directions_run

ศูนย์ความปลอดภัยทางถนนสถานศึกษาโรงเรียนอุดมศาสน์วิทยา

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วมระหว่างโรงเรียนและชุมชน ในการจัดการจุดเสี่ยงเพื่อป้องกันอุบัติเหตุทางถนนในชุมชน
ตัวชี้วัด : ผลลัพธ์ที่ 1 เกิดคณะทำงานลดอุบัติเหตุในโรงเรียน ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 1.1 มีคณะทำงานขับเคลื่อนการลดอุบัติเหตุโดยมีองค์ประกอบตามโครงสร้างการทำงาน ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 1.2 มีแผนการดำเนินงานของคณะทำงานในการขับเคลือนความร่วมมือและการบูรณาการกับภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 1.3 มีข้อมูลสถานการณ์ลดอุบัติเหตุ ผลลัพธ์ที่ 2 เกิดศูนย์การเรียนรู้และเกิดความร่วมมือในการขับเคลื่อนงานตามแผน ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 2.1 เกิดความร่วมมือของนักเรียน ครู บุคลากร กรรมการ โรงเรียนและผู้ปกครองในการป้องกันอุบัติเหตุอ่างต่อเนื่องต่อไป ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 2.2 มีกติกาในเรื่องของความปลอดภัยของนักเรียนในการเดินทางระหว่างโรงเรียน ชุมชน และที่พักอาศัย ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 2.3 โรงเรียนและผู้ปกครองเกิดข้อตกลงเรื่องการสวมหมวกนิรภัย การขับขี่ปลอดภัยและความปลอดภัยของรถรับส่งนักเรียน ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 2.4 เกิดแผนความร่วมมือของโรงเรียนกับคนขับรถรับส่งนักเรียนในเรื่องความปลอดภัยระหว่างการรับส่งนักเรียน ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 2.5 เกิดแผนการจัดการจุดเสี่ยงจากความร่วมมือของคณะทำงานและภาคีเครือข่าย ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 2.6 เกิดศูนย์เรียนรู้ความปลอดภัยทางถนนสถานศึกษาโรงเรียนอุดมศาสน์วิทยา
50.00 0.00

 

2 เพื่อให้เกิดกลไกการเฝ้าระวังเรื่องอุบัติเหตุในโรงเรียนและบริเวรใกล้เคียง
ตัวชี้วัด : ผลลัพธ์ที่ 3 เกิดกลไกลเฝ้าระวังเรื่องอุบัติเหตุในโรงเรียนและเส้นทางไปโรงเรียน ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 3.1 มีกลไกเฝ้าระวัง ป้องกันอุบัติเหตุในโรงเรียน (อาสาจราจร ,สารวัตนักเรียน) ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 3.2 มีกลไกการเฝ้าระวังอุบัติเหตุตามเส้นทางการขับขี่ของนักเรียนและบุคคลากรระหว่างโรงเรียนและที่พักอาศัย ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 3.3 มีการเฝ้าระวังการเกิดอุบัติเหตุบนรถรับส่งนักเรียนและจุดรับส่งนักเรียน ผลลัพธ์ที่ 4 ลดพฤติกรรมเสี่ยงและปรับเปลียนสภาพแวดล้อมที่ทำให้เกิดอุบัติเหตุ ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 4.1 สภาพแวดล้อมที่ก่อให้เกิดอุบัติเหตุนักเรียนและบุคคลากร เส้นทางระหว่างบ้าน และโรงเรียนได้รับการแก้ไขหรือส่งต่อร้อยละ 100 ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 4.2 จุดเสี่ยงรอบโรงเรียนได้รับการแก้ไขหรือส่งต่อร้อยละ 100 ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 4.3 รถรับส่งนักเรียนมีการปรับสภาพแวดล้อมให้ปลอดภัยร้อยละ 95 ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 4.4 นักเรียนและบุคลากรโรงเรียนมีการสวมหวมกนิรภัย(หน้าโรงเรียน) ร้อยละ 80 ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 4.5 นักเรียนและบุคคลากรขับขี่อย่างปลอดภัย ร้อยละ 95 ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 4.6 คนขับรถรับส่งนักเรียนมีพฤติกรรมการขับรถปลอดภัย ผลลัพธ์ที่ 5 การเกิดอุบัติเหตุของนักเรียน บุคลากรในโรงเรียนและผู้ปกครองในชุมชนลดลง ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 5.1 จำนวนการเกิดอุบัติเหตุของนักเรียนและบุคลากรที่ขับขี่รถจักรยานยนต์ลดลงร้อยละ 50 ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 5.2 จำนวนการเกิดอุบัติเหตุของนักเรียนที่เดินทางมากับรถรับส่งลดลงร้อยละ 50 5.3 อัตราการเสียชีวิตลดลงร้อยละ 50 5.4 อัตราการเกิดความรุนแรงทางศรีษะลดลงร้อยละ 50
50.00

 

3 3.เพื่อการบริหารจัดการโครงการ
ตัวชี้วัด : 3.1 โครงการสามารถดำเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 500 500
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
นักเรียนมัธยมต้นและมัธยมปลาย 400 400
บุคลากรโรงเรียนอุดมสาสน์วิทยายะลา 50 50
แกนนำชุมชน 20 20
แกนนำโครงการ 30 30

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วมระหว่างโรงเรียนและชุมชน ในการจัดการจุดเสี่ยงเพื่อป้องกันอุบัติเหตุทางถนนในชุมชน (2) เพื่อให้เกิดกลไกการเฝ้าระวังเรื่องอุบัติเหตุในโรงเรียนและบริเวรใกล้เคียง (3) 3.เพื่อการบริหารจัดการโครงการ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 การพัฒนาศักยภาพทีมจัดทำโครงการย่อย (2) กิจกรรมที่ 2 การประชุมคณะทำงาน (3) กิจกรรมที่ 4 เก็บข้อมูลสถิติการเกิดอุบัติเหตุและจุดเสี่ยง (4) ค่าเปิดบัญชี (5) กิจกรรมที่ 15 การจัดการจุดเสี่ยง (6) กิจกรรมที่ 3 อบรมให้ความรู้คณะทำงาน (7) กิจกรรมที่ 5 เวทีกำหนดกติกา ข้อตกลงและคืนข้อมูล (8) กิจกรรมที่ 6 อบรม สร้างความเข้าใจ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเจ้าหน้าที่ขับรถรับส่งนักเรียน (9) กิจกรรมที่ 7 พัฒนาศูนย์เรียนรู้ในโรงเรียน (10) กิจกรรมที่ 8 เวทีประเมินผลเพื่อการพัฒนาและการเรียนรู้ ครั้งที่ 1 (ARE 1) (11) กิจกรรมที่ 9 ปรับเปลี่ยนจุดรับส่งนักเรียน (12) กิจกรรมที่ 13 อบรมเชิงปฏิบัติการ (13) กิจกรรมที่ 10 ความร่วมมือภาคีปฏิบัติการ (14) กิจกรรมที่ 11 สร้างสื่อออนไลน์ (15) กิจกรรมที่ 12 เวทีประเมินผลเพื่อการพัฒนาและการเรียนรู้ ครั้งที่ 2 (ARE 2) (16) กิจกรรมที่ 14 รณรงค์การขับขี่ปลอดภัย (17) กิจกรรมที่ 16 สังเกตการณ์และบันทึกข้อมูล (18) กิจกรรมที่ 17 เวทีคืนข้อมูลและเวทีประเมินผลเพื่อการพัฒนาและการเรียนรู้ ครั้งที่ 3 (ARE 3) (19) กิจกรรมที่ 18 เวทีการสื่อสารและการขยายผลต่อยอดกิจกรรม (20) เวทีพัฒนาข้อเสนอโครงการย่อยฯปี 65 ประเด็นการลดอุบัติเหตุบนท้องถนน (21) เวทีปฐมนิเทศและจัดทำข้อสัญญาโครงการย่อยฯ ปี 2565 (22) เวทีเรียนรู้การจัดทำรรายงานผลการดำเนินงานผ่านระบบฯ ปี 2565 (23) จัดทำป้ายไวนิลโครงการและไวนิลเขตปลอดบุหรี่ (24) กิจกรรมจัดทำรายงานโครงการ (25) เวทีพัฒนาศักยภาพ (26) เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (27) เก็บรวบรวมข้อมูลการเกิดอุบัติเหตุในนักเรียน บุคลากรและชุมชน (28) วิเคราะห์ข้อมูล (29) อบรมให้ความรู้แกนนำนักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนเกี่ยวกับการขับขี่ปลอดภัยบนท้องถนน (30) เวทีกำหนดกติกา ข้อตกลงและสร้างความเข้าใจแก่นักเรียน บุคลการ คนขับรถและผู้ปกครองและคืนข้อมูลการเกิดอุบัติเหตุ (31) ประชุมครั้งที่ 1 (32) พัฒนาศูนย์เรียนรู้ในโรงเรียน (สถานที่และข้อมูล) (33) เวทีประเมินผลเพื่อการพัฒนาและการเรียนรู้ครั้งที่ 1 (ARE 1 ) (34) อบรมสร้างความเข้าใจ  ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเจ้าหน้าที่ขับรถรับส่งนักเรียน (35) พัฒนาวิทยากรกระบวนการประจำศูนย์การเรียนรู็ (36) ปรับเปลี่ยนจุดรับส่งนักเรียน (37) จัดอบรมเชิงปฏิบัติการในเรื่องกฎข้อบังคับจราจร(อาสาจราจร และสารวัตรนักเรียน คนขับรถรับส่ง) (38) ประชุมครั้งที่ 2 (39) เวทีการประเมินเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา ARE ระดับหน่วยจัดการครั้งที่ 1 (40) จัดเวทีความร่วมมือภาคีปฏิบัติการ(ครู คนขับ นักเรียน ผู้ปกครอง) (41) สร้างสรรค์สื่อออนไลน์(สื่อหนังสั้น ป้องกันอุบัติเหตุในเยาวชน) (42) เวทีติดประเมินผล รายงานการดำเนินการตามผลลัพธ์ (43) ปรับปรุงซ่อมแซมพื้นที่เสี่ยงหรือชำรุด (44) ประชุมครั้งที่ 3 (45) เวทีประเมินผลเพื่อการพัฒนาและการเรียนรู้ครั้งที่ 2 (ARE 2) (46) กิจกรรมรณรงค์การขับขี่ปลอดภัย (47) สังเกตการณ์  และบันทึกข้อมูล (48) ประชุมครั้งที่ 4 (49) เวทีการสื่อสารและขยายผลต่อยอดกิจกรรม (50) เวทีประเมินผลเพื่อการพัฒนาและการเรียนรู้ ครั้งที่ 3 (ARE 3)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh