directions_run

ส่งเสริมการปลูกผักปลอดภัยชุมชนเลสุ ตำบลกาลูปัง

แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

กิจกรรมระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
ติดตามผักปลอดภัยได้รับการรับรองมาตรฐาน 1 เม.ย. 2565

 

 

 

 

 

พัฒนาศักยภาพโครงการย่อยร่วมกับหน่วยจัดจังหวัด 1 เม.ย. 2565

 

 

 

 

 

พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการ 1 เม.ย. 2565

 

 

 

 

 

ถอดบทเรียนและสรุปโครงการ 1 เม.ย. 2565

 

 

 

 

 

อบรมสมาชิกกลุ่มเกษตรกรเพื่อผลิตผักปลอดภัย 1 เม.ย. 2565

 

 

 

 

 

กิจกรรมจัดทำรายงานโครงการ 1 เม.ย. 2565 1 เม.ย. 2565

 

คณะกรรมการบันทึกการายงาน

 

ได้รับความรู้ขั้นตอน และกระบวนการทำงานผ่านระบบเกิดความสะดวกต่อผู้ใช้งาน และมีหลักฐานในการดำเนินงานตามที่เขียนในโครงการที่เกิดขึ้นจริง

 

เปิดบัญชีธนาคาร 29 เม.ย. 2565 29 เม.ย. 2565

 

เปิดบัญชีธนาคาร

 

เปิดบัญชีธนาคาร

 

ปฐมนิเทศโครงการ 5 พ.ค. 2565 5 พ.ค. 2565

 

-ลงทะเบียน -บรรยยายให้ความรู้ -พักทานอาหารเที่ยง

 

-เรียนรู้แนวทางการดำเนินงานทั้งหมด -การรายงานในระบบ -ใบสำคัญรับเงิน -การพัฒนาศักยภาพส่วนบุคคล

 

จัดทำป้ายไวนิลโครงการและไวนิลเขตปลอดบุหรี่ 9 พ.ค. 2565 9 พ.ค. 2565

 

-ออกแบบป้ายไวนิล -ส่งรูปให้ร้านสั่งพิมพ์

 

ผลผลิต     เป็นป้ายกำกับวันที่ ในกิจกรรมต่าง ๆของโครงการปลูกผักปลอดภัย ผลลัพธ์     นำไปเป็นฐานในกิจกรรมที่โครงการได้ปฎิบัติจริง

 

ประชุมคณะกรรมการครั้งที่1 10 พ.ค. 2565 10 พ.ค. 2565

 

-เปิดพิธี -ชี้แจงโครงการ -รับประทานอาหาร -หาข้อสรุป

 

-งบประมาณที่โครงการให้คือ100,000บาท จะแบ่งเป็น 3งวด คือ40 50และ10 -แบ่งหน้าที่ที่ชัดเจนแก่คณะกรรมการ 10 คนที่เลือกมา -หารือใบสมัครสมาชิก -สร้างคำถามในใบสมัครสมาชิก -สร้างกฎกติกา ในการเป็นสมาชิก -สรุปกิจกรรมที่ต้องทำในเดือนถัดไป

 

เวทีออกแบบการเก็บและสำรวจข้อมูลเกษตรกร 13 พ.ค. 2565 13 พ.ค. 2565

 

  • สร้างคำถามเพื่อจัดเก็บข้อมูล
  • สร้างเงื่อนไข

 

ผลผลิต     สมาชิกยอมรับเงื่อนไข     สมาชิกเข้าใจคำถาม ผลลัพธ์     สามารถรู้และจัดเก็บข้อมูลเบื้องต้นของสมาชิก     สามารถกำหนดแบบแผนในอนาคตได้ง่าย

 

เปิดรับสมัครสมาชิกใหม่ร่วมโครงการ 13 พ.ค. 2565 13 พ.ค. 2565

 

-เรียกคนในชุมชนที่ต้องการสมัครสมาชิกรวมตัวกันที่ร้านประจำหมู่บ้านผ่านเสียงตามสาย -ชี้แจงโครงการทำความเข้าใจให้ตรงการกับสมาชิก -สรุปกติกาที่ต้องมีรวมกันในการเป็นสมาชิก -แจกใบสมัครแก่สมาชิก

 

-เงื่อนไข/กติกา 1.มีประสบการณ์ในการปลูก 2.มีพื้นที่อย่างน้อย 5ตร.ม.หรือ 1.5ไร่สำหรับพื้นที่ขนาดใหญ่ 3.เพาะปลูกจริง 4.ปลูกผักปลอดสารพิษ 5.ปลูกอย่างต่อเนื่อ 6.สมาชิกต้องเข้าอบรม/ประชุมประจำเดือน 7.มีรั้วกั้นพื้นที่เพาะปลูก -สมาชิกทั้งหมดที่สมัคร จำนวน25คน หลักฐานที่มีประกอบด้วย 1.สำเนาบัตรประชาชน 2.สำเนาทะเบียนบ้าน

 

ป้ายไวนิลบันไดผลลัพธ์ 15 พ.ค. 2565 15 พ.ค. 2565

 

เลขารับหน้าที่ประสานงานทำป้ายไวนิลบันไดผลธ์และตราปั้มยางของกลุ่ม ที่ร้านอัลมีเดียโฆษณา ในตัวเมืองยะลา

 

ต้องรอ3วัน ทางร้านทำสำเร็จและไปรับอีกที

 

เวทีเรียนรู้การจัดทำรายงานผลการดำเนินงานผ่านระบบ 21 พ.ค. 2565 21 พ.ค. 2565

 

คณะทำงานเข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 2 คน 1.การเข้าใช้งานระบบ 2.การลงแผนงานลงในระบบ 3.การบันทึกกิจกรรมในเว็บไซต์

 

1.คณะทำงานจำนวน 2 คน ได้รับความรู้ควบคู่กับปฎิบัติ 2.มีการบันทึกกิจกรรมอย่างครบถ้วน

 

เวทีการตรวจแปลงเกษตรกรก่อนการปลูก เพื่อ ปรับ/เตรียมการปลูกที่ถูกต้องตามขั้นตอน รับรอง GAP 2 มิ.ย. 2565 2 มิ.ย. 2565

 

-เปิดตัวโครงการ -แนะนำชุมชนให้ภาคีเครือข่ายได้รู้จัก -แนะนำภาคีเครือข่าย -ตรวจแปลงปลูก เพื่อปรับ/เตรียม การปลูกที่ถูกต้อง

 

ผลผลิต     รู้จักภาคีเครือข่ายที่สามารถประสานงานและช่วยเหลือโครงการให้บรรลุเป้าหมาย เช่นการจัดอบรมต่าง ๆ ที่เครือข่ายมีความรู้และ การแนะนำ/แก้ปัญหาที่โครงการประสบ     ตรวจแปลงปลูกของสมาชิกที่มีมาตราฐานเพื่อเป็นตัวอย่างให้สมาชิกอื่น ๆ ผลลัพธ์     สมาชิกมีความรู้การปลูกผัก     มีภาคีเครือข่ายหนุนเสริมและกำกับ

 

กิจกรรมอบรมเกษตรกร เพื่อเตรียมความพร้อมเข้าสู่ระบบการรับรองมาตรฐาน GAP 10 มิ.ย. 2565 10 มิ.ย. 2565

 

-เปิดพิธี -ให้คามรู้ความสำคัญของมาตรฐานGAP -หลักฐานในการขอGAP -วิทยากรคือ

 

จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 40คน ผลผลิต   หลักฐาน การขอ GAP ประกอบด้วย บัตรประชาชน,หนังสือรับรองการจดทะเบียนนิติบุคคล,หนังสือมอบอำนาจ,แบบคำขอใบรับรองแหล่งผลิต GAP พืชหรือแหล่งผลิตพืชอินทรีย์,สำเนาใบรับรองฉบับเดิม,สำเนาหลักฐานการครอบครองพื้นที่ ผลลัพธ์   สมาชิกจัดการเอกสารที่ต้องดำเนินการ

 

เวทีพัฒนา เพื่อยกระดับกลุ่ม ศึกษาดูงานพพื้นที่ต้นแบบวิสาหกิจชุมชน(สวนนูรีสฟาร์มลำใหม่) 20 มิ.ย. 2565 20 มิ.ย. 2565

 

-ลงทะเบียนสมาชิกที่ไปสวนนูรีสฟาร์ม -สมาชิกขึ้นรถ จำนวน 3คัน -ดูแปลงปลูกของฟาร์ม -ฟังบรรยาย ที่มาและความสำคัญของฟาร์ม พร้อมแนะนำวิธีการปลูกแบบนูรีสฟาร์ม

 

ผลผลิต     ตระหนักเรื่องมาตรฐานGAPที่สมาชิกควรได้รับเนื่องจากเป็นไปเบิกทางในการสร้างรายได้     รู้วิธีการปลูกผักปลอดภัยของสวนนูรีสฟาร์มและปัญหาที่เคยเกิดขึ้น ผลลัพธ์     สมาชิกทุกคนมีความต้องการปลูกผักปลอดภัยและได้รับมาตรฐานGAP เพื่อสร้างรายได้

 

ประชุมคณะกรรมการครั้งที่2 19 ก.ค. 2565 19 ก.ค. 2565

 

-ชี้แจงการจัดอบรมและศึกษาดูงาน -ชี้แจงงบประมาณที่ตั้งไว้กับกิจกรรม -กำหนดเวรที่ต้องรับผิดชอบของกรรมการ

 

ผลผลิต   รับรู้ว่ากิจกรรมที่จะทำในครั้งถัดไปคือการศึกษาดูงาน และงบประมาณที่ได้รับเพื่อบริหารจัดสรรให้สอดคล้องกับกิจกรรมนี้ ผลลัพธ์   กรรมการรับรู้และจัดทำตารางเวลาในการศึกษาดูงาน ณ สวนนูรีสฟาร์ม

 

เวที ติดตาม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ (ARE ครั้งที่ 1) 23 ก.ค. 2565 23 ก.ค. 2565

 

-เปิดพิธี -พูดคุยแลกเปลี่ยนโดยใช้มายแมปปิ้ง -สรุป -ให้คำแนะนำ โดยเพิ่มเติมข้อมูลที่ยังไม่มีการเก็บ

 

ผลผลิต   รับรู้เหตุผลในการเลือกกรรมการโดยคัดเลือกจากคุณลักษณะที่กรรมการควรมีโดยผ่านสภาผู้นำของหมู่บ้าน และปัญหาที่กรรมการควรพัฒนาต่อไปในอนาคตเช่นการสร้างผู้นำที่ดี   รับรู้ปัญหาข้อมูลที่ต้องปรับปรุงและเพิ่มเติม ผลลัพธ์     มีการเก็บข้อมูลสำหรับสมาชิกที่มีการปลูกพืชตามที่กำหนดโดยจัดเก็บข้อมูลวันที่ปลูก,จำนวนที่ปลูก,     มีการวางแผนในการปลูกในรอบถัดไป

 

ประชุมคณะกรรมการครั้งที่3 5 ก.ย. 2565 5 ก.ย. 2565

 

-พูดคุยแลกเปลี่ยนความรู้และเสนอแนะ สำหรับกิจกรรมที่จะเกิดขึ้นในเดือนถัดไปคือการประชุมAREครั้งที่1 บทบาทและหน้าที่ ที่จะต้องปฎิบัติ เช่นการเลือกคุณ มะลาเซ็งมาเป็นวิทยากร มีการคัดเลือกกรรมการบางท่านให้มาพูดถึงบรรไดผลลัพธ์โดยโครงการอยู่ขั้นที่เท่าไร และเชิญสมาชิก 5 คนร่วมกิจกรรมด้วย อุปกรณที่ต้องเตรียมในงานเช่น กระดาษโรตี กระดาษโน้ต ปากกาสี
- อาหารว่างเป็นขนมข้าวต้มหมัด น้ำหวาน - กำหนดวันแจกเมล็ดพันธ์ให้แก่สมาชิก - รูปแบบการประชุม คือการเล่าประสบการณ์ และปัญหาที่เกิดขึ้น

 

ผลผลิต - การเตรียมงานดำเนินไปอย่างง่ายดายเนื่องจากเตรียมตามที่ประชุมไว้ทุกคนทำหน้าที่ตามที่ได้รับหมาย
- ได้เรียนรู้การเขียนมายแมป ให้เห็นภาพรวมเข้าใจง่าย - เข้าใจถึงกิจกรรมที่ได้ทำอยู่ขั้นบรรไดที่2

ผลลัพธ์

- -

 

อบรมการปรุงดินและทำปุ๋ยชีวภาพ 8 ก.ย. 2565 8 ก.ย. 2565

 

pppp

 

ppp

 

ปลูกผักปลอดภัย ค่าอุปกรณ์ และเมล็ดพันธ์พืช 12 ก.ย. 2565 12 ก.ย. 2565

 

เมล็ด กระเพรา ถั่วฟักยาว พริกขี้หนู พริกหยวก ผักบุ้ง มะเขือยาว โหระพา แตงกวา ข้าวโพด

 

แจกให้กับสมาชิกกลุ่ม จำนวน40 คน

 

เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ครั้งที่1 17 ก.ย. 2565 17 ก.ย. 2565

 

-ชี้แจงวัตถุประสงค์ของกิจกรรม -พรีเซนต์ชุมชนต้นแบบของโครงการที่ทำเป็นปีที่2 -แยกกลุ่มระหว่างโครงการผักปลอดภัยและอุบัติเหตุ -พรีเซนต์โครงการแต่ละกลุ่ม ว่าทำถึงบรรไดที่เท่าไรของโครงการ -ตอบคำถามปัญหาและเสนอคำแนะนำ

 

ผลผลิต

 

ดอกเบี้ยรับ 24 ก.ย. 2565 24 ก.ย. 2565

 

ดอกเบี้ยรับ

 

ดอกเบี้ยรับ

 

เวทีติดตามประเมินผลรายงานการดำเนินการตามผลลัพธ์ย่อย 22 ต.ค. 2565 22 ต.ค. 2565

 

-ลงทะเบียนเข้าร่วมกิจกรรมโดยมีตัวแทน2คนจากคณะกรรมการ ของโครงการ มีการออกกำลังกายบริหารกล้ามเนื้อในตอนเช้า
-ผู้เข้าอบรมเริ่มตรวจสอบการรายงานในระบบให้มีความถูกต้องมากที่สุด เช่น เอกสาร งบประมาณ รูปภาพประกอบ -ชี้แจงให้ผู้บันทึกรายงานจำเป็นต้องให้แล้วเสร็จ ในวันที่ 28และส่งให้พี่เลี้ยงโครงการตรวจสอบอีกครั้งเพื่อความถูกต้องและจะต้องเสร็จสมบูรณืในวันที่30 ตุลาคม -งบประมาณงวดที่2จะได้รับเมื่อบันทึกรายงานเสร็จสมบูรณ์และพี่เลี้ยงลงลายมือชื่อเอกสารถูกต้อง

 

ยยยยยย

 

เวทีพัฒนาศักยภาพการสื่อสารประชาสัมพันธ์ เพื่อการเผยแพร่/ขยายผลการดำเนินงาน 6 พ.ย. 2565 6 พ.ย. 2565

 

คณะทำงานร่วมเวทีพัฒนาศักยภาพการสื่อสารประชาสัมพันธ์ เพื่อการเผยแพร่/ขยายผลการดำเนินงาน ณ อบต.หน้าถ้ำ ในวันที่ 6 พฤศจิกายน 2565

 

คณะทำงาน เกิดความรู้ความเข้าใจในการใช้สื่อประชาสัมพันธ์

 

ประชุมติดตามผลการผลิตการรับรองมาตราฐานGAP 21 พ.ย. 2565 21 พ.ย. 2565

 

คณะกรรมการ และสมาชิก ติดตามผลการผลิตเพื่อรับรองมาตรฐานGAP ในวันที่ 21 เดือนพฤศจิการยน 2565 ณ อาคารอเนกประสงค์มัสยิดอัลฮีดายะห์เลสุ

 

ลลล

 

ประชุมคณะกรรมการครั้งที่4 21 พ.ย. 2565 20 พ.ย. 2565

 

เปิดพิธี ประชุมติดตามผลการผลิตตามมารตฐานGAP เลือกตัวแทนในสมาชิกกลุ่มปลูกผักที่สนใจ เอกสารประกอบในการขอใบรับรองมาตรฐานGAP

 

ได้เลือกสมาชิกจำนวน 10 คนที่พร้อมด้านเอกสารและปัจจัยตาามเงื่อนไขของการขอรับรองมาตราฐาน ที่กำหนดไว้

 

ประชุมคณะกรรมการครั้งที่5 26 ธ.ค. 2565 26 ธ.ค. 2565

 

เปิดพิธี แจกแจงรายละเอียดกิจกรรมที่ต้องทำในเดือนนี้ เงินในงวดที่2ต้องใช้ไปกับอะไรบ้าง เพื่อให้สมาชิกได้รับรู้ ออกแบบกิจกรรมในวันที่จัดAREครั้งที่2ของกลุ่มเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ต้องการ

 

รูปแบบกิจกรรมในวันที่จัดAREครั้งที่2ของกลุ่ม ควรให้สมาชิกสะท้อนปัญหาหรือสิ่งที่อยากจะพูด เสนอแนะ หรือชมให้กำลังใจและคำติ

 

ติดตามและประเมินผลAREครั้งที่2 29 ธ.ค. 2565 29 ธ.ค. 2565

 

เปิดพิธี แสดงความคิดเห็น สร้างเป็นมายแม็ปปิ้งเพื่อให้เห็นภาพรวมชัดเจน หัวข้อ ปัญหา การตลาด การผลิต จุดอ่อน จุดแข็ง โอกาสและอุปสรรค

 

เมล็ดพันธ์ที่แจกไปมีบางคนไม่ถูกใจ เสนอแนะว่าให้ซื้อเมล็ดเองแล้วนำใบเสร็จมาให้ และเราจะจ่ายเงิน ปัญหาที่ผ่าน คือยังไม่ปลูก เนื่องจากเป็นพื้นที่น้ำท่วม ตลาดไม่เข้มแข็ง กลุ่มผักอาจจะยังดำเนินการไม่เต็มที่แต่กลุ่มเราไม่แตกแน่นอนเพราะมีการออมทรัพย์เพื่อยึดเหนี่ยวกลุ่ม การผลิตควรแจกแจง โดยการสร้างตาราการผลิต
การปลูกแบบยกแคร่อาจเป็นเรื่องใหม่สำหรับกลุ่ม แต่เป็นทางเลือกที่ดีในช่วงน้ำท่วม เนื่องจากการปลูกผักเป็ยรายได้เสริม จึงไม่ตระหนักและทำเต็มที่และจริงจัง

 

ประชุมคณะกรรมการร่วมกับพี่เลี้ยงเฉพาะกิจ 31 ม.ค. 2566 31 ม.ค. 2566

 

คณะกรรมการร่วมกับพี่เลี้ยงประชุมเฉพาะกิจ ในวันที่ 31 มกราคม 2566 ณ ร้านค้าอามานะห์

 

เกิดทักษะการสื่อสารนำเนอไอเดียแก่สมาชิก และเกิดทักษะการแก้ปัญหา

 

เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ครั้งที่2 4 ก.พ. 2566 4 ก.พ. 2566

 

คณะทำงานเข้าร่วมกิจจกรรม AREครั้งที่2 ณ โรงแรมยะลาแกรนพาเลส วันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2566 - เชิญภาคีเครือข่ายทั้ง 15 หน่วย - เชิญหน่วยงานภาคียุทธศาสตร์ เพื่อหนุนเสริมมาวางแผนกับกลุ่ม - มีพิธีมอบเกียรติบัตรของพื้นที่ต้นเเบบ
- แบ่งกลุ่มผักเป็น 2 กลุ่ม คือวิสาหกิจเเละกลุ่มเกษตร
- แบ่งกลุ่มวิเคราะห์ 1. กลไกการทำงาน 2. ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการปลูกผักเพื่อเพิ่มรายได้ 3. ผสานภาคีในการช่วยกันทำงานอย่างไร 4. ผลลัพธ์ความสำเร็จ 5. ปัญหา/อุปสรรค

 

แลกเปลี่ยนการเรียนรู้ของกลุ่มเกษตร 1. กลไกการทำงาน ว่าเลือกมายังไง เช่น คนปลูกผัก เป้าหมายเดียวกัน เปิดโอกาส มีความรู้ กลุ่มว่างงาน มีภาวะผู้นำ และจุดเด่นของคณะทำงาน เช่น มีความรับผิดชอบของหน้าที่ชุมชนให้ความร่วมมืออย่างดี มีเป้าหมายชัดเจน  2. การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เช่น การบริโภค ทางโต๊ะอิหม่ามโฆษณาเชิญชวนให้กินผักปลอดภัย  3. ความภาคภูมิใจ เกิดจากการมองเห็น และการสื่อสารทำให้การรผลิตและการปลูกเพิ่มมากขึ้น

 

พบภาคีเครือข่ายประสานงานชุมชน 14 ก.พ. 2566 14 ก.พ. 2566

 

คณะกรรมการและสมาชิกรวบรวมเอกสารเพื่อขอรับรองมาตรฐานGAP

 

ได้รับรู้แผนงาน ในกระบวนกานขอรับรองมาตรฐานตามที่กำหนด

 

จัดอบรมการบริหารจัดการกลุ่ม และความรู้ด้านการรับรองมาตรฐานGAP 20 ก.พ. 2566 20 ก.พ. 2566

 

คณะกรรมการ10คนรวมกันประชุมหารือเรื่องใบสมัครรับรองมาตรฐานGAPของสมาชิกโดยตรวจเอกสารและหลักฐานประกอบให้ถูกต้องให้ครบ จำนวน10คน

 

ได้รับความรู้เพิ่มเติมเรื่องเอกสารหลักฐานที่ต้องแนบ และเงื่อนไขที่การรับรองกำหนด โดยตรวจทานอย่างละเอียดรอบคอบ

 

ส่งเสริมการสร้างแปลงตัวอย่างชุมชน 1 มี.ค. 2566 1 มี.ค. 2566

 

คณะกรรมการและสมาชิกร่วมกับพี่เลี้ยง ออกแบบแปลงปลูก ณ ร้านค้าอามานะห์ ในวันที่ 1 มีนาคม 2566

 

เกิดทักษะการออกแบบการปลูกได้อย่างเป็นระเบียบและสอดคลล้องกับผักที่ชุมชนต้องการ

 

ประชุมคณะกรรมการครั้งที่6 6 มี.ค. 2566 6 มี.ค. 2566

 

เปิดพิธี บันทึกข้อมูลหน้าที่เลขา ควรรายงานในระบบให้ครบถ้วนและสมบูรณ์ที่สุดเนื่องจากใกล้ครบวาระของโครงการปลูกผัก ติดตามการปลูก ของสมาชิกกลุ่ม สอบถามข้อมูลและถ่ายรูปตามแปลงต่างๆให้ครบ หน้าที่ของคณะกรรมการทั้ง 12 คนโดยแบ่งเป็น3กลุ่ม และกระจายไปสำรวจตามวันและเเวลาที่กำหนด มอบหมายประธานและเลขาให้ถอนเงินที่ธนาคารเพื่อนำมาทำกิจกรรม

 

ประธานและเลขาไปถอนเงินที่ธนาคารตามที่ได้รับมอบหมาย ไปสำรวจและสอบถามสมาชิกกลุ่มได้จำนวนหนึ่ง

 

ประชุมคณะกรรมการและสมาชิกร่วมกับพี่เลี้ยงเฉพาะกิจ 10 มี.ค. 2566 10 มี.ค. 2566

 

คณะกรรมการและสมาชิกร่วมกับพี่เลี้ยง ประชุม ณ ร้านค้าอามานะห์ ในวันที่ 10 มีนาคม 2566

 

ได้รับความรู้ความเข้าใจด้านข้อมูลที่ชัดเจนมากขึ้นจากการสังเกต โดยมีสมาชิกคอยถามและตอบ เกี่ยวกับปัญหาและอุปสรรคสำคัญของการปลูกผักที่ปลอดภัยให้แก่ผู้บริโภค และผู้ปลูกได้รับประโยชน์สูงสุด

 

เวทีจัดทำแผนการผลิตของสมาชิก และกลุ่ม 15 มี.ค. 2566 15 มี.ค. 2566

 

คณะกรรมการและสมาชิกจำนวน15 คนรวมกันแลกเปลี่ยนข้อมูลการผลิตโดยมีแม่ประจำหมู่บ้านคอยให้ความรู้และตอบคำถามที่สมาชิกสงสัย เช่น ผลิตที่ขายดีที่สุด ราคาผลผลิตที่ดีที่สุด ขอดีขอเสีย ประชุมกันที่อาคารอเนกประสงค์ตาดีกาอัลฮีดายะห์เลสุในช่วงเช้าและช่วงเย็น

 

คณะกรรมการและสมาชิกได้รับความรู้ใหม่ๆที่ไม่คาดคิด เช่นผลผลิตที่ขายดีตลาดฤดูการคือใบกระเพราและพริกขี้หนู หากทุกบ้านปลูกแม่ค้าพร้อมที่จะรับซื้อตลอด เกิดทักษะการพูด การนำเสนอข้อมูลที่สำคัญ

 

กิจกรรมตรวจแปลง - รวบรวมข้อมูลการผลิตเพื่อรับรองมาตรฐาน 16 มี.ค. 2566 16 มี.ค. 2566

 

คณะกรรมการ ไปตรสจแปลงสมาชิกทั้งหมด10คนในวันที่ 10 มีนาคม2566 ที่แปลงปลูกของสมาชิก เพื่อดูว่าแปลงปลูกตรงกับเงื่อนไขของการขอใบรับรองมาตรฐานGAP

 

คณะกรรมการทั้ง10คนแบ่งกันไปตรวจแปลงปลูกของสมาชิกทั้ง10คน

 

ร่วมเวทีจัดการข้อมูลโครงการย่อย 18 มี.ค. 2566 18 มี.ค. 2566

 

คณะทำงานโครงการร่วมเวทีการจัดการข้อมูลโครงการ ณ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี โดยมีการจัดการทำการป้อนข้อมูล และคีย์ข้อมูลรายละเอียดกิจกรรมของโครงการ

 

คณะทำงานเข้าร่วมกิจกรรม2 คน มีการจัดการพิมพ์งานลงระบบเพื่อให้ข้อมูลเสร็จสมบูรณ์ที่สุด

 

ติดตามและประเมินผล ARE ครั้งที่ 3 21 มี.ค. 2566 21 มี.ค. 2566

 

คณะกรรมการและสมาชิกจัดกิจกรรมติดตามและประเมินผลครั้งที่3 ณ อาคารอเนกประสงค์ตาดีกาอัลฮีดายะห์เลสุ ในวันที่ 21 มีนาคม 2566 โดยให้ทุกคนแสดงความคิดเห็นและเสนอแนะสิ่งที่เกิดขึ้นจริง

 

มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมมากกว่า70 เปอเซ็นต์ โดยสมาชิกได้รับความรู้เพิ่มขึ้นจากการถามและตอบ

 

อบรมยกระดับกลุ่มรัฐวิสาหกิจ 24 มี.ค. 2566 24 มี.ค. 2566

 

คณะกรรมการร่วมกับพี่เลี้ยงและภาคีเครือข่าย ปรึกษาหารือเรื่อง การยกระดับรัฐวิสาหกิจ ณ ร้านค้าอามานะห์ ในวันที่ 24 มีนาคม 2566

 

ได้รับความรู้ เรื่องการยกระดับกลุ่มให้เป็นรัฐวิสาหกิจ เพื่อให้กลุ่มเดิมที่มีอยู่ในชุมชนเพิ่มศักยภาพให้ดีกว่าเดิม

 

พบกองทุนสุขภาพระดับพื้นที่จังหวัดยะลา 25 มี.ค. 2566 25 มี.ค. 2566

 

จัดทำรายงานลงโปรแกรมไมโครซอฟเวิร์ด โดยเอาข้อมูลจากเว็บไซต์ คนสร้างสุขและปริ้นออกมาเป็นเล่มรูปแบบรายงานอย่างเรียบร้อย

 

ได้รับเล่มรายงานที่มีสรุปตลอดโครงการ เพื่อเป็นตัวอย่างให้แก่โครงการในรุ่นถัดไป

 

ดอกเบี้ยรับ 25 มี.ค. 2566 25 มี.ค. 2566

 

ดอกเบี้ยรับ

 

ดอกเบี้ยรับ

 

เวทีสรุป ปิดโครงการ 31 มี.ค. 2566 31 มี.ค. 2566

 

คณะกรรมการและสมาชิก จัดกิจกรรมเวทีสรุปและปิดโครงการ ณ อาคารอเนกประสงค์ตาดีกาอัลฮีดายะห์เลสุ ในวันที่31 มีนาคม 2566

 

สมาชิกได้รับความรู้จากการเข้าร่วมกลุ่มในเรื่องการขอ มาตรฐาน GAP เกิดทักษะที่จำเป็นในการเป็นเกษตรกรตามที่คาดหวังในด้านการสื่อสารและปฎิบัติ โดยในครั้งต่อไปหากสมาชิกต้องการขอมาตราฐาน GAPสามารถยื่นหลักฐานอย่างครบถ้วนแก่กรรมการที่รับเรื่อง ทำมาตรฐาน GAP ได้ในทันที