.๐๐ - ๑๓.๑๕ น. ตะลุง talk show ว่าด้วยโหม๋เรามาร่วมสร้างเมืองลุงแห่งความสุข ๑๓.๑๕ - ๑๔.๐๐ น. เวที่กลางถกแถลงเพื่อหาฉันทามติข้อเสนอเชิงนโยบายสาธารณะ โดยกระบวนการมีสวนร่วมในการขับเคลื่อนพัทลุงมหานครแห่งความสุข ๑๔.๐๐ - ๑๕.๐๐ น. ผู้แทนภาคีเครือข่ายร่วมแสดงเจตจำนงในการสนับสนุนการขับเคลื่อนพัทลุงมหานครแห่งความสุข - ภาครัฐ โดย ผู็ว่าราชการจังหวัดพัทลุง - ภาควิชาการ โดย อธิการบดีมหาวิทยาลัยทักษิณ และรองอิการบดีสถาบันการเรียนรู้เพื่อปวงชน - ภาคท้องถิ่น โดย นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดพัทลุง - เครือข่ายสมัชชาสุขภาพ โดย เลขาธฺการ๕ณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ - เครือข่ายองค์กรชุมชน โดย ผู้อำนวยการสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน ภาคใต้ - ภาคเอกชน โดย ประธานหอการค้าจังหวัดพัทลุง - เครือข่ายภาคธุรกิจ โดย ประธานเครือข่ายผู้ประกอบการท่องเที่ยวจังหวัดพัทลุง ๑๕.๐๐ - ๑๕.๐๐ น. พิธีประกาศปฏิญญาความร่วมือเพื่อร่วมมือเพื่อสร้างพัทลุงมหานครแห่งความสุข
หมายเหตุ ๑ ขอความร่วมมือ ผู็เข้าร่วมงานนำปิ่นโตมาร่วมงานด้วย ตาม CONCEPT คนเมืองลุงหิ้วชั้นมาชันชี ๒ กำหนดการอาจเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม ๓ พักรัประธานอาการว่างและเครื่องดื่ม - ช่วงเช้า เวลา ๑๐.๐๐ - ๑๐.๑๕ น. - ช่วงบ่าย เวลา ๑๔.๓๐ - ๑๔.๔๕ น.
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต มีกรรมการร่วมกิจกรรมจำนวน5คน ผลลัพธ์ ได้เรียนรู้การทำงานขับเคลื่อนพัทลุงภายใต้แผนงานการทำงานตามประเด็น8ประเด็น









4
0
12. ถอนคืนเงินเปิดบัญชีธนาคาร
วันที่ 30 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ถอนคืนเงินเปิดบัญชีธนาคาร
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ถอนคืนเงินเปิดบัญชีธนาคาร
0
0
13. อบรมคณะทำงาน ครั้งที่ 6
วันที่ 5 ตุลาคม 2565 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.ประสานคณะทำงาน นำข้อมูลความก้าวหน้าการดำเนินงานแลกเปลี่ยนกำหนดแนวทางการดำเนินงาน
2. จัดประชุมเพื่อติดตามการดำเนินงาน ร่วมกันคิด วิเคราะห์ มีปัญหาร่วมหาทางแก้ปัญหา และกำหนดแนวทางการดำเนินงาน ขับเคลื่อนตามแผนปฏิบัติการ เพื่อบรรลุตามเป้าหมายวัตถุประสงค์ที่ได้กำหนดไว้
3. วางแผนการดำเนินการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- คณะทำงาน นำข้อมูลความก้าวหน้าการดำเนินงาน
- ติดตามการดำเนินงาน ร่วมกันคิด วิเคราะห์ มีปัญหาร่วมหาทางแก้ปัญหา และกำหนดแนวทางการดำเนินงาน
- นัดวันจัดทำโรงเพาะชำ เป็นที่ 6 ตุลาคม 2565
- วางแผนการดำเนินการ เดือนถัดไป


13
0
14. ชื่อกิจกรรมที่ 5 วางแผนการจัดการแปลง
วันที่ 10 ตุลาคม 2565 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ประชุมร่วมกัน เพื่อวางแผนการปลูกพืชร่วมสวนยาง ว่าแต่ละคนมีพื้นที่เท่าไหร่ และพื้นที่มีลักษณะเป็นอย่างไร
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ข้อมูลที่ได้จากการวางแผนจัดการแปลง เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ แต่ละคน มีพื้นที่แตกต่างกัน บางคนพื้นราบและบางคนลาดเอียง


30
0
15. ชื่อกิจกรรมที่ 6 ส่งเสริมการจัดทำโรงเรือนเพาะชำพันธุ์พืช
วันที่ 22 ตุลาคม 2565 เวลา 07:00 น.กิจกรรมที่ทำ
จัดหาวัสดุอุปกรณ์ในการทำโรงเพาะชำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
โรงเรือนเพาะชำพันธ์พืช











5
0
16. ประเมินผลเผื่อการเรียนรู้และพัฒนา AREร่วมกับหน่วยจัดการโครงการ 1
วันที่ 10 พฤศจิกายน 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
8.30 -09.00 น. ลงทะเบียน 09.00-09.30 น. กิจกรรม กลุ่มสัมพันธ์และนำเสนอวีดีทัศน์พื้นที่เด่น 09.30-12.00 น. แบ่งกลุ่ม ทบทวนผลลัพธ์รายประเด็นและแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับภาคียุทธศาสตร์ กลุ่มที่ 1 ประเด็นน้ำเสีย ภาคียุทธศาสตร์ ทสจ.พัทลุง เทศบาลเมืองพัทลุง กลุ่มที่ 2 ประเด็นการจัดการขยะ ภาคียุทธศาสตร์ ทสจ.พัทลุง ท้องถิ่นจังหวัด อบจ. กลุ่มที่ 3 ประเด็นนาปลอดภัย ภาคียุทธศาสตร์ เกษตรจังหวัดพัทลุง พัฒนาที่ดิน ศูนย์วิจัยข้าว กลุ่มที่ 4 ประเด็นพืชร่วมยาง ภาคียุทธศาสตร์ เกษตรจังหวัดพัทลุง กยท. พัทลุง สปก. พัฒนาที่ดิน เกษตรและสหกรณ์ฯ กลุ่มที่ 5 ประเด็นการจัดการทรัพยากรชายฝั่ง ภาคียุทธศาสตร์ ทสจ.พัทลุง ม.ทักษิณ ประมงจังหวัดพัทลุง ทช5 หน่วยเรือตรวจ อบจ.พัทลุง 12.00-13.00 น. รับประทานอาหารกลางวันร่วมกัน 13.00-14.00 น. แลกเปลี่ยนเรียนรู้กระบวนการดำเนินโครงการในประเด็น - การจัดทำรายงานผ่านระบบออนไลน์ - การบริหารจัดการทีมคณะทำงาน - การเชื่อมโยงการทำงานกับภาค๊ -การจัดการด้านการเงิน 14.00-14.30 น. สรุปผลการประชุม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
-




















0
0
17. อบรมคณะทำงาน ครั้งที่ 7
วันที่ 11 พฤศจิกายน 2565 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.ประสานคณะทำงาน นำข้อมูลความก้าวหน้าการดำเนินงานแลกเปลี่ยนกำหนดแนวทางการดำเนินงาน 2. จัดประชุมเพื่อติดตามการดำเนินงาน ร่วมกันคิด วิเคราะห์ มีปัญหาร่วมหาทางแก้ปัญหา และกำหนดแนวทางการดำเนินงาน ขับเคลื่อนตามแผนปฏิบัติการ เพื่อบรรลุตามเป้าหมายวัตถุประสงค์ที่ได้กำหนดไว้ 3. วางแผนการดำเนินการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.ประสานคณะทำงาน นำข้อมูลความก้าวหน้าการดำเนินงาน
2. ติดตามการดำเนินงาน วิเคราะห์ มีปัญหาร่วมหาทางแก้ปัญหา และกำหนดแนวทางการดำเนินงาน ขับเคลื่อนตามแผนปฏิบัติการ
3. วางแผนการดำเนินการของเดือนถัดไป


13
0
18. อบรมคณะทำงาน ครั้งที่ 8
วันที่ 9 ธันวาคม 2565 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.ประสานคณะทำงาน นำข้อมูลความก้าวหน้าการดำเนินงานแลกเปลี่ยนกำหนดแนวทางการดำเนินงาน 2. จัดประชุมเพื่อติดตามการดำเนินงาน ร่วมกันคิด วิเคราะห์ มีปัญหาร่วมหาทางแก้ปัญหา และกำหนดแนวทางการดำเนินงาน ขับเคลื่อนตามแผนปฏิบัติการ เพื่อบรรลุตามเป้าหมายวัตถุประสงค์ที่ได้กำหนดไว้ 3. วางแผนการดำเนินการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.ประสานคณะทำงาน นำข้อมูลความก้าวหน้าการดำเนินงานแลกเปลี่ยนกำหนดแนวทางการดำเนินงาน 2. จัดประชุมเพื่อติดตามการดำเนินงาน ร่วมกันคิด วิเคราะห์ มีปัญหาร่วมหาทางแก้ปัญหา และกำหนดแนวทางการดำเนินงาน ขับเคลื่อนตามแผนปฏิบัติการ เพื่อบรรลุตามเป้าหมายวัตถุประสงค์ที่ได้กำหนดไว้ 3. วางแผนการดำเนินการ



13
0
19. ชื่อกิจกรรมที่ 10 การปฏิบัติการปลูก
วันที่ 2 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ลงมือปลูก
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
สมาชิกปฏิบัตการปลูก



30
0
20. อบรมคณะทำงาน ครั้งที่ 9
วันที่ 11 มกราคม 2566 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.ประสานคณะทำงาน นำข้อมูลความก้าวหน้าการดำเนินงานแลกเปลี่ยนกำหนดแนวทางการดำเนินงาน 2. จัดประชุมเพื่อติดตามการดำเนินงาน ร่วมกันคิด วิเคราะห์ มีปัญหาร่วมหาทางแก้ปัญหา และกำหนดแนวทางการดำเนินงาน ขับเคลื่อนตามแผนปฏิบัติการ เพื่อบรรลุตามเป้าหมายวัตถุประสงค์ที่ได้กำหนดไว้ 3. วางแผนการดำเนินการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.ประสานคณะทำงาน นำข้อมูลความก้าวหน้าการดำเนินงาน
2. ติดตามการดำเนินงาน วิเคราะห์ มีปัญหาร่วมหาทางแก้ปัญหา และกำหนดแนวทางการดำเนินงาน ขับเคลื่อนตามแผนปฏิบัติการ
3. วางแผนการดำเนินการของเดือนถัดไป


13
0
21. ชื่อกิจกรรมที่ 7 เรียนรู้การขยายพันธ์พืช
วันที่ 15 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
อบรมการเพาะชำพันธุ์พืช
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
สมาชิกนำพืชที่เพาะชำไปใช้ปลูกเพิ่มในสวน จากพืชที่ปลูกอยู่เดิม



30
0
22. อบรมคณะทำงาน ครั้งที่ 10
วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.ประสานคณะทำงาน นำข้อมูลความก้าวหน้าการดำเนินงานแลกเปลี่ยนกำหนดแนวทางการดำเนินงาน 2. จัดประชุมเพื่อติดตามการดำเนินงาน ร่วมกันคิด วิเคราะห์ มีปัญหาร่วมหาทางแก้ปัญหา และกำหนดแนวทางการดำเนินงาน ขับเคลื่อนตามแผนปฏิบัติการ เพื่อบรรลุตามเป้าหมายวัตถุประสงค์ที่ได้กำหนดไว้ 3. วางแผนการดำเนินการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.ประสานคณะทำงาน นำข้อมูลความก้าวหน้าการดำเนินงาน
2. ติดตามการดำเนินงาน วิเคราะห์ มีปัญหาร่วมหาทางแก้ปัญหา และกำหนดแนวทางการดำเนินงาน ขับเคลื่อนตามแผนปฏิบัติการ
3. วางแผนการดำเนินการของเดือนถัดไป


13
0
23. อบรมคณะทำงาน ครั้งที่ 11
วันที่ 10 มีนาคม 2566 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.ประสานคณะทำงาน นำข้อมูลความก้าวหน้าการดำเนินงานแลกเปลี่ยนกำหนดแนวทางการดำเนินงาน 2. จัดประชุมเพื่อติดตามการดำเนินงาน ร่วมกันคิด วิเคราะห์ มีปัญหาร่วมหาทางแก้ปัญหา และกำหนดแนวทางการดำเนินงาน ขับเคลื่อนตามแผนปฏิบัติการ เพื่อบรรลุตามเป้าหมายวัตถุประสงค์ที่ได้กำหนดไว้ 3. วางแผนการดำเนินการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.ประสานคณะทำงาน นำข้อมูลความก้าวหน้าการดำเนินงาน
2. ติดตามการดำเนินงาน วิเคราะห์ มีปัญหาร่วมหาทางแก้ปัญหา และกำหนดแนวทางการดำเนินงาน ขับเคลื่อนตามแผนปฏิบัติการ
3. วางแผนการดำเนินการของเดือนถัดไป




13
0
24. อบรมคณะทำงาน ครั้งที่ 12
วันที่ 28 เมษายน 2566 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.ประสานคณะทำงาน นำข้อมูลความก้าวหน้าการดำเนินงานแลกเปลี่ยนกำหนดแนวทางการดำเนินงาน 2. จัดประชุมเพื่อติดตามการดำเนินงาน ร่วมกันคิด วิเคราะห์ มีปัญหาร่วมหาทางแก้ปัญหา และกำหนดแนวทางการดำเนินงาน ขับเคลื่อนตามแผนปฏิบัติการ เพื่อบรรลุตามเป้าหมายวัตถุประสงค์ที่ได้กำหนดไว้ 3. วางแผนการดำเนินการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.ประสานคณะทำงาน นำข้อมูลความก้าวหน้าการดำเนินงาน
2. ติดตามการดำเนินงาน วิเคราะห์ มีปัญหาร่วมหาทางแก้ปัญหา และกำหนดแนวทางการดำเนินงาน ขับเคลื่อนตามแผนปฏิบัติการ
3. วางแผนการดำเนินการของเดือนถัดไป
4. จัดทำหนังสือขยาย เวลาโครงการ



13
0
25. ค่าบริการอินเตอร์เน็ต
วันที่ 30 เมษายน 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
จ่ายค่าบริการอินเตอร์เน็ต
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
-



0
0
26. ชื่อกิจกรรมที่ 11 ติดตามแปลงป้าหมาย 2 ครั้ง
วันที่ 1 พฤษภาคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ลงสำรวจ ติดตาม แปลงเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
สำรวจข้อมูลการปลูกพืชของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ จำนวน 2 ครั้ง
ครั้งแรก ลงสำรวจวันที่ 3 ก.พ. 2566
-เกษตกรได้ดำเนินการปลูกเรียบร้อย
-มีการวางแผนการปลูกเป็นสัดส่วน
-มีเกษตกรเข้าร่วม จำนวน 30 คน
- มีพื้นที่ 60 ไร่
ครั้งที่สอง ลงสำรวจวันที่ 1 พ.ค. 2566
- พืชที่ลงปลูกไปในรอบแรกความเสียจากอุทกภัย แต่เกษตกรได้ดำเนินการปลูกใหม่เรียบร้อย
-เกษตกรบางรายสามารถนำพืชมาสร้างรายได้ให้เกิดขึ้นได้แล้ว
ติดตามการปลูกพืช ของสมาชิก




30
0
27. ชื่อกิจกรรมที่ 12 เวทีเรียนรู้ผลการปฏิบัติงาน 2 ครั้ง
วันที่ 5 พฤษภาคม 2566 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำ
แลกเปลี่ยนข้อมูลซึ่งกันและกัน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
เวทีเรียนรู้ผลการปฏิบัติงาน 2 ครั้ง
1. วันที่ 6 ก.พ. 2566
- คณะกรรมการได้นำข้อมูลที่ลงสำรวจมาแจ้งให้กับเกษตกรที่เข้าร่วมโครงการทราบ
- แลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างเกษตกร
2. วันที่ 5 พ.ค. 2566
- คณะกรรมการได้นำข้อมูลที่ลงสำรวจมาแจ้งให้กับเกษตกรที่เข้าร่วมโครงการทราบ
- แลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างเกษตกร
- นำปัญหาที่เกิดมา วิเคราะห์และหาแนวทางแก้ไขร่วมกัน



30
0
28. ARE พื้นที่ ครั้งที่ 1
วันที่ 23 พฤษภาคม 2566 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำ
แลกเปลี่ยนข้อมูลการดำเนินการที่ผ่านมา
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ปญ.สกย.บ้านควนอินนอโม จำกัด
1 จำนวนสมาชิกที่เข้าร่วมโครงการ 30 คน
2. จำนวนพื้นที่ 60 กว่าไร่
3. จำนวนคณะทำงาน 15 คน
และอื่นๆ




28
0
29. ประเมินผลเผื่อการเรียนรู็และพัฒนา AREร่วมกับหน่วยจัดการโครงการ
วันที่ 30 พฤษภาคม 2566 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำ
09.00 หน่วยจัดชี้แจงวัตถุประสงการจัดกิจกรรม 09.30 กิจกรรมสร้งความสัมพันธ์ 10.00 แบ่งกลุ่มตามประเด็นนำเสนอผลการทำงานจากแต่ละพื้นที่ 11.30 สรุปผลการคุยในกลุ่มย่อย 12.00 พักเที่ยง 13.00 แบ่งกลุ่มย่อ
14.30 สรุปผลกลุ่มย่อย 15.00 สรุปผลการจัดกิจกรรม ปิดประชุม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต มีคณะทำงานโครงการจำนวน3คนเข้าร่วมกิจกรรม ผลลัพธ์ ผู้ร่วมกิจกรรมได้ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผลการดำเนินงานของแต่ละพื้นที่ร่วมกัน และได้ฝึกทักษะการพูดคุยในที่ประชุม











0
0
30. ชื่อกิจกรรมที่ 8 เรียนรู้การทำปุ๋ยหมักแทนการใช้สารเคมี
วันที่ 17 มิถุนายน 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
จัดอบรมการทำปุ๋ยหมักแทนการใช้สารเคมี
จัดทำปุ๋ยหมัก เพื่อให้เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการนำไปใช้
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
เกษตรกรได้ปุ๋ยหมัก คน 3 กระสอบ







30
0
31. ชื่อกิจกรรมที่ 9 เรียนรู้การทำน้ำหมักแทนการใช้สารเคมี
วันที่ 20 มิถุนายน 2566 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำ
จัดทำน้ำหมักเพื่อไล่แมลงแทนการใช้สารเคมี
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
สมาชิกได้รับน้ำหมักไปใช้แทนการใช้สารเคมี







30
0
32. ARE พื้นที่ ครั้งที่ 2
วันที่ 21 มิถุนายน 2566 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำ
แลกเปลี่ยนข้อมูลการดำเนินการที่ผ่านมา
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ปญ.สกย.บ้านควนอินนอโม จำกัด
1 จำนวนสมาชิกที่เข้าร่วมโครงการ 30 คน
2. จำนวนพื้นที่ 60 กว่าไร่
3. จำนวนคณะทำงาน 15 คน
และอื่นๆ



28
0
33. ชื่อกิจกรรมที่ 13 สร้างพื้นที่แบ่งปันผลผลิตทางการเกษตร
วันที่ 25 มิถุนายน 2566 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.ร่วมกันหาแนวทาง การวางแผนการตลาด
2. รวมกลุ่ม จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ผลผลิตที่เกิดขึ้น
3. กำหนดแผนการตลาด
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
วางแผนแนวทางการจำหน่ายผลผลิต
มี 2 แนวทาง คือ พ่อค้าคนกลางกับรวบรวมเพื่อจำหน่ายผลผลิต




28
0
34. ชื่อกิจกรรมที่ 15 สรุปผลการดำเนินโครงการ
วันที่ 25 กรกฎาคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
จัดเวทีสรุปผลการดำเนินการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
สรุปผลการดำเนินโครงการ
1 จำนวนสมาชิก 30 คน
2. จำนวนพื้นที่ 60กว่าไร่
3. เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้นจากการจำหน่ายพืช


56
0
35. สมัชชพัทลุงมหานครแห่งความสุข หิ้วชั้นมาชันชี2
วันที่ 15 สิงหาคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ตามที่ส านักสร้างสรรค์โอกาส (ส านัก 6) ส านักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
ได้สนับสนุนกระบวนการให้เครือข่ายภาคประชาสังคมที่ท างานเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพชุมชนในนาม
หน่วยจัดการที่มีจุดเน้นส าคัญทางยุทธศาสตร์ (Node flagship) จังหวัดพัทลุง เป็นผู้ด าเนินการหนุนเสริม กระบวนการสร้างความเข้มแข็งของเครือข่ายภาคประชาสังคมในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด
ซึ่งในส่วนของหน่วยจัดการระดับ flagship พัทลุงนั้นก าหนดเป้าหมายการขับเคลื่อนงานสู่ “Phatthalung
Green City” ในการนี้หน่วยจัดการจังหวัดระดับ flagship พัทลุง ได้เชื่อมโยงการท างานกับภาคีทั้งในระดับพื้นที่
และระดับจังหวัด และร่วมกับองค์การบริหารส่วนจังหวัดพัทลุง จัดงาน สมัชชาพัทลุงมหานครแห่งความสุข
ครั้งที่ 2 “คนเมืองลุงหิ้วชั้นมาชันชี เพื่อก าหนดอนาคตตนเอง” โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อน าเสนอการด าเนินงาน ของภาคีต่างๆ และเชื่อมโยงการด าเนินงานสู่การขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วม เพื่อให้จังหวัด พัฒนาเป็นมหานครแห่งความสุขของคนพัทลุง ดังนั้น เพื่อให้การด าเนินการของหน่วยจัดการที่มีจุดเน้นส าคัญทางยุทธศาสตร์ (Node flagship)
จังหวัดพัทลุง เป็นไปด้วยความเรียบร้อย บรรลุวัตถุประสงค์จึงขอเชิญท่านในฐานะผู้รับผิดชอบโครงการ
พร้อมด้วย คณะท างานอีก 2 ท่าน เข้าร่วมเรียนรู้ในงานสมัชชาพัทลุงมหานครแห่งความสุข ครั้งที่ 2 ในวันที่
15 สิงหาคม 2566 เวลา 09.00 – 16.30 น. ณ หอประชุมเฉลิมพระเกียรติ มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขต พัทลุง ทั้งนี้ขอความร่วมมือท่านน าปิ่นโตมาร่วมงานด้วนท่านละ 1 ปิ่นโต โดยทางผู้จัดงานรับผิดชอบ ค่าใช้จ่ายปิ่นโตละ 100 บาท ส าหรับค่าเดินทางเข้าร่วมงานสามารถเบิกจากได้จากงบประมาณโครงการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
-




0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อให้กลไกขับเคลื่อนป่าร่วมยางได้อย่างเข้มแข็ง
ตัวชี้วัด : 1. มีกลไกคณะทำงานอย่างน้อย 15 คน ที่สามารถขับเคลื่อนได้อย่างต่อเนื่อง มีการแบ่งบทบาท ความร่วมคิด ร่วมทำ วิเคราะห์ปัญหาทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และได้รับการยอมรับ
2. เครือข่ายอนุรักษ์พันธุ์กรรมพืชในป่ายางอย่างน้อย 1 เครือข่าย ขับเคลื่อนป่าร่วมยางมีการขยายไปสู่ชาวสวนยาง
1.00
2
2.เพื่อให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสู่ระบบป่าร่วมยางครบวงจร
ตัวชี้วัด : 1.ชาวสวนยางมีความรู้และความตระหนักความสำคัญของป่าร่วมยาง
2. เกิดครัวเรือนปรับเปลี่ยนการปลูกยางพาราเพียงอย่างเดียวสู่พืชร่วมยางที่มีพืชอย่างน้อย 5 ประเภทไม่น้อยกว่า 30 ครัวเรือน พื้นที่อย่างน้อย 60 ไร่
3. มีระบบการกระจายพืชผักและผลผลิตที่ได้จากป่าร่วมยาง มีตลาดทางเลือกจำนวน 2 ตลาด
4.มีแผนการแลกเปลี่ยนแบ่งปันผลผลิตในระดับชุมชนและนอกชุมชนเพื่อสร้างคุณค่าและมูลค่าให้กับป่าร่วมยาง พร้อมขับเคลื่อนแลกเปลี่ยนแบ่งปันผลผลิต
1.00
3
3. มีป่าร่วมยางยั่งยืนเป็นพื้นที่ผลิตอาหารปลอดภัยเพิ่มขึ้น
ตัวชี้วัด : 1. เกิดพื้นที่ป่าร่วมยางในจังหวัดพัทลุงไม่น้อยกว่า 60 ไร่
2. ผู้เข้าร่วมโครงการมีรายได้จากการสร้างพื้นที่ป่าร่วมยางอย่างน้อย 1,000 บาทต่อเดือน
3.มีครัวเรือนอย่างน้อย 30 ครัวเรือนมีอาหารปลอดภัยบริโภคในครัวเรือนเพิ่มขึ้นสามารถลดรายจ่ายในครัวเรือนอย่างน้อยเดือนละ 300 บาท
1.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
170
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายรอง
136
กลุ่มเป้าหมายหลัก
34
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้กลไกขับเคลื่อนป่าร่วมยางได้อย่างเข้มแข็ง (2) 2.เพื่อให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสู่ระบบป่าร่วมยางครบวงจร (3) 3. มีป่าร่วมยางยั่งยืนเป็นพื้นที่ผลิตอาหารปลอดภัยเพิ่มขึ้น
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ชื่อกิจกรรมที่ 1 อบรมคณะทำงาน ครั้งที่ 1 (2) กิจกรรม ที่เข้าร่วมกับหน่วย สสส. (3) ชื่อกิจกรรมที่ 2 เรียนรู้สร้างความเข้าใจ (4) ชื่อกิจกรรมที่ 3 ศึกษาดูงาน (5) ชื่อกิจกรรมที่ 4 สรุปผลจากการศึกษาดูงานและวิธีการดำเนินการ (6) ชื่อกิจกรรมที่ 1 อบรมคณะทำงาน (7) ชื่อกิจกรรมที่ 5 วางแผนการจัดการแปลง (8) ชื่อกิจกรรมที่ 8 เรียนรู้การทำปุ๋ยหมักแทนการใช้สารเคมี (9) ชื่อกิจกรรมที่ 9 เรียนรู้การทำน้ำหมักแทนการใช้สารเคมี (10) ถอนคืนเงินเปิดบัญชีธนาคาร (11) ชื่อกิจกรรมที่ 6 ส่งเสริมการจัดทำโรงเรือนเพาะชำพันธุ์พืช (12) ชื่อกิจกรรมที่ 14 ARE พื้นที่ 2 ครั้ง (13) ชื่อกิจกรรมที่ 7 เรียนรู้การขยายพันธ์พืช (14) ชื่อกิจกรรมที่ 11 ติดตามแปลงป้าหมาย 2 ครั้ง (15) ชื่อกิจกรรมที่ 12 เวทีเรียนรู้ผลการปฏิบัติงาน 2 ครั้ง (16) ชื่อกิจกรรมที่ 10 การปฏิบัติการปลูก (17) ชื่อกิจกรรมที่ 13 สร้างพื้นที่แบ่งปันผลผลิตทางการเกษตร (18) ชื่อกิจกรรมที่ 15 สรุปผลการดำเนินโครงการ (19) ค่าบริการอินเตอร์เน็ต (20) ปฐมนิเทศโครงการ (21) จัดทำป้ายโครงการ (22) อบรมคณะทำงาน ครั้งที่ 2 (23) อบรมคณะทำงาน ครั้งที่ 3 (24) อบรมคณะทำงาน ครั้งที่ 4 (25) อบรมคณะทำงาน ครั้งที่ 5 (26) งานสมัชชา พัทลุง มหานครแห่งความสุข (27) อบรมคณะทำงาน ครั้งที่ 6 (28) ARE พื้นที่ ครั้งที่ 1 (29) ARE พื้นที่ ครั้งที่ 2 (30) ประเมินผลเผื่อการเรียนรู้และพัฒนา AREร่วมกับหน่วยจัดการโครงการ 1 (31) อบรมคณะทำงาน ครั้งที่ 7 (32) อบรมคณะทำงาน ครั้งที่ 8 (33) อบรมคณะทำงาน ครั้งที่ 9 (34) อบรมคณะทำงาน ครั้งที่ 10 (35) อบรมคณะทำงาน ครั้งที่ 11 (36) อบรมคณะทำงาน ครั้งที่ 12 (37) ค่าบริการอินเตอร์เน็ต (38) ประเมินผลเผื่อการเรียนรู็และพัฒนา AREร่วมกับหน่วยจัดการโครงการ (39) สมัชชพัทลุงมหานครแห่งความสุข หิ้วชั้นมาชันชี2
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ
โครงการการฟื้นคืนชีวิตชาวสวนยางด้วยวิถีป่าร่วมยางยั่งยืน บ้านควนอินนอโม จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 65-00232-0024
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายก่อเกียรติ บุญพน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
Node Flagship จังหวัดพัทลุง
“ โครงการการฟื้นคืนชีวิตชาวสวนยางด้วยวิถีป่าร่วมยางยั่งยืน บ้านควนอินนอโม ”
ตำบลตะโหมด อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุงหัวหน้าโครงการ
นายก่อเกียรติ บุญพน
ชื่อโครงการ โครงการการฟื้นคืนชีวิตชาวสวนยางด้วยวิถีป่าร่วมยางยั่งยืน บ้านควนอินนอโม
ที่อยู่ ตำบลตะโหมด อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 65-00232-0024 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2565 ถึง 30 เมษายน 2566
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการการฟื้นคืนชีวิตชาวสวนยางด้วยวิถีป่าร่วมยางยั่งยืน บ้านควนอินนอโม จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตะโหมด อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ Node Flagship จังหวัดพัทลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการการฟื้นคืนชีวิตชาวสวนยางด้วยวิถีป่าร่วมยางยั่งยืน บ้านควนอินนอโม
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการการฟื้นคืนชีวิตชาวสวนยางด้วยวิถีป่าร่วมยางยั่งยืน บ้านควนอินนอโม " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตะโหมด อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 65-00232-0024 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2565 - 30 เมษายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 105,000.00 บาท จาก Node Flagship จังหวัดพัทลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | |
บทคัดย่อ | |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | |
วัตถุประสงค์โครงการ | |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | |
กลุ่มเป้าหมาย | |
ผลลัพธ์ที่ได้ | |
การประเมินผล | |
ปัญหาและอุปสรรค | |
ข้อเสนอแนะ | |
เอกสารประกอบอื่นๆ |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันยางพาราเข้าครอบครองพื้นที่ทําการเกษตรอย่างต่อเนื่อง ข้อมูลพื้นที่ปลูกยางพาราของสถาบันวิจัยยาง ปีพ.ศ. 2558 รายงานว่า ประเทศไทยมีพื้นที่ปลูกยางทั้งสิ้น 18,761,231 ไร่ ประกอบด้วย พื้นที่ปลูกยางของภาคใต้จํานวน 11,906,882 ไร่ รองลงมาคือ พื้นที่ปลูกยางพาราของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จํานวน 3,477,303 ไร่ ภาคตะวันออกรวมกับภาคกลาง จํานวน 2,509,644 ไร่ ส่วนภาคเหนือพื้นที่ปลูกยางพาราน้อยที่สุด จํานวน 867,402 ไร่ พื้นที่ปลูกยางทั้งหมดของประเทศที่กล่าวถึง มีจํานวน พื้นที่ซึ่งเปิดกรีดไปแล้ว จํานวนรวมทั้งสิ้น 10,896,957 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 85 ของพื้นที่ปลูกยางทั้งหมด ในจํานวนนี้ให้ผลผลิตเฉลี่ย 282 กิโลกรัม/ไร่/ปี อย่างไรก็ตามพื้นที่ปลูกยางของประเทศไทยยังมีอัตราที่ เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้เนื่องมาจากสภาวะวิกฤติน้ำมันเชื้อเพลิง มีส่วนชาวยางสร้างโอกาสให้กับยางธรรมชาติขึ้นมาอยู่เหนือยางเทียม อย่างไม่คาดคิด ความต้องการยางธรรมชาติในเชิงอุตสาหกรรมจึงสูงขึ้น ช่วยฉุดให้ราคายางพาราสูงตาม ส่งผลให้พื้นที่ปลูกยางพารา ขยายตัวเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว นอกจากป่าบนพื้นที่สูงจะถูกแทนที่ด้วย สวนยางพาราแล้ว บริเวณที่ราบลุ่มที่เคยเป็นพืชไร่ วันนี้ยังถูกแทนที่ด้วยยางพาราจํานวนไม่น้อย ทั้งๆ ที่ผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่จะต่ำมากก็ตาม เมื่อรวมพื้นที่ปลูกยางพาราของทั้งจังหวัดสงขลา จังหวัด พัทลุง และจังหวัดนครศรีธรรมราช พบว่ามีพื้นที่ปลูกยาง ทั้งสิ้นประมาณ 3,430,422 ไร่ ในจํานวนพื้นที่นี้พบว่ามีพื้นที่ป่าอนุรักษ์รวมอยู่ด้วยจํานวนหนึ่ง จากข้อมูลภาพถ่ายทางอากาศเมื่อปี พ.ศ. 2545 ซึ่งกรมทรัพยากรป่าไม้ลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา ได้รายงาน โดยอ้างจากรายงานโครงการจัดทําแผนแม่บทการพัฒนาลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรและสิ่ง - แวดล้อม ปีพ.ศ. 2548 พบว่าพื้นที่ป่าอนุรักษ์ได้ถูกบุกรุกประมาณ 23,618 ตารางกิโลเมตร ซึ่งพื้นที่เหล่านี้ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ในเขตลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา ที่ครอบคลุมบางส่วนของจังหวัดสงขลา จังหวัด พัทลุง และจังหวัดนครศรีธรรมราช การรุกป่าเพื่อเปลี่ยนเป็นพื้นที่การเกษตร สืบเนื่องจากพื้นที่เดิม ดินเกิดสภาวะเสื่อมโทรมส่งผลให้ผลผลิตลดจํานวนลง การแก้ปัญหาของเกษตรกรวิธีที่ง่ายที่สุดก็คือการขยายพื้นที่ปลูก เพื่อให้ ผลิตต่อไร่คงที่หรือเพิ่มมากขึ้น แต่ด้วยไม่มีพื้นที่ว่างเปล่าเหลืออยู่ เกษตรกรจึงเลือกที่จะรุกเข้าไปทําแปลงเกษตรในพื้นที่อนุรักษ์ซึ่งส่วนใหญ่อยู่ในบริเวณพื้นที่ต้นน้ำ แต่ด้วยถูกปลูกฝังมาให้ยึดติดกับระบบเกษตรกระแสหลักที่ยึดเอาเทคโนโลยีเป็นตัวตั้ง เกษตรกรจึงทําเกษตร ในระบบการปลูกพืชเชิงเดี่ยว ส่งผลให้สวนยางพาราทั้งหมดในทุกพื้นที่ เป็นสวนยางพาราเชิงเดี่ยวทั้งสิ้น ในมิติที่เป็นประโยชน์ของการจัดการ เกษตรกรรมระบบนี้เกษตรกรจะได้ค่าตอบแทนสูง แต่จะชักนําให้ต้นทุนสูงตามไปด้วย ทั้งนี้เพราะต้องวิ่งตามเทคโนโลยีไปตลอดไม่ สิ้นสุด ในทางกลับกันหากพิจารณาในมิติความยั่งยืนของการจัดการเชิงเดี่ยวที่ปลูกในที่พื้นที่เดิมต่อเนื่องกันประมาณ 3 รอบ ใช้เวลา ประมาณ 60 ปีหรือมากกว่า จะพบว่าอัตราการเจริญเติบโตของต้น ยางพาราจะค่อยๆ ลดขนาดลงตามลําดับ ส่งผลให้ต้นยางพารามี เปลือกบางลง และให้น้ํายางน้อย เนื่องจากดินในแปลงปลูกพืช เชิงเดี่ยวเสื่อมคุณภาพลง ด้วยเพราะเกิดการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของดิน ทั้งทางด้านกายภาพ เคมีและชีววิทยา ที่สืบเนื่องมาจากการ ใช้ปุ๋ยเคมีและสารเคมีในแปลงปลูกยางพาราเป็นเวลายาวนาน
ส่งผลกระทบก่อให้เกิดความเสื่อมโทรมของดิน ทําให้เศษซากดังกล่าว ตกค้างอยู่ในดินยาวนานกว่าที่ควรจะเป็น ขณะเดียวกันกลไกดังกล่าว มีส่วนสนับสนุนให้ผิวอนุภาคดินมีไฮโดรเจนไอออนจับเกาะในปริมาณ มากขึ้น จึงไม่ใช้เรื่องแปลกที่ดินจะค่อยๆพัฒนาไปสู่ความเป็นกรดขึ้น อย่างต่อเนื่อง การเสื่อมของคุณภาพดินยังสร้างผลกระทบกับวงจรธาตุ อาหารของระบบนิเวศทั้งระบบ เช่น วงจรของธาตุไนโตรเจน ฟอสฟอรัสและธาตุอาหารอื่น วงจรธาตุอาหารดังกล่าวจะถูกตัดตอน ให้ขาดเป็นช่วงๆ ระบบนิเวศของดินในพื้นที่ปลูกยางพาราจึงขับเคลื่อน วงจรธาตุอาหารลดประสิทธิภาพลงอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้ขาดธาตุ อาหารจําพวกไนโตรเจนในดินลดจํานวนลง ส่วนฟอสฟอรัสแม้จะยังมี อยู่ก็มิอาจใช้ประโยชน์ได้เนื่องจากไม่ได้อยู่ในรูปของฟอสเฟตที่ละลายน้ำได้ด้วยเพราะดินเป็นกรด ดินที่ขาดธาตุอาหารหรือมีธาตุอาหารแต่อยู่ในรูปที่ใช้ ประโยชน์ไม่ได้ จัดเป็นดินที่เสื่อมความอุดมสมบูรณ์พืชที่อาศัยอยู่ใน ดินลักษณะดังกล่าวจึงเติบโตได้น้อยและให้ผลผลิตต่ำ ทางออกของ เกษตรกรอย่างง่าย ก็คือการนําเข้าธาตุอาหารดังกล่าวสู่ดินมากขึ้นตามลําดับ แต่อย่างไรก็ตามแม้ว่าจะเพิ่มปุ๋ยเคมีลงไปเท่าใดก็หาเป็น ประโยชน์ไม่ เพราะดินที่เป็นกรดทําให้ธาตุอาหารฟอสฟอรัสไม่แตกตัว เป็นไอออน โดยจะอยู่ในรูปสารประกอบของโลหะเป็นส่วนใหญ่ รากพืชจึงไม้สามารถนําเข้าเพื่อใช้ประโยชน์ได้
ดังนั้นแม้ว่าเกษตรกรจะเพิ่มปุ๋ยเคมีลงไปในดินมาก สักเพียงใด ก็จะไม่เกิดประโยชน์กับต้นยางพารา ด้วยเพราะไม่ สามารถนําธาตุอาหารชนิดนี้เข้าสู่รากเพื่อส่งต่อไปยังส่วนต่างๆของ เนื้อเยื่อที่ได้รับคําสั่งมา สุดท้ายก็จะเกิดสภาวะขาดแคลนธาตุอาหาร เมื่อหันกลับมาพิจารณามิติของการปลูกยางพาราเชิง บูรณาการ ที่อาจเป็นการใช้พืชหลายชนิดปลูกแซม ป่าร่วมยาง หรืออาจพัฒนาให้ ซับซ้อนสู่การสร้างสังคมพืช จะพบว่าวิธีนี้เป็นวิธีที่สอดคล้องกับ ธรรมชาติเนื่องจากมีส่วนช่วยให้โครงสร้างของดิน ทั้งทางกายภาพ เคมีและชีววิทยา ได้มีการพัฒนาตนเองไปสู่การสร้างสัดส่วนขององค์ประกอบของโครงสร้างของดินให้เหมาะสม เช่น หากดินมีสภาพ ทางกายภาพที่มีช่องว่างระหว่างเม็ดดินติดต่อเชื่อมโยงถึงกันทั้งหมด ก็จะช่วยให้อากาศแพร่ผ่านลงไปในดินได้ลึกมากขึ้น ขณะเดียวกันช่วย ให้คาร์บอนไดออกไซด์ที่ถูกกักเก็บสามารถแพร่ออกจากดินสู่ บรรยากาศได้ไม่ยุ่งยาก รากพืชก็จะทําหน้าที่ได้สมบูรณ์ขึ้น ทุกครั้งที่ฝนตก หากดินมีช่องว่างระหว่าง อนุภาคดินติดต่อ เชื่อมโยงเป็นเครือข่ายถึงกันอย่างเป็นระบบ การระบายน้ำลงสู่ดินชั้น ล่างจะกระทําได้อย่างมีประสิทธิภาพ จะไม่มีน้ำถูกกักขังอยู่ระหว่างช่องว่างอนุภาคดิน ส่งผลให้รากพืชไม่เครียดเพราะขาดออกซิเจน สําหรับหายใจ เมื่อดินสามารถกักอากาศเอาไว้ในช่องว่างระหว่าง อนุภาคดินได้มาก ก็จะมีไนโตรเจนสําหรับให้ จุลินทรีย์ตรึงเพื่อ เปลี่ยนเป็นไนเตรต ขณะเดียวกันก็มีปริมาณออกซิเจนเพียงพอสําหรับ ให้รากพืช สัตว์ในดิน และจุลินทรีย์ใช้ในการหายใจเพื่อสร้างพลังงาน หากการสร้างพลังงานไม่ติดขัด การขับเคลื่อนวิถีภายในระบบชีวิตของ แต่ละสรรพชีวิตก็จะสะดวกและคล่องตัว ส่งผลให้สภาวะแวดล้อมของ ดินดีขึ้น สภาวะเช่นว่านี้จะสนับสนุนให้เกิดการชักนําให้สรรพชีวิตอื่นๆ ในที่อยู่อาศัยอื่น ได้อพยพเข้ามามากขึ้นตามลําดับ หากเป็นเช่นนี้ได้ก็ จะช่วยให้ดินพัฒนาไปสู่สุขภาวะอย่างต่อเนื่อง
ในธรรมชาติพัฒนาการ ของสังคมพืชได้ให้ ความสําคัญ กับความ หลากหลายของพันธุกรรม ทั้งพืช สัตว์และจุลินทรีย์ ได้ส่วนร่วมในการทําหน้าที่ อ ย่างเป็นระบบ กรอบ ความคิด ดังกล่าวมีสวน สนับสนุนให้เครื่องจักรมีชีวิต ในดินแต่ละภาคส่วนได้ทําหน้าที่สนับสนุนการ ขับเคลื่อนวงจรธาตุอาหาร ให้เคลื่อนตัวไดเร็วขึ้น และขยายเครือขยายสู่วงกว้างมากขึ้น ทําให้มีปุ๋ยธรรมชาติคืนกลับสู่ดิน เพียงพอสําหรับการเฉลี่ยและแบ่งปันกัน ผลลัพธ์ก็คือความแข็งแรง ของระบบนิเวศที่จะทยอยคืนกลับมาอย่างช้าๆ แต่มั่นคง สุดท้าย ระบบเกษตรเช่นว่านี้จะก้าวย่างสู่มิติของความยั่งยืน หากเราสร้างกรอบคิดการปลูกยางพารา โดยอาศัยหลักการ และเหตุผลดังกล่าวข้างต้น ก็จะมี ส่วนช่วยให้สังคมพืชป่ายางพารา ได้ปรับตัวจากความเปราะบางสู่ความแข็งแรงของระบบ แม้ว่าจะมี การคุกคามที่ทําให้เกิดภาวะเครียด จากตัวแปรใดๆ ก็ตาม สรรพชีวิต ก็สามารถปรับตัวโดยอาศัยกลไกการป้องกันตัวเอง ช่วยแก้ปัญหา ทั้ง การแก้ปัญหาเฉพาะส่วนตัวหรือการแก้ปัญหาแบบมีส่วนร่วม เช่น จุลินทรีย์กลุ่มหนึ่งอาจช่วยกันแย่งชิงอาหาร หรือตัวรับอิเล็กตรอน ของจุลินทรีย์ก่อโรค ทําให้จุลินทรีย์ก่อโรคขาดอาหาร หรือพลังงาน สุดท้ายจุลินทรีย์ก่อโรคจะค่อยๆ ลดจํานวนประชากรลงตามลําดับอย่างต่อเนื่อง และหายไปในที่สุดโดยเกษตรกรไม่ต้องพึ่งพาสารเคมี ที่เป็นพิษแต่อย่างใด สังคมพืชสวนยางพารา มองดูก็คล้ายกับสังคมพืชใน ป่าดิบชื้น เพียงแต่มีจํานวน เรือนยอดของพืชเสมือนร่ม ขนาดและรูปแบบที่ซ่อน เหลื่อมในแนวดิ่งจํานวนน้อย กว่า แต่จํานวนที่น้อยกว่านี้ก็ สามารถทําหน้าที่ช่วยดูดซับ และสะท้อนรังสีอัลตราไวโอเลตไม่ให้กระทบกับประชากร ของจุลินทรีย์โดยตรง ทั้งนี้เพื่อให้เครื่องจักรที่มีชีวิตเหล่านี้ได้ทําหน้าที่ ผลิตอินทรียวัตถุ และช่วยคืนกลับธาตุอาหารให้กับดินผ่านกลไกของ การย่อยสลายเพื่อส่งต่อให้กับพืช ทํานองเดียวกันธรรมชาติยังได้ ออกแบบให้โปรโตซัว คอยทําหน้าที่ควบคุมประชากรของแบคทีเรีย ไม่ให้เพิ่มจํานวนเร็วมากเกินไป ทั้งนี้เพื่อความสอดคล้องกับปริมาณใบ พืชที่ร่วงหล่น รวมทั้งเศษซากพืชที่มีจํานวนสอดคล้องกับประชากร ของสัตว์กินซาก
ข้อมูลที่กล่าวมาข้างต้นทั้งหมด ล้วนบ่งชี้ให้เห็นว่าระบบ เกษตรเชิงเดี่ยวในบริเวณพื้นที่ป่าต้นน้ำ น่าจะเป็นจุดเริ่มต้นของ ประเด็นปัญหาหลายๆ ประเด็นที่สัมพันธ์และเชื่อมโยงกันอย่างเป็น ระบบ จากต้นน้ำสู่ปลายน้ำ และรายทาง ก่อให้เกิดผลกระทบกับ สรรพชีวิตที่เป็นส่วนประกอบของโครงสร้างระบบนิเวศ ภายใต้ระบบ ธรรมชาติที่ซับซ้อน หากประสงค์จะแก่ปัญหาดังกล่าวจะต้องมองให้ ครบทุกมิติหลังจากนั้นจึงเริ่มต้นแก้ปัญหาแบบมีส่วนร่วมโดยเริ่มที่ต้นน้ำ แล้วเชื่อมโยงสู่กลางน้ำและปลายน้ำอย่างเป็นระบบ ถึงจะทํา ให้ทุกข์ของสรรพสิ่งของลุ่มน้ําค่อยๆ คลี่คลายลงอย่างมีพัฒนาการ
ดังนั้นในการขับเคลื่อนส่งเสริมฟื้นชีวิตคืนเศรษฐกิจชาวสวนยางพัทลุงด้วยกระบวนการพัฒนาสวนยางเป็นพื้นที่พืชร่วมยาง ผลลัพธ์ของการดำเนินงาน เกิดเครือข่ายป่าร่วมยางยั่งยืน สมาชิกในเครือข่ายได้ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผลกระทบของยางเชิงเดี่ยวและการใช้สารเคมีที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม ทำให้มีชาวสวนยางจำนวน 54 ครอบครัว ปรับเปลี่ยนเข้าสู่ระบบป่ายางยั่งยืน มีการปลูกพืชแซมในสวนยาง โดยในการขับเคลื่อนงานนั้นการดำเนินงานได้อย่างต่อเนื่อง ได้มีกลไกขับเคลื่อน “คณะทำงานป่าร่วมยาง” มีคณะทำงานจำนวน 20 คน มีแกนนำหลักในการขับเคลื่อนและการบริหารจัดการจำนวน 6 คน ที่ได้มีส่วนร่วมในการร่วมคิด ร่วมทำ และสามารถวิเคราะห์แก้ปัญหาได้ ได้มีการแบ่งบทบาทการทำงาน และรับผิดชอบตามที่ได้รับมอบหมาย มีกติกาข้อตกลง ได้ทำตามข้อตกลงและสมาชิกในเครือข่ายยอมรับและเข้าร่วม สำหรับแกนนำบางส่วนใหม่กระบวนการทำงานเป็นทีมยังขาดทักษะความชำนาญในเรื่องการบริหารจัดการและการขับเคลื่อนงานแบบมีส่วนร่วม การทำงานได้รับความร่วมมือและสนับสนุนจากภาคีความร่วมมือ เนื่องได้มีกระบวนการร่วมในกิจกรรม และแปลงรูปธรรมต้นแบบทำให้ได้รับความยอมรับ และเห็นความตั้งใจร่วมแรงร่วมใจของเครือข่ายฯ เช่น เทศบาลตำบลลำสินธุ์ ธกส. สปก.พัทลุง
เกิดวิชาต้องไม่พาตาย ถ่ายทอดความรู้ของชุมชนสู่คนรุ่นใหม่ มีเยาวชนคนรุ่นใหม่ได้เรียนรู้และนำความรู้ที่ได้ไปใช้ ในการเพาะกล้าไม้ การขยายพันธุ์พืชที่เหมาะสมกับพืชแต่ละชนิด ที่สามารถขยายพันธุ์พืชสำหรับเตรียมปลูกร่วมในป่าร่วมยาง เกิดธนาคารพันธุ์พืช มีโรงเรือนเพาะและขยายพันธุ์พืชจำนวน 16 โรง มีระบบการกระจายแบ่งปันให้กับสมาชิก และมีรายได้จากการจำหน่ายพันธุ์กล้าไม้ให้กับคนที่สนใจเพิ่มความหลายหลายในแปลง ส่งผลให้ธนาคารพันธุ์พืชมีความเติบโต และมีพันธุ์กล้าไม้ที่เหมาะสมในการปลูกรวมในสวนยางแต่ละระยะจำนวน 30 ชนิด นอกจากนี้ผลผลิตในแปลงที่ปลูก หรือที่เว้นไว้ในส่วนยางมีระบบการรวบรวมและจัดการกระจายผลผลิต และบริโภคในครัวเรือน มีการเพิ่มมูลค่านำพืชใช้ประโยชน์อาหาร ใช้สอย ไม้ประดับ เพิ่มรายได้ให้กับชาวสวนยาง ซึ่งเฉลี่ยมีรายได้เพิ่มขึ้นเดือนละ 1,000 บาท มีระบบตลาด ระบบร้านค้าชุมชน ศูนย์เรียนรู้พันธุกรรมพืชตำบลลำสินธุ ซึงจากการดำเนินการนั้น ทางกลุ่มวิสาหกิจชุมชนคนเกษตร ผลผลิตที่นำมานั้นยังสร้างคุณค่าและเพิ่มมูลค่าพืชร่วมในสวนยางนั้นยังมีน้อย
ช่องว่างในกระบวนการดำเนินงานในการจัดการกระบวนการขับเคลื่อนของกลไกเครือข่ายที่สามารถดำเนินการขับเคลื่อนงานได้ คณะทำงานร้อยกว่า 50 ของคณะทำงานมีความตั้งใจและสามารถขับเคลื่อนงานได้ แต่มีร้อยละ 50 นั้นขาดทักษะความชำนาญในการบริหารจัดการและขับเคลื่อนงาน หรือบางคนมีการแบ่งเวลาไม่เหมาะสมกับการดำเนินชีวิต มีการปรับเปลี่ยน
มีกระบวนการทำซ้ำเพื่อเติมส่วนช่องว่างของโมเดลป่าร่วมยางยังยืนที่ยังไม่สมบูรณ์ โดยเฉพาะในการเก็บข้อมูลตัวชี้วัดผลลัพธ์ยังไม่ครบถ้วน และการวิเคราะห์ข้อมูลยังไม่ชัดเจน และทดสอบเพิ่มความมั่นใจโมเดล ในการขยายพื้นที่ป่าร่วมยางยั่งยืนคืนชีวิตชาวสวนยางพัทลุง ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี มีสุขภาวะ
ด้วยเหตุนี้ กลุ่มวิถีชุมชนคนเกษตรร่วมกับกลุ่มเครือข่ายคนอินทรีย์วิถีเมืองลุง จึงได้จัดทำโครงการฟื้นคืนชีวิตชาวสวนยางด้วยวิถีป่าร่วมยางยั่งยืน เพื่อปรับกระบวนทัศน์ในการทำสวนยางพาราของคนเมืองลุงให้เปลี่ยนจากระบบพืชเชิงเดี่ยวไปสู่ระบบพืชร่วมยางขึ้น รวมถึงสร้างและพัฒนากลไกเครือข่ายภาคประชาชน เกษตรกรคนเล็กคนน้อยในชุมชนพัทลุง ให้รู้และตระหนักถึงการพิษภัยของการใช้สารเคมีทางการเกษตร เพื่อยกระดับเป็นโมเดลการจัดการป่าร่วมยางยั่งยืน เป็นแนวทางหนึ่งที่นำไปสู่เมืองโดยมีเป้าหมายสำคัญในการร่วมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์จังหวัดของภาคประชาชนในการสร้างพัทลุงให้เป็นเมืองสีเขียวเกษตรกรชาวสวนยางมีรายได้ที่มั่นคง และมีความมั่นคงทางด้านอาหาร
เพื่อให้โมเดลป่าร่วมยางยั่งยืน นำไปสู่การขยายผลต่อไปได้ ในปีที่ 2 มีแนวทางในการขับเคลื่อนป่าร่วมยางเพื่อมีปรับเปลี่ยนของชาวสวนยางเข้าสู่ระบบป่าสวนยางยังยืนที่เหมาะสมกับพื้นที่ใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น กระบวนการปลูก การจัดจัดการผลผลิตเชื่อมร้อยแลกเปลี่ยนระหว่างผู้ผลิตและผู้บริโภค มีกระบวนการพัฒนากลไกขับเคลื่อนและพัฒนาศักยภาพแกนนำให้สามารถขับเคลื่อนงานมีคณะทำงานที่อย่างเข้มแข็ง ร่วมคิด ร่วมวิเคราะห์ ประเมินการดำเนินงาน แก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสม และขับเคลื่อนงานให้บรรลุตามเป้าหมายและวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ได้ พัฒนากลไกเครือข่ายให้มีกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้แบ่งปันพันธุ์พืช ผลผลิต ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน กระบวนการในการยกระดับพัฒนาระบบตลาด ตลาดนัดชุมชน แบ่งปันพืชผัก อาหารปลอดภัย งานจักสาน ซึ่งใช้วัสดุจากป่าร่วมยาง และพัฒนาระบบตลาดออนไลน์ มีกระบวนการเพิ่มเติมความรู้ในการจัดการและบรรจุ การขนส่งที่มีคุณภาพที่ดี ส่งเสริมการนำผลผลิตจากป่าร่วมยางสร้างรายได้ เสริมแรงให้ชาวสวนยางปรับเปลี่ยนเข้าสู่ระบบป่ายางยังยืน สนับสนุนครัวเรือนอยางน้อยง 50 ครัวเรือนในการทำป่าร่วมยางเพิ่มพื้นที่ป่าร่วมยางในจังหวัดพัทลุง และถอดบทเรียน โมเดลคืนชีวิตชาวสวนยางด้วยระบบป่าร่วมยางยั่งยืน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้กลไกขับเคลื่อนป่าร่วมยางได้อย่างเข้มแข็ง
- 2.เพื่อให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสู่ระบบป่าร่วมยางครบวงจร
- 3. มีป่าร่วมยางยั่งยืนเป็นพื้นที่ผลิตอาหารปลอดภัยเพิ่มขึ้น
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ชื่อกิจกรรมที่ 1 อบรมคณะทำงาน ครั้งที่ 1
- กิจกรรม ที่เข้าร่วมกับหน่วย สสส.
- ชื่อกิจกรรมที่ 2 เรียนรู้สร้างความเข้าใจ
- ชื่อกิจกรรมที่ 3 ศึกษาดูงาน
- ชื่อกิจกรรมที่ 4 สรุปผลจากการศึกษาดูงานและวิธีการดำเนินการ
- ชื่อกิจกรรมที่ 1 อบรมคณะทำงาน
- ชื่อกิจกรรมที่ 5 วางแผนการจัดการแปลง
- ชื่อกิจกรรมที่ 8 เรียนรู้การทำปุ๋ยหมักแทนการใช้สารเคมี
- ชื่อกิจกรรมที่ 9 เรียนรู้การทำน้ำหมักแทนการใช้สารเคมี
- ถอนคืนเงินเปิดบัญชีธนาคาร
- ชื่อกิจกรรมที่ 6 ส่งเสริมการจัดทำโรงเรือนเพาะชำพันธุ์พืช
- ชื่อกิจกรรมที่ 14 ARE พื้นที่ 2 ครั้ง
- ชื่อกิจกรรมที่ 7 เรียนรู้การขยายพันธ์พืช
- ชื่อกิจกรรมที่ 11 ติดตามแปลงป้าหมาย 2 ครั้ง
- ชื่อกิจกรรมที่ 12 เวทีเรียนรู้ผลการปฏิบัติงาน 2 ครั้ง
- ชื่อกิจกรรมที่ 10 การปฏิบัติการปลูก
- ชื่อกิจกรรมที่ 13 สร้างพื้นที่แบ่งปันผลผลิตทางการเกษตร
- ชื่อกิจกรรมที่ 15 สรุปผลการดำเนินโครงการ
- ค่าบริการอินเตอร์เน็ต
- ปฐมนิเทศโครงการ
- จัดทำป้ายโครงการ
- อบรมคณะทำงาน ครั้งที่ 2
- อบรมคณะทำงาน ครั้งที่ 3
- อบรมคณะทำงาน ครั้งที่ 4
- อบรมคณะทำงาน ครั้งที่ 5
- งานสมัชชา พัทลุง มหานครแห่งความสุข
- อบรมคณะทำงาน ครั้งที่ 6
- ARE พื้นที่ ครั้งที่ 1
- ARE พื้นที่ ครั้งที่ 2
- ประเมินผลเผื่อการเรียนรู้และพัฒนา AREร่วมกับหน่วยจัดการโครงการ 1
- อบรมคณะทำงาน ครั้งที่ 7
- อบรมคณะทำงาน ครั้งที่ 8
- อบรมคณะทำงาน ครั้งที่ 9
- อบรมคณะทำงาน ครั้งที่ 10
- อบรมคณะทำงาน ครั้งที่ 11
- อบรมคณะทำงาน ครั้งที่ 12
- ค่าบริการอินเตอร์เน็ต
- ประเมินผลเผื่อการเรียนรู็และพัฒนา AREร่วมกับหน่วยจัดการโครงการ
- สมัชชพัทลุงมหานครแห่งความสุข หิ้วชั้นมาชันชี2
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายรอง | 136 | |
กลุ่มเป้าหมายหลัก | 34 |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เกิดพื้นที่ป่าร่วมยางในจังหวัดพัทลุงไม่น้อยกว่า 60 ไร่
- ผู้เข้าร่วมโครงการมีรายได้จากการสร้างพื้นที่ป่าร่วมยางอย่างน้อย 1,000 บาทต่อเดือน 3.มีครัวเรือนอย่างน้อย 30 ครัวเรือนมีอาหารปลอดภัยบริโภคในครัวเรือนเพิ่มขึ้นสามารถลดรายจ่ายในครัวเรือนอย่างน้อยเดือนละ 300 บาท 4.ชาวสวนยางมีความรู้และความตระหนักความสำคัญของป่าร่วมยาง
- เกิดครัวเรือนปรับเปลี่ยนการปลูกยางพาราเพียงอย่างเดียวสู่พืชร่วมยางที่มีพืชอย่างน้อย 5 ประเภทไม่น้อยกว่า 30 ครัวเรือน พื้นที่อย่างน้อย 60 ไร่
- มีระบบการกระจายพืชผักและผลผลิตที่ได้จากป่าร่วมยาง มีตลาดทางเลือกจำนวน 2 ตลาด
7.มีแผนการแลกเปลี่ยนแบ่งปันผลผลิตในระดับชุมชนและนอกชุมชนเพื่อสร้างคุณค่าและมูลค่าให้กับป่าร่วมยาง พร้อมขับเคลื่อนแลกเปลี่ยนแบ่งปันผลผลิต
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ปฐมนิเทศโครงการ |
||
วันที่ 9 พฤษภาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
3 | 0 |
2. จัดทำป้ายโครงการ |
||
วันที่ 25 พฤษภาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำจัดทำป้ายรณรงค์เขตปลอดบุหรี่และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจัดทำป้ายรณรงค์เขตปลอดบุหรี่และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ขนาด 1.2*2.4 เมตร
|
0 | 0 |
3. ชื่อกิจกรรมที่ 1 อบรมคณะทำงาน ครั้งที่ 1 |
||
วันที่ 27 พฤษภาคม 2565 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1 นายณัฐพงศ์ คงสง พี่เลี้ยงของโครงการ ได้เข้ามาทำความเข้าใจของโครงการกับคณะกรรมการแปลงใหญ่ยางพาราสหกรณ์กองทุนสวนยางบ้านควนอินนอโม จำกัด 2 ได้จัดเลือกคณะทำงาน ของโครงการ ดังต่อไปนี้ - นายก่อเกียรติ บุญพน ตำแหน่ง ผู้ประสานงานโครงการ - นายบุญโชค เอียดเฉลิม ตำแหน่ง ผู้ประสานงานพื้นที่ - นางวิมล บัวมา ตำแหน่ง ผู้บันทึกข้อมูล - นายดลเล๊าะ ทักษิณาวาณิชย์ ตำแหน่ง ฝ่ายการเงิน - นางมาลี นันทสิน ตำแหน่ง ฝ่ายบัญชี
|
13 | 0 |
4. อบรมคณะทำงาน ครั้งที่ 2 |
||
วันที่ 8 มิถุนายน 2565 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.ประสานคณะทำงาน นำข้อมูลความก้าวหน้าการดำเนินงานแลกเปลี่ยนกำหนดแนวทางการดำเนินงาน 2. จัดประชุมเพื่อติดตามการดำเนินงาน ร่วมกันคิด วิเคราะห์ มีปัญหาร่วมหาทางแก้ปัญหา และกำหนดแนวทางการดำเนินงาน ขับเคลื่อนตามแผนปฏิบัติการ เพื่อบรรลุตามเป้าหมายวัตถุประสงค์ที่ได้กำหนดไว้ 3. วางแผนการดำเนินการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
13 | 0 |
5. ชื่อกิจกรรมที่ 2 เรียนรู้สร้างความเข้าใจ |
||
วันที่ 10 มิถุนายน 2565 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
39 | 0 |
6. ชื่อกิจกรรมที่ 3 ศึกษาดูงาน |
||
วันที่ 23 มิถุนายน 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
30 | 0 |
7. ชื่อกิจกรรมที่ 4 สรุปผลจากการศึกษาดูงานและวิธีการดำเนินการ |
||
วันที่ 29 มิถุนายน 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1 สมาชิกนำเสนอความรู้ แนวทางที่ได้จากการศึกษาดูงาน 2 นำแนวคิดที่ได้จาการศึกษาดูงานมาหาแนวทาง เพื่อปรับใช้ใช้ให้เหมาะสมกับพื้นที่ของสมาชิกแต่ละคน
|
30 | 0 |
8. อบรมคณะทำงาน ครั้งที่ 3 |
||
วันที่ 15 กรกฎาคม 2565 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.ประสานคณะทำงาน นำข้อมูลความก้าวหน้าการดำเนินงานแลกเปลี่ยนกำหนดแนวทางการดำเนินงาน 2. จัดประชุมเพื่อติดตามการดำเนินงาน ร่วมกันคิด วิเคราะห์ มีปัญหาร่วมหาทางแก้ปัญหา และกำหนดแนวทางการดำเนินงาน ขับเคลื่อนตามแผนปฏิบัติการ เพื่อบรรลุตามเป้าหมายวัตถุประสงค์ที่ได้กำหนดไว้ 3. วางแผนการดำเนินการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1 นายก่อเกียรติ บุญพน ได้นำเสนอความก้าวหน้าของโครงการ และขอฟังความคิดเห็นจากผู้เข้าร่วมประชุม เกี่ยวกับการดำเนินโครงการ 2. ได้วางแผนการดำเนินการขั้นต่อไป
|
13 | 0 |
9. อบรมคณะทำงาน ครั้งที่ 4 |
||
วันที่ 9 สิงหาคม 2565 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.ประสานคณะทำงาน นำข้อมูลความก้าวหน้าการดำเนินงานแลกเปลี่ยนกำหนดแนวทางการดำเนินงาน 2. จัดประชุมเพื่อติดตามการดำเนินงาน ร่วมกันคิด วิเคราะห์ มีปัญหาร่วมหาทางแก้ปัญหา และกำหนดแนวทางการดำเนินงาน ขับเคลื่อนตามแผนปฏิบัติการ เพื่อบรรลุตามเป้าหมายวัตถุประสงค์ที่ได้กำหนดไว้ 3. วางแผนการดำเนินการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.ประสานคณะทำงาน นำข้อมูลความก้าวหน้าการดำเนินงาน
2. ติดตามการดำเนินงาน วิเคราะห์ มีปัญหาร่วมหาทางแก้ปัญหา และกำหนดแนวทางการดำเนินงาน ขับเคลื่อนตามแผนปฏิบัติการ
|
13 | 0 |
10. อบรมคณะทำงาน ครั้งที่ 5 |
||
วันที่ 1 กันยายน 2565 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.ประสานคณะทำงาน นำข้อมูลความก้าวหน้าการดำเนินงานแลกเปลี่ยนกำหนดแนวทางการดำเนินงาน 2. จัดประชุมเพื่อติดตามการดำเนินงาน ร่วมกันคิด วิเคราะห์ มีปัญหาร่วมหาทางแก้ปัญหา และกำหนดแนวทางการดำเนินงาน ขับเคลื่อนตามแผนปฏิบัติการ เพื่อบรรลุตามเป้าหมายวัตถุประสงค์ที่ได้กำหนดไว้ 3. วางแผนการดำเนินการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
13 | 0 |
11. งานสมัชชา พัทลุง มหานครแห่งความสุข |
||
วันที่ 12 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำกำหนดกา จัดงานสมัชชาพัทลุงมหานครแห่งความสุข ภายใต้โครงการการขับเคลื่อนแผนชุมชนสู่การพัฒนาท้องถิ่นแบบบูรราการ วันจันทร์ที่ ๑๒ กันยายน พ.ศ. ๑๕๖๕ ณ หอประชุมจังหวัดพัทลุง อำเภอเมืองลุง จะงหวัดพัทลุง ๐๘.๓๐ - ๐๙.๐๐ น. ลงทะเบียน/รับเอกสาร ๐๙.๐๐ - ๐๙.๑๕ น. การแสดงเปิดงานด้วยชุดการแสดงมโนราห์ จากนักเรียนโรงเรียนอุบลรัตนราชกัญญาราชวิทยาลัย พัทลุง ๐๙.๑๕ - ๐๙.๓๐ น. กล่าวต้อนรับผู้ร่วมงาน โดยนายวิสุทธิ์ ธรรมเพชร นายกองค์กรบริการส่วนจังหวัดพัทลุง ๐๙๓๐ - ๑๐.๐๐ น. รับชมวีดีทัศน์ความเป็นมาของสภาขับเคลื่อนพัทลุงมหานครแห่งความสุข และนำเสนอผลการดำเนินงานชองประเด็นการขับเคลื่อนพัทลุงใหานาครแห่งความสุข ๘ ประเด็น ดังนี้ ประเด็นที่ ๑ ออกแบบระบบการศึกษาเพื่อเสริมสร้างศักยภาพของผู้เรียนเพื่อสร้างพลเมืองผู้ตื่นรู้ ประเด็นที่ ๒ สร้างเศรษฐกิจเกื้อกูล ประเด็นที่ ๓ ออกแบบระบบการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเพื่อสร้างระบบนิเวศที่ยั่งยื่น ประเด็นที่ ๔ จังหวัดอาหารปลอดภัยและรักษาพันธุ์พืช/สร้างจุดเด่นด้านสมุนไพรและการดูแลสุขภาพชุมชน ประเด็นที่ ๕ การสร้างความมั่นคงของชุมชน ( สวัสิการชุมชนและที่อยู่อาศัย ) ประเด็นที่ ๖ ประวัติศาสตร์ ภูมิปัญญา ประเพณีวัฒนธรรม ประเด็นที่ ๗ ออกแบบพื้นที่พิเศษของจังหวัดพัทลุง ประเด็นที่ ๘ สร้างการท่องเที่ยวที่ยั่งยืน ๑๐.๐๐ - ๑๒.๐๐ น. ผู้เข้าร่วมงานร่วมแลกเปลี่ยนความรู้ ให้ขอเสนอแนะต่อผู้แทนประเด็นทั้ง ๘ ประเด็น ณ ลานเวทีการเรียนรู้พัทลุงมหานครแห่งความสุข ๑๒.๐๐ - ๑๓.๐๐ น. รับประทานอาหารกลางวันร่วมกันในบรรยากาศ คนเมืองลุงหิ้วชั้นมาชันชี ๑๓.๐๐ - ๑๓.๑๕ น. ตะลุง talk show ว่าด้วยโหม๋เรามาร่วมสร้างเมืองลุงแห่งความสุข ๑๓.๑๕ - ๑๔.๐๐ น. เวที่กลางถกแถลงเพื่อหาฉันทามติข้อเสนอเชิงนโยบายสาธารณะ โดยกระบวนการมีสวนร่วมในการขับเคลื่อนพัทลุงมหานครแห่งความสุข ๑๔.๐๐ - ๑๕.๐๐ น. ผู้แทนภาคีเครือข่ายร่วมแสดงเจตจำนงในการสนับสนุนการขับเคลื่อนพัทลุงมหานครแห่งความสุข - ภาครัฐ โดย ผู็ว่าราชการจังหวัดพัทลุง - ภาควิชาการ โดย อธิการบดีมหาวิทยาลัยทักษิณ และรองอิการบดีสถาบันการเรียนรู้เพื่อปวงชน - ภาคท้องถิ่น โดย นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดพัทลุง - เครือข่ายสมัชชาสุขภาพ โดย เลขาธฺการ๕ณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ - เครือข่ายองค์กรชุมชน โดย ผู้อำนวยการสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน ภาคใต้ - ภาคเอกชน โดย ประธานหอการค้าจังหวัดพัทลุง - เครือข่ายภาคธุรกิจ โดย ประธานเครือข่ายผู้ประกอบการท่องเที่ยวจังหวัดพัทลุง ๑๕.๐๐ - ๑๕.๐๐ น. พิธีประกาศปฏิญญาความร่วมือเพื่อร่วมมือเพื่อสร้างพัทลุงมหานครแห่งความสุข หมายเหตุ ๑ ขอความร่วมมือ ผู็เข้าร่วมงานนำปิ่นโตมาร่วมงานด้วย ตาม CONCEPT คนเมืองลุงหิ้วชั้นมาชันชี ๒ กำหนดการอาจเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม ๓ พักรัประธานอาการว่างและเครื่องดื่ม - ช่วงเช้า เวลา ๑๐.๐๐ - ๑๐.๑๕ น. - ช่วงบ่าย เวลา ๑๔.๓๐ - ๑๔.๔๕ น. ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต มีกรรมการร่วมกิจกรรมจำนวน5คน ผลลัพธ์ ได้เรียนรู้การทำงานขับเคลื่อนพัทลุงภายใต้แผนงานการทำงานตามประเด็น8ประเด็น
|
4 | 0 |
12. ถอนคืนเงินเปิดบัญชีธนาคาร |
||
วันที่ 30 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำถอนคืนเงินเปิดบัญชีธนาคาร ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นถอนคืนเงินเปิดบัญชีธนาคาร
|
0 | 0 |
13. อบรมคณะทำงาน ครั้งที่ 6 |
||
วันที่ 5 ตุลาคม 2565 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.ประสานคณะทำงาน นำข้อมูลความก้าวหน้าการดำเนินงานแลกเปลี่ยนกำหนดแนวทางการดำเนินงาน 2. จัดประชุมเพื่อติดตามการดำเนินงาน ร่วมกันคิด วิเคราะห์ มีปัญหาร่วมหาทางแก้ปัญหา และกำหนดแนวทางการดำเนินงาน ขับเคลื่อนตามแผนปฏิบัติการ เพื่อบรรลุตามเป้าหมายวัตถุประสงค์ที่ได้กำหนดไว้ 3. วางแผนการดำเนินการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
13 | 0 |
14. ชื่อกิจกรรมที่ 5 วางแผนการจัดการแปลง |
||
วันที่ 10 ตุลาคม 2565 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำประชุมร่วมกัน เพื่อวางแผนการปลูกพืชร่วมสวนยาง ว่าแต่ละคนมีพื้นที่เท่าไหร่ และพื้นที่มีลักษณะเป็นอย่างไร ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นข้อมูลที่ได้จากการวางแผนจัดการแปลง เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ แต่ละคน มีพื้นที่แตกต่างกัน บางคนพื้นราบและบางคนลาดเอียง
|
30 | 0 |
15. ชื่อกิจกรรมที่ 6 ส่งเสริมการจัดทำโรงเรือนเพาะชำพันธุ์พืช |
||
วันที่ 22 ตุลาคม 2565 เวลา 07:00 น.กิจกรรมที่ทำจัดหาวัสดุอุปกรณ์ในการทำโรงเพาะชำ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นโรงเรือนเพาะชำพันธ์พืช
|
5 | 0 |
16. ประเมินผลเผื่อการเรียนรู้และพัฒนา AREร่วมกับหน่วยจัดการโครงการ 1 |
||
วันที่ 10 พฤศจิกายน 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ8.30 -09.00 น. ลงทะเบียน 09.00-09.30 น. กิจกรรม กลุ่มสัมพันธ์และนำเสนอวีดีทัศน์พื้นที่เด่น 09.30-12.00 น. แบ่งกลุ่ม ทบทวนผลลัพธ์รายประเด็นและแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับภาคียุทธศาสตร์ กลุ่มที่ 1 ประเด็นน้ำเสีย ภาคียุทธศาสตร์ ทสจ.พัทลุง เทศบาลเมืองพัทลุง กลุ่มที่ 2 ประเด็นการจัดการขยะ ภาคียุทธศาสตร์ ทสจ.พัทลุง ท้องถิ่นจังหวัด อบจ. กลุ่มที่ 3 ประเด็นนาปลอดภัย ภาคียุทธศาสตร์ เกษตรจังหวัดพัทลุง พัฒนาที่ดิน ศูนย์วิจัยข้าว กลุ่มที่ 4 ประเด็นพืชร่วมยาง ภาคียุทธศาสตร์ เกษตรจังหวัดพัทลุง กยท. พัทลุง สปก. พัฒนาที่ดิน เกษตรและสหกรณ์ฯ กลุ่มที่ 5 ประเด็นการจัดการทรัพยากรชายฝั่ง ภาคียุทธศาสตร์ ทสจ.พัทลุง ม.ทักษิณ ประมงจังหวัดพัทลุง ทช5 หน่วยเรือตรวจ อบจ.พัทลุง 12.00-13.00 น. รับประทานอาหารกลางวันร่วมกัน 13.00-14.00 น. แลกเปลี่ยนเรียนรู้กระบวนการดำเนินโครงการในประเด็น - การจัดทำรายงานผ่านระบบออนไลน์ - การบริหารจัดการทีมคณะทำงาน - การเชื่อมโยงการทำงานกับภาค๊ -การจัดการด้านการเงิน 14.00-14.30 น. สรุปผลการประชุม ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น-
|
0 | 0 |
17. อบรมคณะทำงาน ครั้งที่ 7 |
||
วันที่ 11 พฤศจิกายน 2565 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.ประสานคณะทำงาน นำข้อมูลความก้าวหน้าการดำเนินงานแลกเปลี่ยนกำหนดแนวทางการดำเนินงาน 2. จัดประชุมเพื่อติดตามการดำเนินงาน ร่วมกันคิด วิเคราะห์ มีปัญหาร่วมหาทางแก้ปัญหา และกำหนดแนวทางการดำเนินงาน ขับเคลื่อนตามแผนปฏิบัติการ เพื่อบรรลุตามเป้าหมายวัตถุประสงค์ที่ได้กำหนดไว้ 3. วางแผนการดำเนินการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.ประสานคณะทำงาน นำข้อมูลความก้าวหน้าการดำเนินงาน
2. ติดตามการดำเนินงาน วิเคราะห์ มีปัญหาร่วมหาทางแก้ปัญหา และกำหนดแนวทางการดำเนินงาน ขับเคลื่อนตามแผนปฏิบัติการ
|
13 | 0 |
18. อบรมคณะทำงาน ครั้งที่ 8 |
||
วันที่ 9 ธันวาคม 2565 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.ประสานคณะทำงาน นำข้อมูลความก้าวหน้าการดำเนินงานแลกเปลี่ยนกำหนดแนวทางการดำเนินงาน 2. จัดประชุมเพื่อติดตามการดำเนินงาน ร่วมกันคิด วิเคราะห์ มีปัญหาร่วมหาทางแก้ปัญหา และกำหนดแนวทางการดำเนินงาน ขับเคลื่อนตามแผนปฏิบัติการ เพื่อบรรลุตามเป้าหมายวัตถุประสงค์ที่ได้กำหนดไว้ 3. วางแผนการดำเนินการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.ประสานคณะทำงาน นำข้อมูลความก้าวหน้าการดำเนินงานแลกเปลี่ยนกำหนดแนวทางการดำเนินงาน 2. จัดประชุมเพื่อติดตามการดำเนินงาน ร่วมกันคิด วิเคราะห์ มีปัญหาร่วมหาทางแก้ปัญหา และกำหนดแนวทางการดำเนินงาน ขับเคลื่อนตามแผนปฏิบัติการ เพื่อบรรลุตามเป้าหมายวัตถุประสงค์ที่ได้กำหนดไว้ 3. วางแผนการดำเนินการ
|
13 | 0 |
19. ชื่อกิจกรรมที่ 10 การปฏิบัติการปลูก |
||
วันที่ 2 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำลงมือปลูก ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นสมาชิกปฏิบัตการปลูก
|
30 | 0 |
20. อบรมคณะทำงาน ครั้งที่ 9 |
||
วันที่ 11 มกราคม 2566 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.ประสานคณะทำงาน นำข้อมูลความก้าวหน้าการดำเนินงานแลกเปลี่ยนกำหนดแนวทางการดำเนินงาน 2. จัดประชุมเพื่อติดตามการดำเนินงาน ร่วมกันคิด วิเคราะห์ มีปัญหาร่วมหาทางแก้ปัญหา และกำหนดแนวทางการดำเนินงาน ขับเคลื่อนตามแผนปฏิบัติการ เพื่อบรรลุตามเป้าหมายวัตถุประสงค์ที่ได้กำหนดไว้ 3. วางแผนการดำเนินการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.ประสานคณะทำงาน นำข้อมูลความก้าวหน้าการดำเนินงาน
2. ติดตามการดำเนินงาน วิเคราะห์ มีปัญหาร่วมหาทางแก้ปัญหา และกำหนดแนวทางการดำเนินงาน ขับเคลื่อนตามแผนปฏิบัติการ
|
13 | 0 |
21. ชื่อกิจกรรมที่ 7 เรียนรู้การขยายพันธ์พืช |
||
วันที่ 15 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำอบรมการเพาะชำพันธุ์พืช ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นสมาชิกนำพืชที่เพาะชำไปใช้ปลูกเพิ่มในสวน จากพืชที่ปลูกอยู่เดิม
|
30 | 0 |
22. อบรมคณะทำงาน ครั้งที่ 10 |
||
วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.ประสานคณะทำงาน นำข้อมูลความก้าวหน้าการดำเนินงานแลกเปลี่ยนกำหนดแนวทางการดำเนินงาน 2. จัดประชุมเพื่อติดตามการดำเนินงาน ร่วมกันคิด วิเคราะห์ มีปัญหาร่วมหาทางแก้ปัญหา และกำหนดแนวทางการดำเนินงาน ขับเคลื่อนตามแผนปฏิบัติการ เพื่อบรรลุตามเป้าหมายวัตถุประสงค์ที่ได้กำหนดไว้ 3. วางแผนการดำเนินการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.ประสานคณะทำงาน นำข้อมูลความก้าวหน้าการดำเนินงาน
2. ติดตามการดำเนินงาน วิเคราะห์ มีปัญหาร่วมหาทางแก้ปัญหา และกำหนดแนวทางการดำเนินงาน ขับเคลื่อนตามแผนปฏิบัติการ
|
13 | 0 |
23. อบรมคณะทำงาน ครั้งที่ 11 |
||
วันที่ 10 มีนาคม 2566 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.ประสานคณะทำงาน นำข้อมูลความก้าวหน้าการดำเนินงานแลกเปลี่ยนกำหนดแนวทางการดำเนินงาน 2. จัดประชุมเพื่อติดตามการดำเนินงาน ร่วมกันคิด วิเคราะห์ มีปัญหาร่วมหาทางแก้ปัญหา และกำหนดแนวทางการดำเนินงาน ขับเคลื่อนตามแผนปฏิบัติการ เพื่อบรรลุตามเป้าหมายวัตถุประสงค์ที่ได้กำหนดไว้ 3. วางแผนการดำเนินการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.ประสานคณะทำงาน นำข้อมูลความก้าวหน้าการดำเนินงาน
2. ติดตามการดำเนินงาน วิเคราะห์ มีปัญหาร่วมหาทางแก้ปัญหา และกำหนดแนวทางการดำเนินงาน ขับเคลื่อนตามแผนปฏิบัติการ
|
13 | 0 |
24. อบรมคณะทำงาน ครั้งที่ 12 |
||
วันที่ 28 เมษายน 2566 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.ประสานคณะทำงาน นำข้อมูลความก้าวหน้าการดำเนินงานแลกเปลี่ยนกำหนดแนวทางการดำเนินงาน 2. จัดประชุมเพื่อติดตามการดำเนินงาน ร่วมกันคิด วิเคราะห์ มีปัญหาร่วมหาทางแก้ปัญหา และกำหนดแนวทางการดำเนินงาน ขับเคลื่อนตามแผนปฏิบัติการ เพื่อบรรลุตามเป้าหมายวัตถุประสงค์ที่ได้กำหนดไว้ 3. วางแผนการดำเนินการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.ประสานคณะทำงาน นำข้อมูลความก้าวหน้าการดำเนินงาน
2. ติดตามการดำเนินงาน วิเคราะห์ มีปัญหาร่วมหาทางแก้ปัญหา และกำหนดแนวทางการดำเนินงาน ขับเคลื่อนตามแผนปฏิบัติการ
|
13 | 0 |
25. ค่าบริการอินเตอร์เน็ต |
||
วันที่ 30 เมษายน 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำจ่ายค่าบริการอินเตอร์เน็ต ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น-
|
0 | 0 |
26. ชื่อกิจกรรมที่ 11 ติดตามแปลงป้าหมาย 2 ครั้ง |
||
วันที่ 1 พฤษภาคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำลงสำรวจ ติดตาม แปลงเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นสำรวจข้อมูลการปลูกพืชของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ จำนวน 2 ครั้ง ครั้งแรก ลงสำรวจวันที่ 3 ก.พ. 2566 -เกษตกรได้ดำเนินการปลูกเรียบร้อย -มีการวางแผนการปลูกเป็นสัดส่วน -มีเกษตกรเข้าร่วม จำนวน 30 คน - มีพื้นที่ 60 ไร่ ครั้งที่สอง ลงสำรวจวันที่ 1 พ.ค. 2566 - พืชที่ลงปลูกไปในรอบแรกความเสียจากอุทกภัย แต่เกษตกรได้ดำเนินการปลูกใหม่เรียบร้อย -เกษตกรบางรายสามารถนำพืชมาสร้างรายได้ให้เกิดขึ้นได้แล้ว ติดตามการปลูกพืช ของสมาชิก
|
30 | 0 |
27. ชื่อกิจกรรมที่ 12 เวทีเรียนรู้ผลการปฏิบัติงาน 2 ครั้ง |
||
วันที่ 5 พฤษภาคม 2566 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำแลกเปลี่ยนข้อมูลซึ่งกันและกัน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเวทีเรียนรู้ผลการปฏิบัติงาน 2 ครั้ง 1. วันที่ 6 ก.พ. 2566 - คณะกรรมการได้นำข้อมูลที่ลงสำรวจมาแจ้งให้กับเกษตกรที่เข้าร่วมโครงการทราบ - แลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างเกษตกร 2. วันที่ 5 พ.ค. 2566 - คณะกรรมการได้นำข้อมูลที่ลงสำรวจมาแจ้งให้กับเกษตกรที่เข้าร่วมโครงการทราบ - แลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างเกษตกร - นำปัญหาที่เกิดมา วิเคราะห์และหาแนวทางแก้ไขร่วมกัน
|
30 | 0 |
28. ARE พื้นที่ ครั้งที่ 1 |
||
วันที่ 23 พฤษภาคม 2566 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำแลกเปลี่ยนข้อมูลการดำเนินการที่ผ่านมา ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นปญ.สกย.บ้านควนอินนอโม จำกัด 1 จำนวนสมาชิกที่เข้าร่วมโครงการ 30 คน 2. จำนวนพื้นที่ 60 กว่าไร่ 3. จำนวนคณะทำงาน 15 คน และอื่นๆ
|
28 | 0 |
29. ประเมินผลเผื่อการเรียนรู็และพัฒนา AREร่วมกับหน่วยจัดการโครงการ |
||
วันที่ 30 พฤษภาคม 2566 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำ09.00 หน่วยจัดชี้แจงวัตถุประสงการจัดกิจกรรม 09.30 กิจกรรมสร้งความสัมพันธ์ 10.00 แบ่งกลุ่มตามประเด็นนำเสนอผลการทำงานจากแต่ละพื้นที่ 11.30 สรุปผลการคุยในกลุ่มย่อย 12.00 พักเที่ยง 13.00 แบ่งกลุ่มย่อ 14.30 สรุปผลกลุ่มย่อย 15.00 สรุปผลการจัดกิจกรรม ปิดประชุม ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต มีคณะทำงานโครงการจำนวน3คนเข้าร่วมกิจกรรม ผลลัพธ์ ผู้ร่วมกิจกรรมได้ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผลการดำเนินงานของแต่ละพื้นที่ร่วมกัน และได้ฝึกทักษะการพูดคุยในที่ประชุม
|
0 | 0 |
30. ชื่อกิจกรรมที่ 8 เรียนรู้การทำปุ๋ยหมักแทนการใช้สารเคมี |
||
วันที่ 17 มิถุนายน 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำจัดอบรมการทำปุ๋ยหมักแทนการใช้สารเคมี จัดทำปุ๋ยหมัก เพื่อให้เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการนำไปใช้ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเกษตรกรได้ปุ๋ยหมัก คน 3 กระสอบ
|
30 | 0 |
31. ชื่อกิจกรรมที่ 9 เรียนรู้การทำน้ำหมักแทนการใช้สารเคมี |
||
วันที่ 20 มิถุนายน 2566 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำจัดทำน้ำหมักเพื่อไล่แมลงแทนการใช้สารเคมี ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นสมาชิกได้รับน้ำหมักไปใช้แทนการใช้สารเคมี
|
30 | 0 |
32. ARE พื้นที่ ครั้งที่ 2 |
||
วันที่ 21 มิถุนายน 2566 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำแลกเปลี่ยนข้อมูลการดำเนินการที่ผ่านมา ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นปญ.สกย.บ้านควนอินนอโม จำกัด 1 จำนวนสมาชิกที่เข้าร่วมโครงการ 30 คน 2. จำนวนพื้นที่ 60 กว่าไร่ 3. จำนวนคณะทำงาน 15 คน และอื่นๆ
|
28 | 0 |
33. ชื่อกิจกรรมที่ 13 สร้างพื้นที่แบ่งปันผลผลิตทางการเกษตร |
||
วันที่ 25 มิถุนายน 2566 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.ร่วมกันหาแนวทาง การวางแผนการตลาด 2. รวมกลุ่ม จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ผลผลิตที่เกิดขึ้น 3. กำหนดแผนการตลาด ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นวางแผนแนวทางการจำหน่ายผลผลิต
|
28 | 0 |
34. ชื่อกิจกรรมที่ 15 สรุปผลการดำเนินโครงการ |
||
วันที่ 25 กรกฎาคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำจัดเวทีสรุปผลการดำเนินการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นสรุปผลการดำเนินโครงการ 1 จำนวนสมาชิก 30 คน 2. จำนวนพื้นที่ 60กว่าไร่ 3. เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้นจากการจำหน่ายพืช
|
56 | 0 |
35. สมัชชพัทลุงมหานครแห่งความสุข หิ้วชั้นมาชันชี2 |
||
วันที่ 15 สิงหาคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำตามที่ส านักสร้างสรรค์โอกาส (ส านัก 6) ส านักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ได้สนับสนุนกระบวนการให้เครือข่ายภาคประชาสังคมที่ท างานเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพชุมชนในนาม หน่วยจัดการที่มีจุดเน้นส าคัญทางยุทธศาสตร์ (Node flagship) จังหวัดพัทลุง เป็นผู้ด าเนินการหนุนเสริม กระบวนการสร้างความเข้มแข็งของเครือข่ายภาคประชาสังคมในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด ซึ่งในส่วนของหน่วยจัดการระดับ flagship พัทลุงนั้นก าหนดเป้าหมายการขับเคลื่อนงานสู่ “Phatthalung Green City” ในการนี้หน่วยจัดการจังหวัดระดับ flagship พัทลุง ได้เชื่อมโยงการท างานกับภาคีทั้งในระดับพื้นที่ และระดับจังหวัด และร่วมกับองค์การบริหารส่วนจังหวัดพัทลุง จัดงาน สมัชชาพัทลุงมหานครแห่งความสุข ครั้งที่ 2 “คนเมืองลุงหิ้วชั้นมาชันชี เพื่อก าหนดอนาคตตนเอง” โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อน าเสนอการด าเนินงาน ของภาคีต่างๆ และเชื่อมโยงการด าเนินงานสู่การขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วม เพื่อให้จังหวัด พัฒนาเป็นมหานครแห่งความสุขของคนพัทลุง ดังนั้น เพื่อให้การด าเนินการของหน่วยจัดการที่มีจุดเน้นส าคัญทางยุทธศาสตร์ (Node flagship) จังหวัดพัทลุง เป็นไปด้วยความเรียบร้อย บรรลุวัตถุประสงค์จึงขอเชิญท่านในฐานะผู้รับผิดชอบโครงการ พร้อมด้วย คณะท างานอีก 2 ท่าน เข้าร่วมเรียนรู้ในงานสมัชชาพัทลุงมหานครแห่งความสุข ครั้งที่ 2 ในวันที่ 15 สิงหาคม 2566 เวลา 09.00 – 16.30 น. ณ หอประชุมเฉลิมพระเกียรติ มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขต พัทลุง ทั้งนี้ขอความร่วมมือท่านน าปิ่นโตมาร่วมงานด้วนท่านละ 1 ปิ่นโต โดยทางผู้จัดงานรับผิดชอบ ค่าใช้จ่ายปิ่นโตละ 100 บาท ส าหรับค่าเดินทางเข้าร่วมงานสามารถเบิกจากได้จากงบประมาณโครงการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น-
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อให้กลไกขับเคลื่อนป่าร่วมยางได้อย่างเข้มแข็ง ตัวชี้วัด : 1. มีกลไกคณะทำงานอย่างน้อย 15 คน ที่สามารถขับเคลื่อนได้อย่างต่อเนื่อง มีการแบ่งบทบาท ความร่วมคิด ร่วมทำ วิเคราะห์ปัญหาทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และได้รับการยอมรับ 2. เครือข่ายอนุรักษ์พันธุ์กรรมพืชในป่ายางอย่างน้อย 1 เครือข่าย ขับเคลื่อนป่าร่วมยางมีการขยายไปสู่ชาวสวนยาง |
1.00 |
|
||
2 | 2.เพื่อให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสู่ระบบป่าร่วมยางครบวงจร ตัวชี้วัด : 1.ชาวสวนยางมีความรู้และความตระหนักความสำคัญของป่าร่วมยาง 2. เกิดครัวเรือนปรับเปลี่ยนการปลูกยางพาราเพียงอย่างเดียวสู่พืชร่วมยางที่มีพืชอย่างน้อย 5 ประเภทไม่น้อยกว่า 30 ครัวเรือน พื้นที่อย่างน้อย 60 ไร่ 3. มีระบบการกระจายพืชผักและผลผลิตที่ได้จากป่าร่วมยาง มีตลาดทางเลือกจำนวน 2 ตลาด 4.มีแผนการแลกเปลี่ยนแบ่งปันผลผลิตในระดับชุมชนและนอกชุมชนเพื่อสร้างคุณค่าและมูลค่าให้กับป่าร่วมยาง พร้อมขับเคลื่อนแลกเปลี่ยนแบ่งปันผลผลิต |
1.00 |
|
||
3 | 3. มีป่าร่วมยางยั่งยืนเป็นพื้นที่ผลิตอาหารปลอดภัยเพิ่มขึ้น ตัวชี้วัด : 1. เกิดพื้นที่ป่าร่วมยางในจังหวัดพัทลุงไม่น้อยกว่า 60 ไร่ 2. ผู้เข้าร่วมโครงการมีรายได้จากการสร้างพื้นที่ป่าร่วมยางอย่างน้อย 1,000 บาทต่อเดือน 3.มีครัวเรือนอย่างน้อย 30 ครัวเรือนมีอาหารปลอดภัยบริโภคในครัวเรือนเพิ่มขึ้นสามารถลดรายจ่ายในครัวเรือนอย่างน้อยเดือนละ 300 บาท |
1.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 170 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายรอง | 136 | ||
กลุ่มเป้าหมายหลัก | 34 |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้กลไกขับเคลื่อนป่าร่วมยางได้อย่างเข้มแข็ง (2) 2.เพื่อให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสู่ระบบป่าร่วมยางครบวงจร (3) 3. มีป่าร่วมยางยั่งยืนเป็นพื้นที่ผลิตอาหารปลอดภัยเพิ่มขึ้น
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ชื่อกิจกรรมที่ 1 อบรมคณะทำงาน ครั้งที่ 1 (2) กิจกรรม ที่เข้าร่วมกับหน่วย สสส. (3) ชื่อกิจกรรมที่ 2 เรียนรู้สร้างความเข้าใจ (4) ชื่อกิจกรรมที่ 3 ศึกษาดูงาน (5) ชื่อกิจกรรมที่ 4 สรุปผลจากการศึกษาดูงานและวิธีการดำเนินการ (6) ชื่อกิจกรรมที่ 1 อบรมคณะทำงาน (7) ชื่อกิจกรรมที่ 5 วางแผนการจัดการแปลง (8) ชื่อกิจกรรมที่ 8 เรียนรู้การทำปุ๋ยหมักแทนการใช้สารเคมี (9) ชื่อกิจกรรมที่ 9 เรียนรู้การทำน้ำหมักแทนการใช้สารเคมี (10) ถอนคืนเงินเปิดบัญชีธนาคาร (11) ชื่อกิจกรรมที่ 6 ส่งเสริมการจัดทำโรงเรือนเพาะชำพันธุ์พืช (12) ชื่อกิจกรรมที่ 14 ARE พื้นที่ 2 ครั้ง (13) ชื่อกิจกรรมที่ 7 เรียนรู้การขยายพันธ์พืช (14) ชื่อกิจกรรมที่ 11 ติดตามแปลงป้าหมาย 2 ครั้ง (15) ชื่อกิจกรรมที่ 12 เวทีเรียนรู้ผลการปฏิบัติงาน 2 ครั้ง (16) ชื่อกิจกรรมที่ 10 การปฏิบัติการปลูก (17) ชื่อกิจกรรมที่ 13 สร้างพื้นที่แบ่งปันผลผลิตทางการเกษตร (18) ชื่อกิจกรรมที่ 15 สรุปผลการดำเนินโครงการ (19) ค่าบริการอินเตอร์เน็ต (20) ปฐมนิเทศโครงการ (21) จัดทำป้ายโครงการ (22) อบรมคณะทำงาน ครั้งที่ 2 (23) อบรมคณะทำงาน ครั้งที่ 3 (24) อบรมคณะทำงาน ครั้งที่ 4 (25) อบรมคณะทำงาน ครั้งที่ 5 (26) งานสมัชชา พัทลุง มหานครแห่งความสุข (27) อบรมคณะทำงาน ครั้งที่ 6 (28) ARE พื้นที่ ครั้งที่ 1 (29) ARE พื้นที่ ครั้งที่ 2 (30) ประเมินผลเผื่อการเรียนรู้และพัฒนา AREร่วมกับหน่วยจัดการโครงการ 1 (31) อบรมคณะทำงาน ครั้งที่ 7 (32) อบรมคณะทำงาน ครั้งที่ 8 (33) อบรมคณะทำงาน ครั้งที่ 9 (34) อบรมคณะทำงาน ครั้งที่ 10 (35) อบรมคณะทำงาน ครั้งที่ 11 (36) อบรมคณะทำงาน ครั้งที่ 12 (37) ค่าบริการอินเตอร์เน็ต (38) ประเมินผลเผื่อการเรียนรู็และพัฒนา AREร่วมกับหน่วยจัดการโครงการ (39) สมัชชพัทลุงมหานครแห่งความสุข หิ้วชั้นมาชันชี2
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ
โครงการการฟื้นคืนชีวิตชาวสวนยางด้วยวิถีป่าร่วมยางยั่งยืน บ้านควนอินนอโม จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 65-00232-0024
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายก่อเกียรติ บุญพน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......