Node Flagship

directions_run

พัฒนาพื้นที่ต้นแบบลดอุบัติเหตุทางถนนโดยกระบวนการมีส่วนร่วม ถนนสิโรรส และชุมชนอุตสาหกรรมสามหมอ อ.เมืองยะลา

แบบประเมินด้วยขั้นตอน HIA

บทคัดย่อ/บทนำ

บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พฤติกรรมเสี่ยงได้รับการแก้ไข (2) จุดเสี่ยงได้รับการแก้ไข (3) สิ่งแวดล้อมเสี่ยงได้รับการแก้ไข กิจกรรมการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) คีย์ข้อมูลรายงาน (2) เวทีปฐมนิเทศ และทำสัญญาโครงการ (3) ประชุมคลี่โครงการ (4) เวทีพัฒนาศักยภาพการรายงานผลลัพธ์ของโครงการย่อย (5) เวทีทบทวนบันไดผลลัพธ์และเก็บข้อมูลของโครงการ (6) ประชุมพิจารณายกร่างตารางข้อมูลผลลัพธ์เชิงประเด็นยุทธศาสตร์ (7) เวทีประชาคม (8) ประชุมติดตามงาน (9) เวทีการประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา ARE ครั้งที่ 1 (10) อบรมการสร้างสื่อดิจิทัลทางสมาร์ทโฟน (11) เวทีพัฒนาศักยภาพการรายงานผลลัพทธ์ของโครงการย่อย (12) ประชุมติดตามงาน (13) อบรมนักเรียน (14) ติดตามประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา (ARE) ระดับหน่วยจัดการฯ (15) รณรงค์และประชาสัมพันธ์มัสยิดนูรุสสลาม (16) รณรงค์และประชาสัมพันธ์มัสยิดดารุลนาอีม (17) รณรงค์และประชาสัมพันธ์ในเขตตลาดเก่า (18) ประชุมสรุปโครงการคณะทำงาน (19) รณรงค์และประชาสัมพันธ์จุดเสี่ยงหน้าโรงเรียน (20) รณรงค์และประชาสัมพันธ์ตามจุดเสี่ยง (21) รณรงค์และประชาสัมพันธ์จุดเสี่ยงหน้าโรงอิฐน่ำฮั่วจัน (22) อบรมกฎกติการะเบียบจราจรความปลอดภัยทางถนน (23) เวทีสังเคราะห์และสกัดบทเรียน ผลลัพธ์ ไม่สวมหมวกกันน็อก ปีก่อน 1,773 คน เป็น 885 ลดลง 886 คน 50% ขับรถเร็ว ปีก่อน 2201 คน เป็น 221 ลดลง 1,980 คิดเป้น90% เมาแล้วขับ ปีก่อน 170 คน ลดลง100% ขับรถไม่ปฏิบัติตามกฎจราจร(กรณีย้อนศร) ปีก่อน 1,510 คน ลดลง 100% การปรับปรุงสิ่งแวดล้อม (จุดเสี่ยง) รวมทั้งหมด.5.จุด จุดเสี่ยงได้รับการปรับปรุงและแก้ไขสิ่งแวดล้อมให้ดีขึ้น โดยการทาสีขอบทางเดินของเทศบาลนครยะลาทุกจุด รณรงค์สวมหมวกกันน็อค , เมาไม่ขับ , ไม่ขับย้อนศร , ไม่คุยโทรศัพท์ขณะขับรถ , จอดถูกที่ถูกทาง รณรงค์และประชาสัมพันธ์ตามจุดเสี่ยงต่างๆ การเกิดอุบัติเหตุบนท้องถนน มีจำนวนลดลง จากปีก่อน 168 ครั้ง ปีนี้ 2 ครั้ง ลดลงร้อยละ 98.8 โครงการนี้มีกิจกรรมที่เป็นต้นแบบ ให้คณะทำงานขับเคลื่อนต่อเนื่องได้ โดยเฉพาะโรงเรียนธรรมวิทยามูลนิธิ ที่มีอาสาสมัครจราจรรุ่นสู่รุ่น และเพิ่มจำนวนมากขึ้น นอกจากนี้คณะทำงาน ที่เป็นผู้ประสานงานหลักประจำจุดเสี่ยงยังคงจะดำเนินการต่อ สื่อสารกันทางกลุ่มไลน์ ข้อเสนอแนะ ได้แก่ ขอให้เครือข่ายสนับสนุนต่อเนื่อง เข้มข้น คือ ตำรวจจราจร เทศบาลนครยะลา และ สำนักงานขนส่งจังหวัด

คำสำคัญ

 

บทนำ

 

หมายเหตุ
  • บทคัดย่อ/บทนำ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

แบบประเมิน HIA

1. การกลั่นกรองโครงการ

 

1.1 วัตถุประสงค์

1) เพื่อให้ทราบผลและบอกถึงงานที่รับผิดชอบ
2) เพื่อให้เห็นแนวโน้ม เพื่อเตือนภัย
3) เพื่อเปลี่ยนพฤติกรรม และเข้าใจกระบวนการ
4) เพื่อลำดับความสำคัญ แปลง ปรับกลยุทธ์ สู่การปฎิบัติ
5) เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดการ ช่วยการควบคุม
6) เพื่อจัดสรรทรัพยากร
7) เพื่อการเรียนรู้ และรู้ขีดความสามารถ
8) เพื่อเปรียบเทียบ ปรับปรุงและพัฒนา
9) เพื่อช่วยเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร
10) เพื่อให้รางวัล เพื่อจูงใจ
11) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.2 วิธีการ (ระบุรายละเอียดทำอะไร กับใคร กี่คน ผลสรุป)

1) ประชุมทีมประเมิน

 

2) ประชุมร่วมกับโครงการ

 

3) ประชุมร่วมกับโครงการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

 

4) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.3 เครื่องมือ

1) เครื่องมือที่ใช้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง (ระบุรายละเอียดเครื่องมือ เช่น แนวคำถามในการประชุมกลุ่ม)

 

1.4 ผลที่ได้

1) ผลที่ได้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง

 

2. การกำหนดขอบเขต

 

1) วิธีการในการกำหนดขอบเขต

 

2) ผู้เข้าร่วมกำหนดขอบเขต

 

3) เครื่องมือที่ใช้

 

4) กรอบแนวคิด

1) ใช้กรอบ Ottawa charter
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
2) ใช้กรอบ ปัจจัยกำหนดสุขภาพ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
3) ใช้กรอบ Balance Score Card
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
4) ใช้กรอบ CIPP
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
5) อื่นๆ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล

3. ลงมือประเมิน

 

1) กระบวนการเก็บข้อมูลโดยการมีส่วนร่วม (ระบุรายละเอียด)

 

2) กระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล (ระบุรายละเอียด)

 

3) ผู้มีส่วนร่วมในการประเมิน (ระบุรายละเอียด)

 

4) ผลการประเมิน (เรียงตามตัวชี้วัดที่กำหนดในขั้นตอน scoping)
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

4. ทบทวนรายงานการประเมินว่าถูกต้องหรือไม่?

 

1) กระบวนการในการทบทวนรายงาน

 

2) ผู้มีส่วนร่วมในการทบทวนรายงาน

 

3) ผลการทบทวนร่างรายงาน

 

4) สรุปผลการประเมินสำคัญที่นำเข้าเวทีการทบทวน
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดสรุปผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

5. การปรับปรุงทบทวนโครงการ

 

1) ข้อเสนอเพื่อการทบทวนโครงการ

 

2) อื่นๆ

 

6. ได้มีการปรับปรุงทบทวนโครงการตามข้อ 5 หรือไม่?

 

1) กลไกในการติดตามการปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

2) วิธีการติดตาม การปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

3) อื่นๆ

 

สรุป

อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

การติดป้ายรณรงค์ไม่สามารถติดตั้งบนเกาะกลางถนนได้

เอกสารอ้างอิง

 

เอกสารประกอบโครงการ