ชื่อโครงการ | ชุมชนร่วมใจ ห่วงใยดูแลผู้สูงอายุ หมู่ที่ 1 บ้านทุ่งไหม้ ต.น้ำผุด อ.ละงู จ.สตูล |
ภายใต้องค์กร | องค์การบริหารส่วนจังหวัดสตูล |
รหัสโครงการ | 65-10154-011 |
วันที่อนุมัติ | 5 มกราคม 2566 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 5 มกราคม 2566 - 31 ตุลาคม 2566 |
งบประมาณ | 80,000.00 บาท |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | ไม่มี |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางสาว เต็มศิริ ขุนยงค์ |
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ | 0633081919 |
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ | KHUNYONG2008@hotmail.com |
พี่เลี้ยงโครงการ | นายรุ่งศักดิ์ จอสกุล |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลน้ำผุด อำเภอละงู จังหวัดสตูล |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.954622,99.840971place |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 5 ม.ค. 2566 | 31 พ.ค. 2566 | 5 ม.ค. 2566 | 31 พ.ค. 2566 | 50,000.00 | |
2 | 1 มิ.ย. 2566 | 30 ก.ย. 2566 | 25,000.00 | |||
3 | 1 ต.ค. 2566 | 31 ต.ค. 2566 | 5,000.00 | |||
รวมงบประมาณ | 80,000.00 |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด | |||
---|---|---|---|---|
1 | ชมรมผู้สูงอายุเดิมขาดการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง คณะทำงานมีปัญหาสุขภาพ | 1.00 | ||
2 | ผู้สูงอายุ ไม่มีข้อตกลงหรือการวางแผนกิจกรรมร่วมกัน มีความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพของตนเองที่ไม่ถูกต้อง | 1.00 | ||
3 | 3.ผู้สูงอายุ มีการออกกำลังกายน้อย หรือออกกำลังกายไม่ถูกวิธี ไม่มีการรวมกลุ่มหรือทีม | 1.00 |
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
ประเทศไทยเข้าสู่สังคมสูงอายุ (Ageing Society) นับแต่ปี พ.ศ. 2548 เป็นต้นมาโดย 1 ใน 10 ของประชากรไทยเป็นประชากรที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป และคาดว่าประเทศไทยจะเป็นสังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ (Complete Aged Society) ในปี พ.ศ. 2564 คือประชากรสูงอายุจะมีถึง 1 ใน 5 และเป็น “สังคมสูงวัยระดับสุดยอด” (Super Aged Society) ในอีก 20 ปี (พ.ศ 2578) โดยประมาณการว่าจะมีประชากรผู้สูงอายุเพิ่มเป็นร้อยละ 30 ของจำนวนประชากรทั้งหมด และในปัจจุบันผู้สูงอายุส่วนใหญ่ประมาณร้อยละ 85 ของจำนวนผู้สูงอายุทั้งหมดคือ ผู้สูงอายุที่สามารถดูแลตัวเองได้โดยไม่ต้องพึ่งผู้อื่น (กลุ่มติดสังคม) อีกร้อยละ 14 เป็นผู้สูงอายุที่ต้องพึ่งผู้อื่นบ้างในการประกอบกิจวัตรประจำวัน (กลุ่มติดบ้าน) และต้องพึ่งพาผู้อื่นทั้งหมดร้อยละ 1 ซึ่งส่วนใหญ่อายุมากกว่า 80 ปี และมีแนวโน้มสัดส่วนการเพิ่มขึ้นของกลุ่มนี้มากขึ้นเรื่อยๆ
แม้ว่าประชากรไทยจะมีอายุยืนยาวขึ้น แต่กลับพบว่าผู้สูงอายุต้องเผชิญกับการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังและ ตกอยู่ในภาวะทุพพลภาพเพิ่มขึ้น โดยพบว่า ผู้สูงอายุไทยมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์เพียงร้อยละ 26 เท่านั้นและร้อยละ 95 ของผู้สูงอายุจะมีปัญหาสุขภาพ โดยมีการเจ็บป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงมากที่สุด (ร้อยละ 41) รองลงมาคือ เบาหวาน ภาวะสมองเสื่อม ข้อเสื่อมและซึมเศร้า ตามลำดับ ดังนั้นหากปล่อยให้เป็นเช่นนี้จะส่งผลกระทบต่อทั้งตัวผู้สูงอายุเอง ครอบครัว รวมถึงภาครัฐที่จะต้องใช้งบประมาณจำนวนมหาศาลเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษาสุขภาพ ดังนั้น จึงจำเป็นที่จะต้องมีการเฝ้าระวังดูแลสุขภาพอย่างต่อเนื่องตลอดจนการปรับพฤติกรรมสุขภาพให้เหมาะสม
กลุ่มหรือชมรมผู้สูงอายุในระดับหมู่บ้านหรือชุมชนถือเป็นกลไกสำคัญที่มีบทบาทสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพให้แก่ผู้สูงอายุ เนื่องจากมีความใกล้ชิด เข้าใจสภาพปัญหาและความต้องการของผู้สูงอายุ รวมถึงสามารถเข้าถึงและพัฒนาผู้สูงอายุในชุมชนได้ดีที่สุด แต่ในปัจจุบันกลับพบว่ากลุ่มหรือชมรมผู้สูงอายุในบางพื้นที่ยังขาดความเข้มแข็งในการดำเนินงานเพื่อสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุทั้งด้านร่างกาย จิตใจและสังคม กล่าวคือ บางกลุ่มเพิ่งอยู่ในระยะเริ่มต้นของการรวมตัว หรือบางกลุ่มแม้จะมีการรวมตัวมานานแล้วแต่ขาดการดำเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่องให้แก่ผู้สูงอายุในชุมชน
สำหรับกลุ่มหรือชมรมผู้สูงอายุระดับหมู่บ้านทุ่งไหม้ ซึ่งเป็นชมรมที่จัดตั้งขึ้นตั้งแต่ พ.ศ.2558 และในปัจจุบันมีสมาชิกจำนวน...40..... คน ได้มีกิจกรรมที่ได้เคยดำเนินงานมาแล้ว..ให้ความรู้ การตรวจสุขภาพ การตรวจวัดสายตาการประเมินความสามารถการใช้ชีวิตประจำวันของผู้สูงอายุ การเรียนการสอนศาสนา
ซึ่งจากการดำเนินงานที่ผ่านมาพบว่า ยังมีปัญหาอุปสรรคและต้องการการพัฒนาเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งในการแก่กลุ่มหรือหรือชมรมผู้สูงอายุในเรื่องดังต่อไปนี้เนื่องจากประธานชมรมผู้สูงอายุมีปัญหาสุขภาพ เป็นผู้สูงอายุติดบ้าน ทำให้การดำเนินงานหยุดชะงักไประยะหนึ่งและพบว่ายังมีปัญหาและอุปสรรคและต้องการ การพัฒนาเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งแก่ชมรมผู้สูงอายุบ้านทุ่งไหม้ ดังนี้ 1.เสริมความเข้มแข็งและมีกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง 2. อยากเห็นและเกิดการรวมกลุ่มกันออกกำลังกายและทำกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพจิตอย่างสม่ำเสมอและจริงจัง 3. ผู้สูงอายุที่ด้อยโอกาสในชุมชนยังขาดการดูแลและส่งเสริมสุขภาพที่ต่อเนื่องและได้รับการเอาใจใส่ดูแลจากชุมชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องอย่างจริงจัง
ไม่มี
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เกิดแกนนำชมรมผู้สูงอายุที่เข้าใจเรื่องการสร้าง เสริมสุขภาพและออกแบบกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพได้ 1มีคณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุ……12…… คน ที่มาจากหลายภาคส่วน เช่น ผู้นำ อสม. ตัวแทนผู้สูงอายุ |
1.00 | 1.00 |
2 | 2. สมาชิกชมรมผู้สูงอายุมีความรู้และความตระหนักในการสร้างเสริมสุขภาพตนเอง 1.เกิดข้อตกลงร่วมของสมาชิกชมรมผู้สูงอายุในการเข้าร่วมกิจกรรมตามแผนที่คณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุออกแบบไว้ 2.สมาชิกชมรมผู้สูงอายุ จำนวน…40….. คน มีความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพตนเองที่เหมาะสม เช่น การดูแลสุขภาพจิต สุขภาพกาย การกินอาหาร |
1.00 | |
3 | 3. ชมรมผู้สูงอายุมีความเข้มแข็ง สามารถทำกิจกรรมได้ตามข้อตกลง และติดตามผลการดำเนินดำเนินงานของชมรมได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1.ชมรมผู้สูงอายุทำกิจกรรม ดำเนินการตามข้อตกลงได้ตามข้อตกลงร้อยละ 80 2.มีข้อมุลสุขภาพและพฤติกรรมของสมาชิกผู้สูงอายุ จำนวน 40 คน มีกิจกรรม มีการสรุปและคืนข้อมุลสุขภาพ ทุกเดือน |
1.00 | 1.00 |
4 | 4.สมาชิกชมรมผู้สูงอายุ จำนวน 40 คน มีการดูแลสุขภาพของตนเองได้ 1.ผู้สูงอายุ 40 คน ออกกำลังกายแบบกลุ่ม และตนเองสัปดาห์ละ 3 ครั้ง ครั้งละ 30 นาที 2.ผู้สูงอายุ 40 คน เข้าร่วมกิจกรรมของชมรมเดือนละ 1 ครั้ง |
1.00 |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 52 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
คณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุ | 12 | - | |
ผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไปที่สามารถพึงตนเองได้ (กลุ่มต | 40 | - |
ลำดับ | กิจกรรมหลัก | งบประมาณ | ม.ค. 66 | ก.พ. 66 | มี.ค. 66 | เม.ย. 66 | พ.ค. 66 | มิ.ย. 66 | ก.ค. 66 | ส.ค. 66 | ก.ย. 66 | ต.ค. 66 | |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | สนับสนุนกิจกรรมตามโครงการ(5 ม.ค. 2566-31 ต.ค. 2566) | 1,890.00 | |||||||||||
2 | เงินเปิดบัญชี(13 ม.ค. 2566-13 ม.ค. 2566) | 500.00 | |||||||||||
3 | ประชุมคณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุ(1 ก.พ. 2566-31 ต.ค. 2566) | 2,860.00 | |||||||||||
4 | พัฒนาศักยภาพแกนนำและคณะกรรมการ(21 ก.พ. 2566-21 ก.พ. 2566) | 780.00 | |||||||||||
5 | ประชุมสมาชิกชมรมผู้สูงอายุ(1 มี.ค. 2566-31 ต.ค. 2566) | 6,600.00 | |||||||||||
6 | สำรวจและจัดทำข้อมูลสถานการณ์ผู้สูงอายุในชุมชน(10 มี.ค. 2566-10 มี.ค. 2566) | 820.00 | |||||||||||
7 | อบรมให้ความรู้แก่ผู้สูงอายุในเรื่องการดูแลสุขภาพด้วยตนเอง(27 มี.ค. 2566-28 มี.ค. 2566) | 15,600.00 | |||||||||||
8 | กิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพให้แก่ผู้สูงอายุ(3 เม.ย. 2566-31 ต.ค. 2566) | 17,880.00 | |||||||||||
รวม | 46,930.00 |
1 สนับสนุนกิจกรรมตามโครงการ | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรมย่อย | 42 | 1,890.00 | 3 | 1,890.00 | |
29 ม.ค. 66 | ปฐมนิเทศโครงการ | 1 | 136.00 | ✔ | 136.00 | |
24 ก.พ. 66 | ทำป้ายไวนิลโครงการ บันไดผลลัพธ์ ป้ายเขตปลอดบุหรี่ และตราปั้ม | 40 | 1,322.00 | ✔ | 1,322.00 | |
27 เม.ย. 66 | แลกเปลี่ยนเรียนรู้ความก้าวหน้าโครงการ | 1 | 432.00 | ✔ | 432.00 | |
2 เงินเปิดบัญชี | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรมย่อย | 1 | 500.00 | 1 | 500.00 | |
2 มี.ค. 66 | จ่ายเงินเปิดบัญชี | 1 | 500.00 | ✔ | 500.00 | |
3 ประชุมคณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุ | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรมย่อย | 76 | 2,860.00 | 4 | 2,860.00 | |
27 ก.พ. 66 | ประชุมคณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุ ครั้งที่ 1 /10 | 12 | 1,600.00 | ✔ | 1,600.00 | |
2 เม.ย. 66 | ประชุมคณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุ ครั้งที่ 2/10 | 40 | 420.00 | ✔ | 420.00 | |
5 พ.ค. 66 | ประชุมคณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุ ครั้งที่ 3/10 | 12 | 420.00 | ✔ | 420.00 | |
30 พ.ค. 66 | ประชุมคณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุ 4/10 | 12 | 420.00 | ✔ | 420.00 | |
4 พัฒนาศักยภาพแกนนำและคณะกรรมการ | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรมย่อย | 12 | 780.00 | 1 | 780.00 | |
17 มี.ค. 66 | อบรมให้ความรู้แก่คณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุ ครั้งที่ 1 | 12 | 780.00 | ✔ | 780.00 | |
5 ประชุมสมาชิกชมรมผู้สูงอายุ | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรมย่อย | 120 | 6,600.00 | 3 | 6,600.00 | |
27 มี.ค. 66 | ประชุมสมาชิกชมรมผู้สูงอายุ ครั้งที่ 1 /10 | 40 | 3,800.00 | ✔ | 3,800.00 | |
8 พ.ค. 66 | ประชุมสมาชิกชมรมผู้สูงอายุ ครั้งที่ 2 /10 | 40 | 1,400.00 | ✔ | 1,400.00 | |
22 พ.ค. 66 | ประชุมสมาชิกชมรมผู้สูงอายุ ครั้งที่ 3 /10 | 40 | 1,400.00 | ✔ | 1,400.00 | |
6 สำรวจและจัดทำข้อมูลสถานการณ์ผู้สูงอายุในชุมชน | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรมย่อย | 12 | 820.00 | 1 | 820.00 | |
10 มี.ค. 66 | สำรวจและจัดทำข้อมูลสถานการณ์ผู้สูงอายุในชุมชน | 12 | 820.00 | ✔ | 820.00 | |
7 อบรมให้ความรู้แก่ผู้สูงอายุในเรื่องการดูแลสุขภาพด้วยตนเอง | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรมย่อย | 40 | 15,600.00 | 1 | 15,600.00 | |
20 - 21 มี.ค. 66 | การอบรมให้ความรู้แก่ผู้สูงอายุในเรื่องการดูแลสุขภาพด้วยตนเอง | 40 | 15,600.00 | ✔ | 15,600.00 | |
8 กิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพให้แก่ผู้สูงอายุ | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรมย่อย | 356 | 17,880.00 | 12 | 17,880.00 | |
3 เม.ย. 66 | ส่งเสริมสุขภาพจิตผุ้สูงอายุ ครั้งที่ 1 /10 | 40 | 1,700.00 | ✔ | 1,700.00 | |
5 เม.ย. 66 | เยี่ยมบ้านผู้สูงอายุในชุมชน ครั้งที่ 1 /10 | 15 | 4,100.00 | ✔ | 4,100.00 | |
10 เม.ย. 66 | ส่งเสริมสุขภาพจิตผุ้สูงอายุ ครั้งที่ 2 /10 | 40 | 1,700.00 | ✔ | 1,700.00 | |
11 เม.ย. 66 | เยี่ยมบ้านผู้สูงอายุในชุมชน ครั้งที่ 2 /10 | 16 | 420.00 | ✔ | 420.00 | |
13 เม.ย. 66 | เยี่ยมบ้านผู้สูงอายุในชุมชน ครั้งที่ 3 /10 | 15 | 420.00 | ✔ | 420.00 | |
17 เม.ย. 66 | ส่งเสริมสุขภาพจิตผุ้สูงอายุ ครั้งที่ 3 /10 | 40 | 1,700.00 | ✔ | 1,700.00 | |
18 เม.ย. 66 | เยี่ยมบ้านผู้สูงอายุในชุมชน ครั้งที่ 4 /10 | 15 | 420.00 | ✔ | 420.00 | |
19 เม.ย. 66 | เยี่ยมบ้านผู้สูงอายุในชุมชน ครั้งที่ 5 /10 | 15 | 420.00 | ✔ | 420.00 | |
24 เม.ย. 66 | ส่งเสริมสุขภาพจิตผู้สูงอายุ ครั้งที่ 4 /10 | 40 | 1,700.00 | ✔ | 1,700.00 | |
1 พ.ค. 66 | ส่งเสริมสุขภาพจิตผู้สูงอายุ ครั้งที่ 5 /10 | 40 | 1,700.00 | ✔ | 1,700.00 | |
15 พ.ค. 66 | การออกกำลังกายผู้สูงอายุ ครั้งที่ 1 /10 | 40 | 3,400.00 | ✔ | 3,400.00 | |
29 พ.ค. 66 | การออกกำลังกายผู้สูงอายุ ครั้งที่ 2 /10 | 40 | 200.00 | ✔ | 200.00 | |
1.สมาชิกชมรมผู้สูงอายุมีการดูแลสุขภาพตนเองได้ตามความเหมาะสม
2. มีรูปแบบการดูแลผู้สูงอายุในชุมชนสามารถเป็นแบบอย่างให้กับพื้นที่อื่น ๆ ได้
3.ระบุวิธีการขยายผลจากการดำเนินโครงการ และชุมชน หรือผู้อื่นจะใช้ประโยชน์จากผลของโครงการนี้อย่างไร
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 24 ม.ค. 2566 13:57 น.