directions_run

โครงการสามภาคีสานพลังเตรียมรองรับสังคมสูงวัยเทศบาลตำบลควนกุน

assignment
บันทึกกิจกรรม
เวทีสะท้อนผลลัพธ์เพื่อการเรียนรู้และพัฒนา (ARE)30 มีนาคม 2566
30
มีนาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย NFT010
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ
  1. ทบทวนกิจกรรมที่ดำเนินการมาเป็นลำดับตามขั้นตอนบันไดผลลัพธ์
  2. นำเสนอด้วยเพาเวอร์พ้อย

ณ ห้องประชุมเทศบาลตำบลควนกุน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 50 คน โดยมีวิทยากร คือ นายสุธน โข้ยนึ่ง

  1. มีการบรรจุแผนงานโครงการสนับสนุนการขับเคลื่อนการเตรียมรองรับสังคมสูงวัยในแผนพัฒนาท้องถิ่น
  2. มีและใช้ธรรมนูญสุขภาพชุมชนในพื้นที่
การปรับสภาพบ้านที่อยู่อาศัยและพื้นที่สาธารณะ13 มีนาคม 2566
13
มีนาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย NFT010
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ
  1. เชิญช่างชุมชน จำนวน 5 ท่าน มาปรึกษาหารือเรื่่องปรับสภาพบ้านฯ
  2. ออกเยียมและดูสภาพบ้านว่าควรปรับปรุงอย่างไร
  3. ไปซื้อวัสดุตามความต้องการ
  4. นัดช่างชุมชนออกดำเนินการปรับสภาพบ้าน
  5. เบิกจ่ายค่าอาหารและค่าเดินทาง

ณ บ้านควนกุน เทศบาลตำบลควนกุน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้เข้าร่วมกิจกรรม ประกอบด้วย ช่างชุมชน จำนวน 5 คน คือ 1.นายอินทร์ตา กุสุมาลย์ 2.นายกฤษณะ แซ่เล้า 3.นายวีระน้อย ชัยวิเศษ 4.นายฉัตรชัย แซ่จู่ 5.นายเฉลิมชัย ทองเกลี้ยง และครัวเรือนผู้ประสงค์รับวัสดุสำหรับการเตรียมรองรับสังคมสูงวัย จำนวน 9 ครัวเรือนในพื้นที่ต.ควนกุน คือ 1.นายระนอง วังจำนงค์ 2.นางประคอง เฉี้ยนเงิน 3.นางศศิภักดิ์ เจี้ยวเห้ง 4.นางละเมียด กาจน์กิจ 5.นางพุธ ชายชาติ 6.นางระเบียบ สุวคันธ์ 7.นางริ่ม สมศรี 8.นางเตี้ยน พูดเพราะ 9.นางสมใจ ขาวดี

  1. ช่างชุมชนมีความเข้าใจและยินดีช่วยเหลือ
  2. เจ้าของบ้านมีความพึงพอใจ
  3. เจ้าของบ้านได้ขอตามความต้องการ
  4. ได้ติดตั้งราวพยุงตัวในห้องน้ำ จำนวน 9 หลัง ติดตั้งสปริงเกอร์บนหลังคาสังกะสี จำนวน 1 หลัง
  5. งานสำเร็จตามโครงการฯ
การติดตาม ประเมินผลการ เปลี่ยนแปลง พฤติกรรมและ สภาพแวดล้อมทั้ง 4 มิติ9 มีนาคม 2566
9
มีนาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย NFT010
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ
  1. ทบทวนความรู้ด้านการรักษาสุขภาพและการป้องกันโรค
  2. ทบทวนความรู้ด้านสังคม
  3. ทบทวนความรู้ด้านสภาพแวดล้อม
  4. ทบทวนความรู้ด้านเศรษฐกิจ
  5. สัมภาษณ์กลุ่มเป้าหมายความรู้ทั้ง 4 มิติ

ณ เทศบาลตำบลควนกุน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 24 คน โดยผู้สรุปข้อมูลการติดตามประเมินผลการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมและสภาพแวดล้อมทั้ง 4 มิติ คือ นายสุธน โข้ยนึ่ง

  1. กลุ่มเป้าหมายมิติด้านสุขภาพดีขึ้น
  2. กลุ่มเป้าหมายมีการรวมตัวทางสัมคมมากขึ้น
  3. กลุ่มเป้าหมายได้มีการปรับสภาพบ้าน จำนวน 9 หลัง
  4. กลุ่มเป้าหมายมีการออมเงิน ออมทรัพย์เพิ่มขึ้น
  5. ภาพรวมทั้ง 4 มิติดีขึ้น (ส่วนตัวเลขดูจากสมุดบันทึกข้อมูลต่อไป)
สรุปบทเรียนและ ทำแผนพัฒนา เตรียมรองรับ สังคมสูงวัย3 กุมภาพันธ์ 2566
3
กุมภาพันธ์ 2566รายงานจากพื้นที่ โดย NFT010
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ
  1. ได้เข้าร่วมประชุมกับคณะจัดทำแผนพัฒนาเทศบาลตำบลควนกุน
  2. ได้เสนอแผนเตรียมรองรับสังคมสูงวัยในแผนพัฒนาเทศบาลตำบลควนกุน
  3. เทศบาลตำบลควนกุนได้บรรจุแผนเตรียมรองรับสังคมสูงวัยไว้ในแผนพัฒนาเทศบาลตำบลควนกุน

ณ เทศบาลตำบลควนกุน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 24 คน โดยมีวิทยากร คือ นายบุญฤทธิ์ ไชยบุตร

  • เทศบาลตำบลควนกุน มีแผนเตรียมรองรับสังคมสูงวัยเพื่อดำเนินการในปีต่อๆ ไป
การประสานงานและจัดทำรายงานโครงการ31 มกราคม 2566
31
มกราคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย sarita
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

จัดทำรายงานประจำงวด เอกสารการจัดกิจกรรม และการประสานงาน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ประสานงานคณะกรรมการเพื่อเข้าร่วมประชุม จัดทำเอกสารรายงานการเงินประจำงวด บันทึกข้อมูลเข้าสู่ระบบ happynetwork และการพิมพ์เอกสารรายงานในการจัดประชุม โดยนายสุธน โข้ยนึ่ง

ประชุมคณะทำงานโครงการเตรียมรองรับสังคมสูงวัย ครั้งที่ 527 มกราคม 2566
27
มกราคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย NFT010
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ
  1. ออกหนังสือเชิญประชุมคณะทำงานโครงการเตรียมรองรับสังคมสูงวัย
  2. ดำเนินการประชุมตามวาระที่กำหนดไว้
  3. สรุปผลการดำเนินงาน

ณ เทศบาลตำบลควนกุน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 15 คน โดยมีวิทยากร คือ นายสุธน โข้ยนึ่ง

  1. มีผู้เข้าร่วมประชุมครบองค์ประชุม
  2. มีการปรึกษาหารือในการดำเนินงาน
  3. มีการสรุปผลการดำเนินงาน และดำเนินการตามโครงการต่อไป
ทบทวนธรรมนูญ สังคมสูงวัย27 มกราคม 2566
27
มกราคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย NFT010
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ
  1. ได้มีจัดทำร่างธรรมนูญสังคมสูงวัย
  2. ได้ทบทวนธรรมนูญสังคมสูงวัย
  3. ได้มีธรรมนูญสังคมสูงวัยของเทศบาลตำบลควนกุน

ณ เทศบาลตำบลควนกุน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 24 คน โดยมีวิทยากร คือ นายวรัญญู เนียมชูชื่น

  1. ได้ประกาศใช้ธรรมนูญสังคมสูงวัยเทศบาลตำบลควนกุน
  2. กลุ่มเป้าหมายเทศบาลตำบลควนกุนมีการปฏิบัติตามธรรมนูญสังคมสูงวัย
  3. กลุ่มเป้าหมายมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
จัดอบรมให้ความรู้ด้านเศรษฐกิจการออม20 มกราคม 2566
20
มกราคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย NFT010
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ
  1. มีการรณรงค์ให้ออมเงินทุกวันพฤหัสบดี ทุกสัปดาห์
  2. มีการรณรงค์ให้ปลูกพืชผักสวนครัวรั้วกินได้
  3. มีการรณรงค์ให้ปลูกพืชยืนต้น
  4. มีการรณรงค์ให้เข้ารวมกลุ่มเพื่อนช่วยเพื่อน(สัจจะวันละบาท)

ณ เทศบาลตำบลควนกุน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 77 คน โดยมีวิทยากร คือ นายสุเมธ รอดรัตน์

  1. มีการออมเงินทุกวันพฤหัสบดี ทุกสัปดาห์
  2. มีการปลูกพืชผักสวนครัวรั้วกินได้
  3. มีการรณรงค์ให้ปลูกพืชยืนต้น
  4. มีการรวมกลุ่มพื่อนช่วยเพื่อน(สัจจะวันละบาท)
ประชุมคณะทำงานโครงการเตรียมรองรับสังคมสูงวัย ครั้งที่ 420 มกราคม 2566
20
มกราคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย NFT010
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ
  1. ออกหนังสือเชิญคณะทำงานเตรียมรองรับสังคมสูงวัย
  2. ดำเนินการประชุม
  3. สรุปการดำเนินงาน

ณ เทศบาลตำบลควนกุน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 15 คน โดยมีวิทยากร คือ นายสุธน โข้ยนึ่ง

  1. มีผู้เข้าร่วมประชุมครบองค์ประชุม
  2. มีการปรึกษาหารือในการดำเนินงาน
  3. มีการสรุปผลการการดำเนินงาน และดำเนินการตามโครงการต่อไป
เวทีสะท้อนผลลัพธ์เพื่อการเรียนรู้และพัฒนา (ARE)ระดับจังหวัด ครั้งที่ 217 พฤศจิกายน 2565
17
พฤศจิกายน 2565รายงานจากพื้นที่ โดย NFT010
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

เข้าร่วมประชุมประเมินผลลัพธ์เพื่อการเรียนรู้และพัฒนา(ARE) ประเด็น สามภาคีสานพลังเตรียมรองรับสังคมสูงวัย ณ วิทยาลัยพยาบาลตรัง

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 5 คน ประกอบด้วย 1.นายสุธน โข้ยนึ่ง 2.นางสาวศรีพันธ์ ลั่นเต้ง 3.นางพิมภักดิ์ ผาสุข 4.นางประคอง เฉี้ยนเงิน และ 5.นายกฤษณะ แช่เล้า โดยเข้าร่วมประเมินผลลัพธ์เพื่อการเรียนรู้และพัฒนา(ARE) ประเด็น สามภาคีสานพลังเตรียมรองรับสังคมสูงวัย เพื่อนำไปต่อยอดเตรียมรองรับสังคมสูงวัย

ประชุมคณะทำงานเตรียมรองรับสังคมสูงวัย ครั้งที่ 328 ตุลาคม 2565
28
ตุลาคม 2565รายงานจากพื้นที่ โดย NFT010
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ
  • การประชุมคณะทำงานเพื่อติดตามความก้าวหน้า และวางแผนการดำเนินงาน

ณ เทศบาลตำบลควนกุน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 15 คน
- มีการประชุมของคณะทำงานร่วมกับ พี่เลี้ยงทีม Node Flagship จังหวัดตรัง (นายเชภาดร จันทร์หอม และนายนบ ศรีจันทร์) ในการชวนกันสะท้อนผลลัพธ์การทำงานในงวดที่ 1
- โดยเกิดกลไกคณะทำงานซึ่งมีภาคี 3 ภาคส่วน โดยฝ่ายชุมชน/โรงเรียนผู้สูงอายุ เป็นแกนนำ และมีภาคีท้องถิ่น และรพ.สต. มาร่วมสนับสนุนการขับเคลื่อน / ทีมแกนนำมีความเข้าใจแนวคิดเตรียมรองรับสังคมสูงวัย - มีกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วม 200 คน ในการเตรียมรองรับสังคมสูงวัย โดยมีกลุ่มเป้าหมายหลัก 35-59 ปี และกลุ่มเป้าหมายรอง 60 ปีขึ้นไป มีปฏิบัติการสร้างความรู้ความเข้าใจเตรียมรองรับสังคมสูงวัยทั้ง 4 มิติ
และได้ร้านเป้าหมายและบ้านเป้าหมายในการปรับสภาพแวดล้อม

เพื่อพัฒนากลไก คณะทำงานเตรียม รองรับสังคมสูงวัย ให้มีความเข้มแข็ง ครั้งที่ 316 กันยายน 2565
16
กันยายน 2565รายงานจากพื้นที่ โดย NFT010
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ
  • เข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพคณะทำงานโครงการย่อยในการใช้โปรแกรม Canva และรายงานกิจกรรมและบันทึกรายงานการเงินในระบบ Happy network ณ วิทยาลัยบรมราชชนนีตรัง
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 3 คน คือ 1.นายสุธน โข้ยนึ่ง 2.นางเนตรนภัส เอ้งฉ้วน และ 3.นางพิมภักดิ์ ผาสุข
- ได้รับความรู้ในการใช้โปรแกรม Canva สมารถนำความรู้ที่ได้นำไปต่อยอดในการพัฒนาตนเองและแกนนำคณะทำงานเตรียมสูงวัย และได้รับความรู้ในการบันทึกรายงานการเงินในระบบ Happy network

จัดอบรมเชิงปฏิบัติการจัดอบรมช่างท้องถิ่นและบุคลากรด้านสวัสดิการสังคมในการปรับปสภาพแวดล้อมบ้านพักอาศัยและอาคาร27 กรกฎาคม 2565
27
กรกฎาคม 2565รายงานจากพื้นที่ โดย NFT010
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ
  • เข้าร่วมการจัดอบรมประชุมเชิงปฏิบัติการจัดอบรมช่างท้องถิ่นและบุคลากรด้านสวัสดิการสังคมในการปรับปสภาพแวดล้อมบ้านพักอาศัยและอาคาร ณ อาคารโรงเลี้ยงเก่าวัดไร่พรุ
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 2 คน คือ 1.นายกฤษณะ แซ่เล้า และ 2.นายวีระน้อย ชัยวิเศษ

  • ได้รับความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับช่างท้องถิ่่นสมารถนำไปประยุกต์ในการปรับสภาพแวดล้อมบ้านพักอาศัยและอาคาร สำหรับผู้สูงวัย
กิจกรรม 2.4 จัดอบรมให้ความรู้ด้านสังคม22 กรกฎาคม 2565
22
กรกฎาคม 2565รายงานจากพื้นที่ โดย NFT010
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ
  1. มีการประชุมอบรม
  2. มีกลุ่มเป้าหมาย
  3. มีการรวมกลุ่มทำกิจกรรมร่วมกัน รายสัปดาห็ รายเดือน และตามโอกาสที่เหมาะสม

ณ เทศบาลตำบลควนกุน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 84 คน โดยมีวิทยากร คือ นายวรัญญู เนียมชูชื่น
- เกิดการรวมตัวด้านสังคม เช่น
1. เกิดชมรมผู้สูงอายุ มีผู้มาสมัครเป็นสมาชิกชมรมผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น เติมจะเป็นกลุ่มอายุ 60 ปี ขึ้นไป มิติใหม่มีกลุ่มอายุต่ำกว่า 60 ปี มาร่วมเป็นสมาชิกด้วย เป็นการเตรียมรองรับสังคมสูงวัย 2. เกิดโรงเรียนผู้สูงอายุ มีผู้มาสมัครเป็นนักเรียน จำนวน 40 คน เป็นการร่วมกลุ่มทางสังคมที่เข้มแข็ง 3. เกิดโครงการเพื่อนช่วยเหลือเพื่อน เป็นการรวมกลุ่มทางสังคม โดยมีการสะสมเงินวันละ 1 บาท เพื่อช่วยสงเคราะห์ยามเจ็บป่วย และถึงแก่แกรรม เป็นการเตรียมรองรับสังคมสูงวัย

กิจกรรม 2.1 จัดอบรมให้ความรู้ด้านสุขภาพและสภาพแวดล้อม21 กรกฎาคม 2565
21
กรกฎาคม 2565รายงานจากพื้นที่ โดย NFT010
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ
  1. มีการประชุมอบรม
  2. มีกลุ่มเป้าหมาย
  3. มีการอบรมให้ความรู้เรื่องสุขภาพ และสภาพแวดล้อม

ณ เทศบาลตำบลควนกุน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 87 คน โดยมีวิทยากร คือ นายบุญฤทธิ์ ไชยบุตร

  1. มีกติกาธรรมนูญสุขภาพผู้สูงอายุเทศบาลตำบลควนกุน
  2. มีร้านอ่อนหวาน เครื่องดื่ม ชา/กาแฟ
  3. มีระบบดูแลผู้มีภาวะพึ่งพิงระยะยาว (Long Tem care)
  4. มีการปรับสภาพบ้านในเขตเทศบาลตำบลควนกุน
ประชุมคณะทำงานเตรียมรองรับสังคมสูงวัยและเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้อง ครั้งที่ 27 กรกฎาคม 2565
7
กรกฎาคม 2565รายงานจากพื้นที่ โดย NFT010
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ
  • นัดประชุมคณะทำงานเตรียมรองรับสังคมสูงวัย เตรียมข้อมูลให้แกนนำโดยการแจ้งรายชื่อกลุ่มเป้าหมายโดยมีช่วงอายุ 35 - 59 ปี

ณ เทศบาลตำบลควนกุน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 15 คน โดยมมีวิทยากร คือ นายสุธน โข้ยนึ่ง

  • คณะทำงานเตรียมรองนำสังคมสูงวัยเทศบาลตำบลควนกุน หรือแกนนำ ได้มีชุดข้อมูลเตรียมรองรับสังคมสูงวัย ในมิติสุขภาพ , มิติสังคม , มิติเศษฐกิจ , มิติสภาพแวดล้อม
  • มอบหมายหน้าที่ให้แกนนำแต่ละมิติ วางแผนการเก็บข้อมูลฯ
โครงการจัดอบรมการพัฒนาศักยภาพชุมชนต้นแบบสังคมสูงวัย : การเตรียมรองรับสังคมสูงวัย 4 มิติ6 กรกฎาคม 2565
6
กรกฎาคม 2565รายงานจากพื้นที่ โดย NFT010
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ
  • กิจกรรมบรรยายหัวข้อ "เตรียมรองรับสังคมสูงวัยในมิติสังคม"
  • กิจกรรมบรรยายหัวข้อ "เตรียมรองรับสังคมสูงวัยในมิติสังคมเศษฐกิจ"
  • กิจกรรมบรรยายหัวข้อ "เตรียมรองรับสังคมสูงวัยในมิติสุขภาพ"
  • กิจกรรมบรรยายหัวข้อ "เตรียมรองรับสังคมสูงวัยในมิติสภาพแวดล้อม"

ณ ศูนย์ประชุมเฉลิมพระเกียรติ 7 รอบ พระชนมพรรษา ม.อ.ตรัง

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 4 คน คือ 1.นายสุธน โข้ยนึ่ง 2.นายบัณฑิต ชิดงาน 3.นางสาวสุภัชชา ศิริมี และ 4.นางพิมภักดิ์ ผาสุข

  • ผู้เข้ารับการอบรมได้รับความรู้ความเข้าใจ สามารถนำกิจกรรมในการบรรยายในหัวข้อ "เตรียมรองรับสังคมสูงวัยในมิติสังคม", "เตรียมรองรับสังคมสูงวัยในมิติสังคมเศษฐกิจ",เตรียมรองรับสังคมสูงวัยในมิติสุขภาพ","เตรียมรองรับสังคมสูงวัยในมิติสภาพแวดล้อม" และสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปต่อยอดให้กับคณะทำงานเตรียมรองรับสังคมสูงวัยเทศบาลตำบลควนกุน ต่อไป
ประชุมคณะทำงานเตรียมรองรับสังคมสูงวัยและเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้อง ครั้งที่ 124 มิถุนายน 2565
24
มิถุนายน 2565รายงานจากพื้นที่ โดย NFT010
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ
  • มีกลไกการเตรียมรองรับสังคมสูงวัยให้มีความเข้มแข็ง มีกลไกคณะทำงานด้วยภาคีที่หลากหลาย ประกอบด้วย ภาคีท้องถิ่น ภาคีสุขภาพ ได้แก่ รพ.สต. อสม. ภาคีประชาชน ได้แก่ แกนนำชมรมผู้สูงอายุ ท้องที่ และแกนนำกลุ่มองค์กรภาคประชาชน

ณ เทศบาลตำบลควนกุน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 15 คน ประกอบด้วย 1.นายอุดม เมืองทับ -รองนายกเทศมนตรี เทศบาลตำบลควนกุน 2.นางเพ็ญศรี บัวขำ- ผอ.รพ.สต.กะลาเส 3.นายสุธน โข้ยนึ่ง -ประธานชมรมผู้สูงอายุ 4.นายบุณฑิต ชิดงาน -ประธานกองทุนสวัสดิการฯ 5.นางสาวสุภัชชา ศิริมี -ผอ.กองสวัสดิการสังคม 6.นางพิมภักดิ์ ผาสุข -นักพัฒนาชุมชนชำนาญการ 7.นางพวงเพ็ญ ปราบเขต -จนท.รพ.สต.กะลาเส 8.นางสาวสมใจ มีแก้ว -ประธาน อสม.กะลาเส และประชุมชุมชนควนกุน 9.นางประคอง เฉี้ยนเงิน -อสม.กะลาเส 10.นางวิจิตร แซ่แจ้น -ตัวแทนชุมชน 11.นางเนตรนภัส เอ้งฉ้วน -ประธานชุมชนเมืองใหม่ 12.นางระเบียบ อันเต้ง -ประธานชุมชนร่มเมือง 13.นายบุญเฉลิม ฉิ้มงาม -ประธานชุมชนหัวสะพาน 14.นางจารุณี พูดเพราะ -ประธานชุมชนตรอกบก และ 15.นางสาวศรีพันธ์ ลั่นเต้ง -ผู้ช่วยนักพัฒนาชุมชน

จึงมีกลไกการเตรียมรองรับสังคมสูงวัยให้มีความเข้มแข็ง มีกลไกคณะทำงานด้วยภาคีที่หลากหลาย ประกอบด้วย ภาคีท้องถิ่น ภาคีสุขภาพ ได้แก่ รพ.สต. อสม. ภาคีประชาชน ได้แก่ แกนนำชมรมผู้สูงอายุ ท้องที่ และแกนนำกลุ่มองค์กรภาคประชาชน

เวทีปฐมนิเทศโครงการ2 มิถุนายน 2565
2
มิถุนายน 2565รายงานจากพื้นที่ โดย sarita
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ
  • การปฐมนิเทศโครงการย่อย ทำความเข้าใจให้กับตัวแทนคณะทำงาน ถึงเป้าหมาย Node Flagship จังหวัดตรัง และแนวทางการดำเนินโครงการสามภาคีสานพลังเตรียมรองรับสังคมสูงวัย ระบบรายงานและระเบียบทางการเงิน
  • การมีตัวแทนพื้นที่ร่วม MOU บันทึกความร่วมมือระหว่างภาคีระดับจังหวัด หน่วยงานภาครัฐ หน่วยงานวิชาการ หน่วยงานภาคีสนับสนุน และตัวแทนพื้นที่ในการขับเคลื่อนนโยบายเตรียมรองรับสังคมสูงวัยจังหวัดตรัง

ณ วิทยาลัยบรมราชชนนีตรัง

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 3 คน คือ 1.นายสุธน โข้ยนึ่ง 2.นางเนตรนภัส เอ้งฉ้วน และ 3.นางพิมภักดิ์ ผาสุข

-คณะทำงานโครงการฯของพื้นที่ทต.ตำบลควนกุนเข้าใจเป้าหมายแนวทางการดำเนินงานของ Node Flagship จังหวัดตรัง และการดำเนินโครงการย่อยสามภาคีสานพลังเตรียมรองรับสังคมสูงวัย รวมถึงระบบการรายงานกิจกรรม และระเบียบทางการเงินของ สสส.
-เกิดบันทึกความร่วมมือในการขับเคลื่อนนโยบายเตรียมรองรับสังคมสูงวัยระหว่างหน่วยงานภาครัฐ หน่วยงานวิชาการ หน่วยงานภาคีสนับสนุน และตัวแทนพื้นที่