directions_run

จัดการขยะชุมชนเพื่อร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่บ้านชะรัด

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ จัดการขยะชุมชนเพื่อร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่บ้านชะรัด

รหัสโครงการ 55-01934 รหัสสัญญา 55-00-0868 ระยะเวลาโครงการ 1 ตุลาคม 2012 - 30 กันยายน 2013

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

ชาวบ้านได้รับความรู้เรื่องการคัดแยกขยะว่าขยะมี 4 ประเภท คือ 1. ขยะอินทรีย์ เช่น เศษผักผลไม้ ต่าง ๆ 2. ขยะ รีไซเคิล เช่น ขวดน้ำดื่ม ขวดนม เป็นต้น 3. ขยะทั่วไป เช่น พลาสติก ถุงขนมขบเคี้ยว เป็นต้น 4. ขยะอันตราย เช่น ถ่านไฟฉาย หลอดไฟ เป็นต้น

จากบันทึกในที่ประชุม เมื่อวันที่ 21 กพ. 56 และภาพถ่ายจากการจัดกิจกรรม

ชาวที่เข้าร่วมประชุมในครั้งนี้ได้รับความรู้เรื่องการคัดแยกขยะและสามารถนำกลับไปปฏิบัติได้ในครัวเรือนต่อไป

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

ได้สิ่งประดิษฐ์จากวัสดุที่เป็นขยะ คือพลาสติกที่มัดลังใส่ของ นำมาสานตะกร้าเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ต่าง ๆ มากมาย เช่น นำไปจ่ายตลาดเพื่อลดจำนวนการนำเข้าของถุงพลาสติกในครัวเรือนและได้มีการรณรงค์การถือตะกร้าไปจ่ายตลาด

ภาพถ่ายของครัวเรือนนำร่องที่สมัครเข้าร่วมโครงการ และภาพถ่ายจากการทำกิจกรรม

ครัวเรือนนำร่องที่เข้าร่วมกิจกรรมครั้งนี้สามารถนำไปขยายผลและบอกวิธีการสานตะกร้าให้คนในชุมชนต่อไป

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

มีกระบวนการ การจัดการขยะ เกี่ยวกับการคัดแยก ขยะว่ามีขยะ 4 ประเภท ได้แก่ ขยะอินทรีย์ ขยะรีไซเคิล ขยะทั่วไป และขยะอันตราย  การทำน้ำหมัก - แห้ง ชีวภาพ การสานตะกร้าลดโลกร้อน เป็นต้น

ัครัวเรือนนำร่อง

ครัวเรือนนำร่องที่เข้าร่วมกิจกรรมได้รับความรู้ และสามารถนำไปขยายผลต่อไป

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

มีการประชุมชาวบ้านเพื่อคัดเลือกแกนนำขึ้นมาจำนวน 15 คนประกอบด้วย ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน สารวัตรกำนัน กรรมการหมู่บ้าน อสม. และรับสมัครเยาวชน จำนวน 15 คน มาเข้าร่วมประชุมวางแผนสำรวจจำนวนข้อมูลขยะในชุมชน และดำเนินตามขั้นตอนต่อไป

จากบันทึกในที่ประชุม เมื่อวันที่ 10 ต.ค. 55 และภาพถ่าย ในการจัดกิจกรรม

แกนนำ ทั้ง 15 คน นี้ ได้มีการสานต่อการจัดการขยะในชุมชนให้น่าอยู่ ได้ ต่อไปจนเสร็จสิ้นโครงการ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

การจัดโครงการในครั้งนี้ได้มีศูนย์การเรียนรู้ขึ้นมาใหม่เกิดขึ้นในเขตหมู่ที่ 5 ตั้งอยู่ที่ รพ. สต. บ้านชะรัด มีบ่อเลี้ยงปลาดุก แปลงปลูกผักปลอดสารพิษ และบ่อการทำแก็สชีวภาพ เพื่อให้คนในชุมชนได้มารับความรู้และสามารถนำไปปรับใช้กับครัวเรือนของตนเองได้

รพ.สต.ชะรัด บ้านชะรัด

มีการเชิญชวนให้มาศึกษาที่ศูนย์การเรียนรู้ ของหมู่บ้าน รพ.สต. บ้านชะรัด เพื่อที่จะนำความรู้ที่ได้ไปปรับใช้ในครัวเรือนต่อไป

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

ครัวเรือนในชุมชนที่ได้รับความรู้จากการเข้าโครงการนี้ มีการจัดบริเวณบ้านของตัวเองให้มีความสะอาดอยู่เสมอ มีการคัดแยกขยะต่าง ๆ เพื่อลดพาหะนำโรคติดต่อต่าง ๆ ที่มาจากขยะ

บ้าน นายเจ๊ะแอ หีมดำ อสม. หมู่ 5 เลขที่ 160 ม. 5 ต. ตะรัด อ. กงหรา

ครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการนี้ได้รับความรู้ และสามารถนำไปขยายต่อครัวเรือนในหมู่บ้านต่อไป

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

ประชาชนในหมู่บ้านมีความปลอกภัยจากสารเคมี เพราะว่าใช้ปุ๋ยหมักที่ผลิตขึ้นเองมาใช้ ใส่ผักที่ปลูกกินเอง และเมื่อเหลือจากรับประทานแล้ว สามารถนำไปขายเพื่อสร้างรายได้ให้กับครัวเรือน

บ้าน นายมะเหลก ศิลปภูศักดิ์ อสม. หมู่ 5 และเป็นแกนนำของโครงการ

แนะนำให้เพื่อน ๆ อสม. มีการปลูกผักกินเองในครัวเรือน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

มีการใช้สมุนไพรคือ รางจืดในการลดสารเคมีในเลือด

บ้าน นายมูหำหมัด โส๊ะขาว ผช.บ้านชะรัด เลขที่ 102 ม. 5 ต. ชะรัด อ. กงหรา

นายมูหำหมัดได้มีการบอกต่อแก่ชาวบ้านในการใช้ประโยชน์จากสมุนไพรชนิดนี้

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

ครัวเรือนในชุมชนแต่ละครัวเรือนมีการจัดการขยะในครัวเรือน การคัดแยกขยะที่สามารถขายได้ก็นำไปขาย ส่วนที่สามารถนำมาทำเป็นปุ๋ยหมักได้ก็นำไปทำเป็นปุ๋ยหมัก ไว้สำหรับใส่แปลงปลูกผัก ต้นไม้ดอก ไม้ประดับ เป็นต้น

ครัวเรือนนำร่องใน หมู่ที่ 5 จำนวน 40 ครัวเรือน

ครัวเรือนนำร่องได้มีการขยายต่อไปยังครัวเรือนอื่น ๆ ในชุมชนต่อไป

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

การคัดแยกขยะ การทำปุ๋ยหมักน้ำ-แห้งเพื่อลดการใช้สารเคมีในครัวเรือนและมีการนำขยะเข้าน้อย เอาออกมาจัดการ

ครัวเรือนนำร่องใน หมู่ที่ 5 จำนวน 40 ครัวเรือน

ครัวเรือนนำร่องได้มีการขยายต่อไปยังครัวเรือนอื่น ๆ ในชุมชนต่อไป

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

มีการนำเด็กและเยาวชนมาเข้าร่วมโครงการ มีการสำรวจขยะ มีการรณรงค์เก็บขยะในหมู่บ้านโดยชาวบ้านและเด็ก มีการประกวดบ้านสะอาด และปลูกผักกินเอง มีการนำหลักศาสนา การสอนศาสนาในวันเสาร์-อาทิตย์ สำหรับเด็ก และในวันศุกร์สำหรับผู้ใหญ่และทุก ๆวัน

จากแบบสำรวจขยะของโครงการนี้ ที่จัดทำขึ้น และจากการสอนของโต๊ะครู ที่ปอเนาะบ้านชะรัด

จากแบบสำรวจข้อมูลขยะของหมู่ที่ 5 ที่เก็บรวบรวมมา สามารถนำไปประเมินผลจำนวนของขยะเพื่อจะได้ดำเนินการในขั้นตอนต่อไป

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

เมื่อครัวเรือนนำร่องได้รับความรู้จากการคัดแยกขยะแล้ว สามารถจัดการกับขยะต่าง ๆ ได้ ขยะส่วนที่สามารถขายได้ก็จะช่วยสร้างรายได้ให้กับครัวเรือน ส่วนขยะอินทรีย์ก็สามารถนำไปทำเป็นปุ๋ยหมักชีวภาพ เพื่อใช้ในการเกษตรได้เพื่อลดต้นทุนจากการซื้อปุ๋ยเคมี

ครัวเรือนนำร่องใน หมู่ที่ 5 จำนวน 40 ครัวเรือน

ครัวเรือนนำร่องได้มีการขยายและบอกต่อ ไปยังครัวเรือนอื่น ๆ ในชุมชนต่อไป

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

กลุ่ม อสม. คอยให้คำแนะนำความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพของครัวเรือนในชุมชน โดยมีการแนะนำเรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของการรับประทานอาหารที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคของตนเองและคนในชุมชนให้รับรู้ข่าวสาร

กลุ่ม อสม. ในหมู่บ้านที่ 5 จำนวน 25 คน

กลุ่ม อสม. ได้มีการเดินเยี่ยมบ้านของผู้ป่วยเรื้อรัง และมีการแนะนำการป้องกัน โรคติดต่อ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

มีการเชื่อมโยงภายในหมู่บ้าน ระหว่างกรรมการหมู่บ้าน อสม.เป็นคณะทำงานร่วมกันโดยมีครัวเรือนนำร่อง ภายนอกกับรพ.สต. บ้านชะรัดหนุนเสริมการประสานงานเรื่องการจัดหาวิทยากรมาให้ความรู้ในเรื่องการจัดการขยะ

จากบันทึกในที่ประชุม และใช้ภาพถ่ายในขณะทำกิจกรรม

กรรมการหมู่บ้านและ อสม. ที่เข้าร่วมโครงการนั้นได้รับความรู้และนำความรู้ที่ได้รับไปขยายผลต่อไป

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

มีการใช้บุคคลในชุมชนคือ ครูสอนศาสนาอิสลาม การใช้โต๊ะอิหม่าม ก่อนการละหมาดวันศุกร์ โดยการสอนการนำหลักการจาก คัมภีร์อัลกรุอ่านที่มีการแปลมาให้ความรู้กับคนในชุมชนเกี่ยวกับความสะอาดของตัวเองภายในครัวเรือนและชุมชน

ปอเนาะบ้าน ชะรัด โดยโต๊ะครู อารีด หัดดลละ เลขที่ 115 ม. 5 ต. ชะรัด

จะนำความรู้ที่ได้รับไปปลูกฝังทั้งเด็กและผู้ใหญ่ต่อไป

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

มีการวางแผนกิจกรรมที่จะทำต่อเนื่องโดยมีการปะชุมคณะทำงานเพื่อติดตามประเมินผลโครงการและเพื่อการเตรียมการจัดกิจกรรมต่างๆตามโครงการ

จากบันทึกในที่ประชุม และภาพถ่าย

คณะทำงานในที่ประชุมจะได้รับความรู้และสามารถนำไปขยายผลต่อไปได้

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

มีการนำแกนนำจำนวน 15 คน ไปศึกษาดูงานที่เทศบาล ต.ปริก อ.สะเดา จ.สงขลา

จากภาพถ่ายที่แกนนำไปดูโรงทำปุ๋ยหมักแห้งชีวภาพ และน้ำหมักเปียกชีวภาพ สถานที่ทำแก็สชีวภาพ

แกนนำทั้ง 15 คนที่ไปศึกษาดูงานนั้นสามารถนำความรู้ที่ได้รับมาเผยแพร่ให้กับคนในชุมชนต่อไปได้

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

มีแผนการดำเนินงานตามวัตถุประสงค์  การจัดกิจกรรมและนำกลุ่มเป้าหมายมาประชุม โดยใช้ข้อมูลจากการจัดอันดับความสำคัญของหมู่บ้านมาร่วมกันตัดสินใจ

จากบันทึกในที่ประชุม และภาพถ่ายขณะทำกิจกรรม

สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปขยายผลต่อไป

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

สำหรับคณะทำงาน มีความรู้สึกว่าได้รับความรู้มากมาย เกี่ยวกับการทำกิจกรรมนี้ ได้รู้จักเพื่อนต่างหมู่บ้านอีก มากมายและรู้สึกว่าตนเองมีความภาคภูมิใจที่ทำให้ คนในชุมชนมีความรู้เกี่ยวกับขยะมากขึ้น ส่วน สำหรับคนในชุมชนรู้สึกว่า เขาให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี และรู้จักการจัดการเกี่ยวกับขยะมากขึ้น

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

กระบวนการจัดการตลาด