directions_run

โครงการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตเตรียมรองรับสังคมสูงวัยโดยการมีส่วนร่วมในตำบลท่าพญา

แบบประเมินด้วยขั้นตอน HIA

บทคัดย่อ/บทนำ

บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อสร้างกลไกคณะทำงานในการพัฒนาคุณภาพชีวิตเพื่่อรองสังคมสูงวัยตำบลท่าพญา ผลการดำเนินงานที่สำคัญ เกิดคณะทำงานแกนนำ15 คนจากตัวแทนทุกหมู่บ้าน ที่มีความรู้ความเข้าใจความสำคัญในการขับเคลื่อนรอรับสังคมสูงวัย มีข้อมูลพฤติกรรมเตรียม 4 มิติด้านสุขภาพ สังคม เศรษฐกิจ และสภาพแวดล้อม เกือบทุกหลังคาเรือน(400คน) มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 5 พบว่า ค่าเฉลี่ยต่ำสุด เรื่องการออมเท่ากับ 2.58 รองลงมา สภาพแวดล้อมเท่ากับ2.95 ด้านสังคม เท่ากับ-3.01และด้านสุขภาพ เท่ากับ 3.15 ตามลำดับ ผลการวิเคราะห์ที่จะแก้ปัญหา เรื่องการเงินออมสถาบันการเงิน ปรับสภาพแวดล้อมของห้องน้ำ ห้องส้วม ด้านสุขภาพ เรื่องการออกกำลังกาย เรื่องอาหารหวาน มันเค็ม ผลการจัดเรียนรู้การปรับสภาพบ้านที่อยู่ปลอดภัย ปรับปรับสภาพแวดล้อมห้องน้ำสาธารณะ (วัดท่าพญา 1.ปรับทางลาดทางเข้าห้องน้ำให้ไม่มีรอยต่อสามารถขึ้นลงสะดวกไม่สะดุด 2.เพิ่มราวจับสแตนเลสบริเวณทางเข้าห้องน้ำ 3.ปรับโถส้วมจากแบบนั่งยองเป็นนั่งราบพร้อมติดตั้งสายฉีด จำนวน 6 ห้อง นอกจากนี้ได้ผลิตสื่อประชาสัมพันธ์ เรื่องบันไดผลลัพธ์โครงการในการสื่อสารของคณะทำงานและชุมชน
ข้อเสนอแนะ อยากให้ผู้มีส่วนที่เกี่ยวข้องกับโครงการได้รับรู้รายละเอียดโครงการและแนวทางดำเนินการที่ตรงกันและ ผ่านงบประมาณของโครงการผ่านไปคณะทำงานโครงการตำบลท่าพญาโดยตรง เพื่อสะดวกในการดำเนินงาน สิ่งที่ดำเนินการต่อไปของตำบลท่าพญา เรื่องการพัฒนาด้านสังคม เรื่องโรงเรียนผู้สูงอายุตำบลท่าพญา การออมเงินกับสถานบันการเงินเพื่อรองรับสูงวัยอายุ โดยเน้นใน กลุ่ม40-59ปี กิจกรรมมีการปรับสภาพแวดล้อมบ้านของผู้สูงอายุที่มีภาวะเสี่ยงต่อการอกล้ม และกิจกรรมออกกำลังกายที่สอดคล้องวิถีชีวิตของชุมชน และทาเงเทศบาลตำบลได้บรรจุแผนเตรียมรองรับสังคมสูงวัยลงในงบเงินอุดหนุน ตอนนี้ตำบลเทศบาลตำบลท่าพญา ได้รับงบประมาณกองทุนระบบดูแลผู้ป่วยสูงอายุและผู้มีภาวะพึ่งพิงปี2565

คำสำคัญ

 

บทนำ

 

หมายเหตุ
  • บทคัดย่อ/บทนำ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

แบบประเมิน HIA

1. การกลั่นกรองโครงการ

 

1.1 วัตถุประสงค์

1) เพื่อให้ทราบผลและบอกถึงงานที่รับผิดชอบ
2) เพื่อให้เห็นแนวโน้ม เพื่อเตือนภัย
3) เพื่อเปลี่ยนพฤติกรรม และเข้าใจกระบวนการ
4) เพื่อลำดับความสำคัญ แปลง ปรับกลยุทธ์ สู่การปฎิบัติ
5) เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดการ ช่วยการควบคุม
6) เพื่อจัดสรรทรัพยากร
7) เพื่อการเรียนรู้ และรู้ขีดความสามารถ
8) เพื่อเปรียบเทียบ ปรับปรุงและพัฒนา
9) เพื่อช่วยเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร
10) เพื่อให้รางวัล เพื่อจูงใจ
11) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.2 วิธีการ (ระบุรายละเอียดทำอะไร กับใคร กี่คน ผลสรุป)

1) ประชุมทีมประเมิน

 

2) ประชุมร่วมกับโครงการ

 

3) ประชุมร่วมกับโครงการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

 

4) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.3 เครื่องมือ

1) เครื่องมือที่ใช้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง (ระบุรายละเอียดเครื่องมือ เช่น แนวคำถามในการประชุมกลุ่ม)

 

1.4 ผลที่ได้

1) ผลที่ได้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง

 

2. การกำหนดขอบเขต

 

1) วิธีการในการกำหนดขอบเขต

 

2) ผู้เข้าร่วมกำหนดขอบเขต

 

3) เครื่องมือที่ใช้

 

4) กรอบแนวคิด

1) ใช้กรอบ Ottawa charter
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
2) ใช้กรอบ ปัจจัยกำหนดสุขภาพ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
3) ใช้กรอบ Balance Score Card
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
4) ใช้กรอบ CIPP
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
5) อื่นๆ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล

3. ลงมือประเมิน

 

1) กระบวนการเก็บข้อมูลโดยการมีส่วนร่วม (ระบุรายละเอียด)

 

2) กระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล (ระบุรายละเอียด)

 

3) ผู้มีส่วนร่วมในการประเมิน (ระบุรายละเอียด)

 

4) ผลการประเมิน (เรียงตามตัวชี้วัดที่กำหนดในขั้นตอน scoping)
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

4. ทบทวนรายงานการประเมินว่าถูกต้องหรือไม่?

 

1) กระบวนการในการทบทวนรายงาน

 

2) ผู้มีส่วนร่วมในการทบทวนรายงาน

 

3) ผลการทบทวนร่างรายงาน

 

4) สรุปผลการประเมินสำคัญที่นำเข้าเวทีการทบทวน
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดสรุปผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

5. การปรับปรุงทบทวนโครงการ

 

1) ข้อเสนอเพื่อการทบทวนโครงการ

 

2) อื่นๆ

 

6. ได้มีการปรับปรุงทบทวนโครงการตามข้อ 5 หรือไม่?

 

1) กลไกในการติดตามการปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

2) วิธีการติดตาม การปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

3) อื่นๆ

 

สรุป

อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

จากการดำเนินงานตลอดระยะเวลาโครงการพบปัญหาอุปสรรคหลายๆประการ เช่นการเริ่มโครงการที่ล่าช้ากว่ากำหนด ระยะเวลาโครงการจึงสั้นลง ประกอลกับสถานการการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้่อโคโรนา โควิด 19 ในพื้นที่ ทั้งการติดเชื้อและการกักตัวของประชาชนในพื้นที่ ทำให้โครงการที่ดำเนินการเกี่ยวข้องกับการประชุมและฝึกอบรมไม่สามารถดำเนินการได้

เอกสารอ้างอิง

 

เอกสารประกอบโครงการ