Node Flagship

directions_run

พัฒนาพื้นที่ต้นแบบลดอุบัติเหตุทางถนนโดยกระบวนการมีส่วนร่วม ถนนสิโรรส และชุมชนอุตสาหกรรมสามหมอ อ.เมืองยะลา

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

คณะทำงาน 15 คน พร้อมด้วยพี่เลี้ยงและเครือข่ายสำคัญ ประชุมคลี่โครงการ เวทีพัฒนาศักยภาพการรายงานผลลัพธ์ของโครงการย่อย เวทีทบทวนบันไดผลลัพธ์และเก็บข้อมูลของโครงการ ประชุมพิจารณายกร่างตารางข้อมูลผลลัพธ์เชิงประเด็นยุทธศาสตร์ เวทีประชาคม ประชุมติดตามงาน เวทีการประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา อบรมการสร้างสื่อดิจิทัลทางสมาร์ทโฟน อบรมประชาชนผู้ใช้รถใช้ถนน รณรงค์และประชาสัมพันธ์ รณรงค์และประชาสัมพันธ์จุดเสี่ยงหน้าโรงเรียน ประชาสัมพันธ์ตามจุดเสี่ยง อบรมกฎกติการะเบียบจราจรความปลอดภัยทางถนน เวทีสังเคราะห์และสกัดบทเรียน ผลลัพธ์ ไม่สวมหมวกกันน็อก ปีก่อน 1,773 คน เป็น 885 ลดลง 886 คน 50% ขับรถเร็ว ปีก่อน 2201 คน เป็น 221 ลดลง 1,980 คิดเป้น90% เมาแล้วขับ ปีก่อน 170 คน ลดลง100% ขับรถไม่ปฏิบัติตามกฎจราจร(กรณีย้อนศร) ปีก่อน 1,510 คน ลดลง 100% การปรับปรุงสิ่งแวดล้อม (จุดเสี่ยง) รวมทั้งหมด.5.จุด จุดเสี่ยงได้รับการปรับปรุงและแก้ไขสิ่งแวดล้อมให้ดีขึ้น โดยการทาสีขอบทางเดินของเทศบาลนครยะลาทุกจุด รณรงค์สวมหมวกกันน็อค , เมาไม่ขับ , ไม่ขับย้อนศร , ไม่คุยโทรศัพท์ขณะขับรถ , จอดถูกที่ถูกทาง รณรงค์และประชาสัมพันธ์ตามจุดเสี่ยงต่างๆ การเกิดอุบัติเหตุบนท้องถนน มีจำนวนลดลง จากปีก่อน 168 ครั้ง ปีนี้ 2 ครั้ง ลดลงร้อยละ 98.8 โครงการนี้มีกิจกรรมที่เป็นต้นแบบ ให้คณะทำงานขับเคลื่อนต่อเนื่องได้

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 พฤติกรรมเสี่ยงได้รับการแก้ไข
ตัวชี้วัด : พฤติกรรมเสี่ยงได้รับการแก้ไข อย่างน้อย 2 เรื่อง
2.00 5.00

เร็ว โทรศัพท์ ขับย้อนศร จอดรถให้ถูกที่ หมวกนิรภัย

2 จุดเสี่ยงได้รับการแก้ไข
ตัวชี้วัด : จุดเสี่ยงได้รับการแก้ไข อย่างน้อย 2 จุด
2.00 5.00

1)หลังโคลิเซียม รถมาก ขับเร็ว ใช้โทรศัพท์ 2)หน้าโคลิเซียม รถมาก ขับเร็ว ใช้โทรศัพท์ 3)แยกกสถานีรถไฟ คนพลุกพล่าน จอดรถไม่เป็นระเบียบ 4).ทางเข้าตลาดเมืองใหม่ รถเร็ว ป้อมบัง สัญลักาณ์ไม่ชัด 5) ตลาดนัด คนพลุกพล่าน จอดรถไม่เป็นระเบียบ

3 สิ่งแวดล้อมเสี่ยงได้รับการแก้ไข
ตัวชี้วัด : สิ่งแวดล้อมเสี่ยงได้รับการแก้ไข อย่างน้อย 2 อย่าง
2.00 5.00

จุดเสี่ยงได้รับการทาสีฟุตบาท

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 200 2654
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายหลัก 200 2,654

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พฤติกรรมเสี่ยงได้รับการแก้ไข (2) จุดเสี่ยงได้รับการแก้ไข (3) สิ่งแวดล้อมเสี่ยงได้รับการแก้ไข กิจกรรมการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) คีย์ข้อมูลรายงาน (2) เวทีปฐมนิเทศ และทำสัญญาโครงการ (3) ประชุมคลี่โครงการ (4) เวทีพัฒนาศักยภาพการรายงานผลลัพธ์ของโครงการย่อย (5) เวทีทบทวนบันไดผลลัพธ์และเก็บข้อมูลของโครงการ (6) ประชุมพิจารณายกร่างตารางข้อมูลผลลัพธ์เชิงประเด็นยุทธศาสตร์ (7) เวทีประชาคม (8) ประชุมติดตามงาน (9) เวทีการประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา ARE ครั้งที่ 1 (10) อบรมการสร้างสื่อดิจิทัลทางสมาร์ทโฟน (11) เวทีพัฒนาศักยภาพการรายงานผลลัพทธ์ของโครงการย่อย (12) ประชุมติดตามงาน (13) อบรมนักเรียน (14) ติดตามประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา (ARE) ระดับหน่วยจัดการฯ (15) รณรงค์และประชาสัมพันธ์มัสยิดนูรุสสลาม (16) รณรงค์และประชาสัมพันธ์มัสยิดดารุลนาอีม (17) รณรงค์และประชาสัมพันธ์ในเขตตลาดเก่า (18) ประชุมสรุปโครงการคณะทำงาน (19) รณรงค์และประชาสัมพันธ์จุดเสี่ยงหน้าโรงเรียน (20) รณรงค์และประชาสัมพันธ์ตามจุดเสี่ยง (21) รณรงค์และประชาสัมพันธ์จุดเสี่ยงหน้าโรงอิฐน่ำฮั่วจัน (22) อบรมกฎกติการะเบียบจราจรความปลอดภัยทางถนน (23) เวทีสังเคราะห์และสกัดบทเรียน ผลลัพธ์ ไม่สวมหมวกกันน็อก ปีก่อน 1,773 คน เป็น 885 ลดลง 886 คน 50% ขับรถเร็ว ปีก่อน 2201 คน เป็น 221 ลดลง 1,980 คิดเป้น90% เมาแล้วขับ ปีก่อน 170 คน ลดลง100% ขับรถไม่ปฏิบัติตามกฎจราจร(กรณีย้อนศร) ปีก่อน 1,510 คน ลดลง 100% การปรับปรุงสิ่งแวดล้อม (จุดเสี่ยง) รวมทั้งหมด.5.จุด จุดเสี่ยงได้รับการปรับปรุงและแก้ไขสิ่งแวดล้อมให้ดีขึ้น โดยการทาสีขอบทางเดินของเทศบาลนครยะลาทุกจุด รณรงค์สวมหมวกกันน็อค , เมาไม่ขับ , ไม่ขับย้อนศร , ไม่คุยโทรศัพท์ขณะขับรถ , จอดถูกที่ถูกทาง รณรงค์และประชาสัมพันธ์ตามจุดเสี่ยงต่างๆ การเกิดอุบัติเหตุบนท้องถนน มีจำนวนลดลง จากปีก่อน 168 ครั้ง ปีนี้ 2 ครั้ง ลดลงร้อยละ 98.8 โครงการนี้มีกิจกรรมที่เป็นต้นแบบ ให้คณะทำงานขับเคลื่อนต่อเนื่องได้ โดยเฉพาะโรงเรียนธรรมวิทยามูลนิธิ ที่มีอาสาสมัครจราจรรุ่นสู่รุ่น และเพิ่มจำนวนมากขึ้น นอกจากนี้คณะทำงาน ที่เป็นผู้ประสานงานหลักประจำจุดเสี่ยงยังคงจะดำเนินการต่อ สื่อสารกันทางกลุ่มไลน์ ข้อเสนอแนะ ได้แก่ ขอให้เครือข่ายสนับสนุนต่อเนื่อง เข้มข้น คือ ตำรวจจราจร เทศบาลนครยะลา และ สำนักงานขนส่งจังหวัด

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh