แผนปฏิบัติการหมู่บ้านเข้มแข็ง มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน


โครงการขยายผลพัฒนาหมู่บ้าน/ชุมชนเข้มแข็ง มั่นคง มั่งคง ยั่งยืน พ.ศ. 2561


บ้าน สะเอะใน หมู่ที่ 4 ตำบล สะเอะ อำเภอ กรงปินัง จังหวัด ยะลา

คำนำ

 

คณะกรรมการหมู่บ้าน ....................................
วัน.............เดือน...............................พ.ศ.............

สารบัญ

หน้า

ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของหมู่บ้าน
1.1 วิสัยทัศน์
1.2 ข้อมูลทั่วไปของหมู่บ้าน
1.3 ข้อมูลอาณาเขตพื้นที่หมู่บ้าน
1.4 ข้อมูลประชากรในพื้นหมู่บ้าน
1.5 ข้อมูลการศึกษาในพื้นที่หมู่บ้าน
1.6 ข้อมูลด้านศาสนาในพื้นที่หมู่บ้าน
1.7 ข้อมูลเศรษฐกิจในพื้นที่หมู่บ้าน
1.8 ข้อมูลการท่องเที่ยวในพื้นที่หมู่บ้าน
1.9 ข้อมูลการบริการขั้นพื้นฐานในพื้นที่หมู่บ้าน

ส่วนที่ 2 ข้อมูลการวิเคราะห์สภาพปัญหาในพื้นที่หมู่บ้าน
2.1 สถานการณ์ในอดีตและปัจจุบันในหมู่บ้าน
2.2 จุดแข็งหรือทุนทางสังคมหรือของดีของหมู่บ้านที่สนับสนุนต่อการพัฒนาหมู่บ้าน
2.3 จุดอ่อนหรือปัญหาอุปสรรค์ต่อการพัฒนาหมู่บ้าน
2.4 แนวทางแก้ไขและพัฒนาหมู่บ้าน
2.5 โครงการสำคัญที่ผ่านมาที่ส่งผลต่อการพัฒนาหมู่บ้านให้เกิดความเข้มแข็ง มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน

ส่วนที่ 3 แผนปฏิบัติการหมู่บ้านเข้มแข็ง มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน
3.1 แผนงาน/โครงการที่ขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากโครงการหมู่บ้านเข้มแข็ง มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน ประจำปี 2561
- ด้านความมั่นคง
- ด้านการสร้างความเข้าใจ
- ด้านการพัฒนา

ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของหมู่บ้าน

1.1 วิสัยทัศน์
“ มุ่งมั่นพัฒนาการศึกษาเข้มแข็งปลอดแหล่งยาเสพติดชีวิตอยู่ดีกินดีขนบธรรมเนียมประเพณีรักษาไว้ชุมชนพึ่งตนเองได้ใช้ชีวิตอย่างพอเพียง”

1.2 ข้อมูลทั่วไปของหมู่บ้าน

1) พิกัด
6.3997479560261,101.26045338084
แผนที่เดินดิน


2) ประวัติหมู่บ้าน

ในอดีต มีการเล่าสืบต่อกันมาว่า มีบุคคลคนหนึ่งได้บุกเบิกเข้ามาในหมู่บ้านแห่งนี้ ซึ่งชาวบ้านเรียกชื่อบุคคลคนนี้ว่า “เชค”ชาวบ้านจึงได้ตั้งชื่อหมู่บ้านแห่งนี้ว่า “สะเอะ” ที่มาจากคำว่า “เชค” ซึ่งหมายถึง ผู้แทนนำผู้ประกอบการแสวงบุญไปปฏิบัติศาสนกิจที่นครเม็กกะฮฺ
และเนื่องจากในอดีตหมู่บ้านแห่งนี้มีพื้นที่ที่อยู่ลึกเข้าไปในหมู่บ้านระยะไกล ชาวบ้านต้องใช้เวลามากพอสมควรในการเดินทางเข้า-ออกจากหมู่บ้าน ด้วยเหตุนี้ชาวบ้านในตำบลสะเอะจึงได้ตั้งชื่อหมู่บ้านแห่งนี้ว่า บ้านสะเอะใน การเดินทางเข้าสู่หมู่บ้านใช้เส้นทางหลวง หมายเลข 410 ยะลา – เบตง เลี้ยวขวาเข้าสู่หมู่บ้าน ถนนทางหลวงชนบทสะเอะ – ห้วยกระทิง



3) โครงสร้างคณะกรรมการหมู่บ้าน (กม.)/อพป.

นายตอเละ ดีสะเอะกำนันประธานคณะกรรมการหมู่บ้าน

นายมะนูเซ็ง ดีสะเอะหัวหน้าคณะทำงาน
ด้านอำนวยการ

นายกามารูดิน สะแตหัวหน้าคณะทำงาน
ด้านการปกครองและรักษาความปลอดภัย

นายอาซัน สือนิลหัวหน้าคณะทำงาน
ด้านแผนพัฒนาหมู่บ้าน

นายอิมรอม ดีสะเอะหัวหน้าคณะทำงาน
ด้านส่งเสริมเศรษฐกิจ

นายเจ๊ะแวมะหะมะ ดีสะเอะหัวหน้าคณะทำงาน
ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม และสาธารณสุข

นายอามะ มูเลงหัวหน้าคณะทำงาน
ด้านศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

นางเมาะ ดีสะเอะหัวหน้าคณะทำงาน
ด้านอื่นๆ


4) ศูนย์ราชการในหมู่บ้าน
(ทั่วไปมีอะไรบ้างได้แก่ วัด มัสยิด โรงเรียน โรงพยาบาล สถานีอนามัย ป้อมตำรวจ ศูนย์เด็กฯ หอกระจายข่าว ศาลาหมู่บ้าน รวมถึง หน่วยราชการต่างๆ)
  1. ป้อม ชรบ.
  2. โรงเรียนบ้านสะเอะใน
  3. ที่ทำการกำนัน
  4. มัสยิด
  5. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก


1.3 ข้อมูลอาณาเขตในพื้นที่หมู่บ้าน

1) อาณาเขต
ทิศเหนือ ติดต่อกับ
หมู่ที่ 3 ตำบลสะเอะทิศใต้ ติดต่อกับ
หมู่ที่ 1 ตำบลห้วยกระทิงทิศตะวันออก ติดต่อกับ
หมู่ที่ 8 ตำบลกรงปินังทิศตะวันตก ติดต่อกับ
หมู่ที่ 6 ตำบลสะเอะ

2) ลักษณะภูมิประเทศ
(ได้แก่ ภูมิอากาศและฤดูกาล เช่น มีสภาพื้นที่ราบลุ่ม ฤดูร้อนอากาศร้อนมาก หรือฤดูฝน ฝนตกหนัก ตกไม่แน่นอน สภาพอากาศเหมาะสำหรับการประกอบอาชีพทำนา เพาะปลูก หรือเลี้ยงสัตว์อะไร)

บ้านสะเอะในตั้งอยู่หมู่ที่ 4 ตำบลสะเอะ อยู่บนถนนทางหลวงชนบทสาย สะเอะ – ห้วยกระทิง อยู่ห่างจากที่ว่าการอำเภอกรงปินัง ประมาณ 10 กิโลเมตร และอยู่ห่างจากจังหวัดยะลา ประมาณ 10 กิโลเมตร ใช้เวลาในการเดินทาง ประมาณ 40 นาที จากตัวเมืองเนื้อที่คิดเป็น 8.15 ตารางกิโลเมตร หรือ 5,318 ไร่หมู่บ้านสะเอะในโดยทั่วไปจะมี 2 ฤดู คือ ฤดูร้อนและฤดูฝน และเป็นหมู่บ้านที่มีภูเขาและป่าไม้ที่อุดมสมบูรณ์ สภาพอากาศเย็นสบาย ฤดูร้อนจะไม่ค่อยร้อนและมีลมพัดผ่านตลอดเวลา



1.4 ข้อมูลประชากรในพื้นที่หมู่บ้าน

1) ประชากรของหมู่บ้านทั้งหมด จำนวน 1279 คน แยกเป็น เพศชาย 643 คน / เพศหญิง 636 คน

2) เยาวชนในหมู่บ้านทั้งหมด จำนวน คน แยกเป็น เพศชาย คน / เพศหญิง คน
("เด็ก" หมายถึง บุคคลที่มีอายุเกิน 7 ปีบริบูรณ์ แต่ยังไม่เกิน 14 ปีบริบูรณ์ "เยาวชน" หมายถึง บุคคลที่มีอายุเกิน 14 ปีบริบูรณ์ แต่ยังไม่ถึง 18 ปีบริบูรณ์)

3) ผู้สูงอายุในหมู่บ้านทั้งหมด จำนวน 0 คน แยกเป็น เพศชาย คน / เพศหญิง คน
(อายุ 60 ปีขึ้นไป)

4) ประชากร/ครัวเรือนยากจน
(รายได้ไม่ถึง 30,000 บาท/คน/ปี ยึดข้อมูล จปฐ. ปี 2560)
- ประชากรในหมู่บ้านมีรายได้ จำนวน 38000 บาท/คน/ปี
- ครัวเรือนยากจน จำนวน 4 ครัวเรือน

5) เด็กกำพร้า จำนวน 25 คน แยกเป็น เพศชาย 4 คน/ เพศหญิง 21 คน

6) คนพิการ จำนวน 7 คน แยกเป็น เพศชาย 2 คน / เพศหญิง 5 คน

7) ผู้ป่วยติดเตียง จำนวน 2 คน แยกเป็น เพศชาย -0 คน / เพศหญิง 2 คน

1.5 ข้อมูลการศึกษาในพื้นที่หมู่บ้าน

1) การศึกษาสายสามัญ จำนวน 5 คน แยกเป็น เพศชาย 2 คน / เพศหญิง3 คน

2) การศึกษาสายอาชีพ จำนวน 10 คน แยกเป็น เพศชาย 4 คน / เพศหญิง 6 คน

3) การศึกษาทางศาสนา จำนวน 16 คน แยกเป็น เพศชาย 3 คน / เพศหญิง 13 คน

4) การศึกษาระดับอุดมศึกษา จำนวน 7 คน แยกเป็น เพศชาย 1 คน / เพศหญิง 6 คน
- การศึกษาระดับอุดมศึกษาในประเทศ
ระดับปริญญาตรีจำนวน 5 คน แยกเป็น เพศชาย 2 คน / เพศหญิง 3 คน
ระดับปริญญาโท จำนวน 2 คน แยกเป็น เพศชาย 1 คน / เพศหญิง 1 คน
ระดับปริญญาเอก จำนวน 0 คน แยกเป็น เพศชาย 0 คน / เพศหญิง 0 คน

- การศึกษาระดับอุดมศึกษาต่างประเทศ
ระดับปริญญาตรี จำนวน 5 คน แยกเป็น เพศชาย 2 คน / เพศหญิง 3 คน
ระดับปริญญาโท จำนวน 0 คน แยกเป็น เพศชาย 0 คน / เพศหญิง 0 คน
ระดับปริญญาเอก จำนวน 0 คน แยกเป็น เพศชาย 0 คน / เพศหญิง 0 คน

5) สถานศึกษาในพื้นที่หมู่บ้าน
- โรงเรียนประถมศึกษา จำนวน 1 แห่ง
- โรงเรียนมัธยมศึกษา จำนวน 0 แห่ง
- โรงเรียนเอกชนสอนศาสนา จำนวน 1 แห่ง
- สถาบันปอเนาะ จำนวน 0 แห่ง
- ตาดีกา จำนวน 1 แห่ง
- อื่น
0

1.6 ข้อมูลด้านศาสนาในพื้นที่หมู่บ้าน

1) ผู้นับถือศาสนาในพื้นที่หมู่บ้าน
- ศาสนาอิสลาม จำนวน 1279 คน คิดเป็นร้อยละของประชากรในหมู่บ้าน
- ศาสนาพุทธ จำนวน 0คน คิดเป็นร้อยละของประชากรในหมู่บ้าน
- ศาสนาอื่นโปรด จำนวน 0 คน คิดเป็นร้อยละของประชากรในหมู่บ้าน

2) ศาสนสถานในพื้นที่หมู่บ้าน
- มัสยิด จำนวน 2 แห่ง
- บาราเซาะ /สุเหร่า จำนวน 1แห่ง
- วัด จำนวน 0แห่ง
- สำนักสงฆ์ จำนวน 0แห่ง
- ที่พักสงฆ์ จำนวน 0 แห่ง
- อื่นๆ ระบุ 0

1.7 ข้อมูลเศรษฐกิจในพื้นที่หมู่บ้าน

1) อาชีพหลักประชากรในพื้นที่หมู่บ้าน (เช่น ค้าขาย ทอผ้า หรือรับจ้างทั่วไป เป็นต้น)
ระบุอาชีพ ค้าขาย จำนวน 10 ครัวเรือน
ระบุอาชีพ ทำสวน/กรีดยาง จำนวน 165 ครัวเรือน
ระบุอาชีพ รับจ้างทั่วไป จำนวน 46 ครัวเรือน
ระบุอาชีพ จำนวน ครัวเรือน
ระบุอาชีพ จำนวน ครัวเรือน
ระบุอาชีพ จำนวน ครัวเรือน

2) อาชีพเสริมประชากรในพื้นที่หมู่บ้าน (เช่น เกษตรกรรม เลี้ยงสัตว์ เป็นต้น)
ระบุอาชีพ ตัดเย็บ จำนวน 10 ครัวเรือน
ระบุอาชีพ เลี้ยงสัตว์ จำนวน 120 ครัวเรือน
ระบุอาชีพ ปลูกผักสวนครัว จำนวน 35 ครัวเรือน
ระบุอาชีพ จำนวน ครัวเรือน
ระบุอาชีพ จำนวน ครัวเรือน
ระบุอาชีพ จำนวน ครัวเรือน

3) ภูมิปัญญา/ผลผลิตหรือผลิตภัณฑ์ที่น่าสนใจของหมู่บ้าน

 


4) ข้อมูลศูนย์การเรียนรู้ในพื้นที่หมู่บ้าน
- ชื่อสถานที่ ชื่อผู้รับผิดชอบ เบอร์โทร
- ชื่อสถานที่ ชื่อผู้รับผิดชอบ เบอร์โทร
- ชื่อสถานที่ ชื่อผู้รับผิดชอบ เบอร์โทร
- ชื่อสถานที่ ชื่อผู้รับผิดชอบ เบอร์โทร
- ชื่อสถานที่ ชื่อผู้รับผิดชอบ เบอร์โทร
- ชื่อสถานที่ ชื่อผู้รับผิดชอบ เบอร์โทร

5) หน่วยธุรกิจในหมู่บ้าน (เช่น ปั๊มน้ำมัน โรงสี ร้านค้า)จำนวน 5 แห่ง

6) ข้อมูลกลุ่มหรือองค์กรในพื้นที่หมู่บ้าน
- ชื่อกลุ่ม/องค์กร แม่บ้าน/สตรี จำนวนสมาชิก 20 คน
- ชื่อกลุ่ม/องค์กร จำนวนสมาชิก คน
- ชื่อกลุ่ม/องค์กร จำนวนสมาชิก คน
- ชื่อกลุ่ม/องค์กร จำนวนสมาชิก คน
- ชื่อกลุ่ม/องค์กร จำนวนสมาชิก คน
- ชื่อกลุ่ม/องค์กร จำนวนสมาชิก คน

7) กองทุนในหมู่บ้าน
จำนวน 1 แห่ง
เช่น กองทุน กองทุนหมู่บ้าน (กทบ.)
- ชื่อกองทุน กองทุนหมุ่บ้าน (กทบ.ป ชื่อ/เบอร์โทรประธาน นายตอเละ ดีสะเอะ (0805425050) จำนวนสมาชิก 35 คน
- ชื่อกองทุน ชื่อ/เบอร์โทรประธาน จำนวนสมาชิก คน
- ชื่อกองทุน ชื่อ/เบอร์โทรประธาน จำนวนสมาชิก คน
- ชื่อกองทุน ชื่อ/เบอร์โทรประธาน จำนวนสมาชิก คน
- ชื่อกองทุน ชื่อ/เบอร์โทรประธาน จำนวนสมาชิก คน
- ชื่อกองทุน ชื่อ/เบอร์โทรประธาน จำนวนสมาชิก คน

1.8 ข้อมูลการท่องเที่ยวในพื้นที่หมู่บ้าน
1) แหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญ
- ชื่อสถานที่ คลองบูแด ที่ตั้ง บ้านสะเอะใน ม.4 ต.สะเอะ
- ชื่อสถานที่ บึงละหารหะยี ที่ตั้ง บ้านสะเอะใน ม.4 ต.สะเอะ
- ชื่อสถานที่ ที่ตั้ง
- ชื่อสถานที่ ที่ตั้ง
- ชื่อสถานที่ ที่ตั้ง
- ชื่อสถานที่ ที่ตั้ง

2) ประเพณีวัฒนธรรมที่สำคัญของหมู่บ้าน (เช่นประเพณีสงกรานต์ ประเพณีลอยกระทง ประเพณีสารทเดือนสิบ ประเพณีกวนอาซูรอ เป็นต้น)

ประชาชนในหมู่บ้านยึดมั่นในหลักศาสนานับถือศาสนาอิสลาม100 % วิถีชีวิตอยู่กันแบบพี่ น้อง ใครเดือดร้อนก็ช่วยเหลือเกื้อกูลแบบเครือญาติ ในทุกๆคืนจะมีการประกอบศาสนกิจร่วมกันเป็นกลุ่ม ไม่ว่าจะเป็นที่มัสยิดหรือบาลาเซาะห์ ทำให้เกิดผลดีในด้านศาสนา นอกจากนั้นยังมีผลดีในการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นรับทราบข่าวสาร และสิ่งที่เป็นสารประโยชน์ สำหรับด้านประเพณี มีกิจกรรมและวันสำคัญทางศาสนา ดังนี้ การถือศีลอดเป็นหลักปฏิบัติที่มุสลิมจำเป็นต้องถือศีลอดในเดือนรอมฎอนตลอดระยะเวลา1 เดือน มุสลิมที่มีอายุเข้าเกณฑ์ศาสนบัญญัติ จะต้องงดการกิน การดื่ม การร่วมประเวณีตลอดจน ทุกอย่างที่เป็นสิ่งต้องห้าม ตั้งแต่ดวงอาทิตย์ขึ้น จนกระทั้งตกดิน ทุกคนต้องสำรวมทั้งกาย วาจา ใจเพราะเดือนรอมฎอนเป็นเดือนที่มีเกียรติยิ่งของศาสนาอิสลาม
วันตรุษอิดิลฟิตรีหรือที่นิยมเรียกว่า “วันรายอออกบวช” เพราะหลังจากที่มุสลิมได้ ถือศีลอดมาตลอด 30 วันในเดือนรอมฎอน ก็จะถึงวันออกบวช ตอนเช้าจะมีการละหมาดร่วมกัน ทุกคนจะแต่งกายด้วยเสื้อผ้าที่สะอาด สวยงาม และมีการจ่าย “ซากาตฟิตเราะฮ์” และการให้อภัยซึ่งกันและกัน วันอาซูรอตรงกับวันขึ้น 10 ค่ำ เดือนมูฮัรรอม จัดขึ้นเพื่อระลึกถึงประวัติของนบีนุฮ์ ตอนเกิดอุทกภัยครั้งยิ่งใหญ่ ในวันนี้หลายๆคนจะมีการถือศีลอดสุนัต(ไม่บังคับ) วันตรุษอิดิลอัฎฮา หรือวันรายาฮัจญีย์ เนื่องจากมุสลิมทั่วโลกเริ่มประกอบพิธีฮัจญ์ ณ เมืองเม็กกะ ประเทศซาอุดีอารเบีย จะมีการทำกุรบาน หรือเชือดสัตว์เลี้ยงอาหารแก่เพื่อนบ้านและคนยากจน เพื่อขัดเกลาจิตใจให้เป็นผู้มีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่และรู้จักช่วยเหลือและการแบ่งปันต่อเพื่อนมนุษย์
เมาลิดดินนบีเป็นวันคล้ายวันประสูติของศาสดามูฮัมหมัด (ซล.) ศาสดาแห่งมนุษยชาติ ผู้ศรัทธาในศาสนาอิสลาม จะมีการรำลึกถึงคุณงามความดี หรือประวัติของท่านในอดีตกาล ในบรรยากาศแห่งความรัก และระลึกถึงท่านอย่างแท้จริง
การทำฮัจญ์ อัลลอฮฺทรงบังคับ ให้มุสลิมที่มีความสามารถด้านกำลังกาย และกำลังทรัพย์ ต้องไปทำฮัจญ์ ณ นครเม็กกะ ประเทศซาอุดิอารเบีย ซึ่งมีขึ้นปีละครั้ง ชาวมุสลิมทั่วโลกจะเดินทางมารวมตัวกันที่แห่งนี้ เพื่อแสดงความจงรักภักดีต่ออัลลอฮฺไม่ว่าคนคนนั้นจะเป็นใคร มีฐานะทางสังคมอย่างไร ต้องมาอยู่ที่เดียวกัน ทำกิจกรรมร่วมกัน ทุกคนมีฐานะเป็นบ่าวของอัลลอฮฺอย่างเท่าเทียมกัน การเข้าสุนัต เป็นพิธีกรรมที่สำคัญอย่างหนึ่งของชาวมุสลิม ถือกันว่ามุสลิมที่แท้จริงควรเข้าสุนัต ถ้าไม่ทำถือว่า เป็นมุสลิมที่ไม่สมบูรณ์ ไม่บริสุทธิ์ การเข้าสุนัต คือ การขลิบหนังหุ้มอวัยวะเพศของผู้ชายออก เพื่อให้สะดวกในการทำความสะอาด การแต่งกายแบบมุสลิม เป็นข้อบังคับของศาสนาอิสลามตามบทบัญญัติ มุสลิมผู้ศรัทธา จะต้องปกปิดที่พึงสงวน โดยกำหนดให้ผู้ชายปกปิดระหว่างสะดือกับหัวเข่า และผู้หญิงต้องปกปิดทุกส่วนของร่างกาย ยกเว้นใบหน้า และฝ่ามือ



1.9 ข้อมูลการบริการขั้นพื้นฐานในพื้นที่หมู่บ้าน

1) ถนน
ข้อมูลการเดินทางเข้าหมู่บ้าน จากอำเภอ กรงปินังใช้ทางหลวงสาย สะเอะ-ห้วยกระทิง ระยะ 10 กิโลเมตร

- ถนนลาดยาง จำนวน 1สาย ได้แก่
ชื่อถนน สะเอะ-ห้วยกระทิง ระยะทางประมาณ 10 กิโลเมตร
ชื่อถนน ระยะทางประมาณ กิโลเมตร

- ถนนลูกรัง จำนวน 0สาย ได้แก่
ชื่อถนน ระยะทางประมาณ กิโลเมตร
ชื่อถนน ระยะทางประมาณ กิโลเมตร

2) การไฟฟ้า (มีไฟฟ้าใช้ครอบคลุมทุกครัวเรือนในหมู่บ้าน ) คิดเป็นร้อยละ

3) แหล่งน้ำธรรมชาติและแหล่งน้ำสาธารณะ
แหล่งน้ำธรรมชาติ
ชื่อลำน้ำ/แหล่งน้ำไหลผ่านหมู่บ้านสภาพแหล่งน้ำ
1 น้ำตกตะโล๊ะ ตะโล๊ะ-กาปง ตื้นเขิน มีน้ำใช้ได้ตลอดปี
2 คลองบูแด บูแด – ฆีเล ตื้นเขิน มีน้ำใช้ได้ตลอดปี
3
4
5
สภาพแหล่งน้ำ เช่น ตื้นเขิน กักเก็บน้ำได้น้อย ในฤดูแล้งไม่มีน้ำ
แหล่งน้ำสาธารณะ
ชื่ออ่างเก็บน้ำ/สระน้ำ/หนองน้ำขนาด/ความจุ ต่อไร่สภาพแหล่งน้ำ
1 บึงละหารหะยี บ้านราโน ตื้นเขิน มีน้ำใช้ได้ตลอดปี
2
3
4
5
สภาพแหล่งน้ำ เช่น น้ำตื้นเขิน น้ำใช้ได้ตลอดปี น้ำใช้ไม่ตลอดปี

4) พื้นที่ป่าชุมชน
- ชื่อป่าชุมชน จำนวนพื้นที่ ไร่
- ชื่อป่าชุมชน จำนวนพื้นที่ ไร่

ส่วนที่ 2 ข้อมูลการวิเคราะห์สภาพปัญหาในพื้นที่หมู่บ้าน

2.1 สถานการณ์ในอดีตและปัจจุบันในหมู่บ้าน

2.1.1 ด้านความมั่นคง

1) ยุทธศาสตร์ คนดี มีคุณธรรม เช่น

 



2) ยุทธศาสตร์ อยู่รอดปลอดภัย เช่น

 



2.1.2 ด้านการพัฒนา

1) ยุทธศาสตร์ อยู่เย็น เป็นสุข เช่น

 



2) ยุทธศาสตร์ อยู่ดี กินดี เช่น

 



2.1.3 ด้านการสร้างความเข้าใจ

1) ยุทธศาสตร์ อยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข

 



2.2 จุดแข็ง หรือทุนทางสังคมหรือของดีของหมู่บ้านที่สนับสนุนต่อการพัฒนาหมู่บ้าน

2.2.1 ด้านความมั่นคง

1) ยุทธศาสตร์ คนดี มีคุณธรรม เช่น

 



2) ยุทธศาสตร์ อยู่รอดปลอดภัย เช่น

 



2.2.2 ด้านการพัฒนา

1) ยุทธศาสตร์ อยู่เย็น เป็นสุข เช่น

 



2) ยุทธศาสตร์ อยู่ดี กินดี เช่น

 



2.2.3 ด้านการสร้างความเข้าใจ

1) ยุทธศาสตร์ อยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข

 



2.3 จุดอ่อนหรือปัญหาอุปสรรค์ต่อการพัฒนาของหมู่บ้าน

2.3.1 ด้านความมั่นคง

1) ยุทธศาสตร์ คนดี มีคุณธรรม เช่น

 



2) ยุทธศาสตร์ อยู่รอดปลอดภัย เช่น

 



2.3.2 ด้านการพัฒนา

1) ยุทธศาสตร์ อยู่เย็น เป็นสุข เช่น

 



2) ยุทธศาสตร์ อยู่ดี กินดี เช่น

 



2.3.3 ด้านการสร้างความเข้าใจ

1) ยุทธศาสตร์ อยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข

 



2.4 แนวทางแก้ไขปัญหาและพัฒนาหมู่บ้าน

2.4.1 ด้านความมั่นคง

1) ยุทธศาสตร์ คนดี มีคุณธรรม เช่น

 



2) ยุทธศาสตร์ อยู่รอดปลอดภัย เช่น

 



2.4.2 ด้านการพัฒนา

1) ยุทธศาสตร์ อยู่เย็น เป็นสุข เช่น

 



2) ยุทธศาสตร์ อยู่ดี กินดี เช่น

 



2.4.3 ด้านการสร้างความเข้าใจ

1) ยุทธศาสตร์ อยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข

 



2.5 โครงการสำคัญที่ผ่านมาที่ส่งผลต่อการพัฒนาหมู่บ้านให้เกิดความเข้มแข็ง มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน (ระบุไม่เกิน 5 โครงการ)

2.5.1 ด้านความมั่นคง

1) ยุทธศาสตร์ คนดี มีคุณธรรม เช่น

 



2) ยุทธศาสตร์ อยู่รอดปลอดภัย เช่น

 



2.5.2 ด้านการพัฒนา

1) ยุทธศาสตร์ อยู่เย็น เป็นสุข เช่น

 



2) ยุทธศาสตร์ อยู่ดี กินดี เช่น

 



2.5.3 ด้านการสร้างความเข้าใจ

1) ยุทธศาสตร์ อยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข

 



ส่วนที่3 แผนปฏิบัติการหมู่บ้านเข้มแข็ง มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน

3.1 ด้านความมั่นคง

1) ยุทธศาสตร์คนดี มีคุณธรรม
ที่ชื่อโครงการวัตถุประสงค์วิธีดำเนินการกลุ่มเป้าหมายห้วงดำเนินการงบประมาณผลที่คาดว่าจะได้รับ
1

 

 

 

 

 

 

 

2

 

 

 

 

 

 

 

3

 

 

 

 

 

 

 

4

 

 

 

 

 

 

 

5

 

 

 

 

 

 

 

6

 

 

 

 

 

 

 


2) ยุทธศาสตร์อยู่รอด ปลอดภัย
ที่ชื่อโครงการวัตถุประสงค์วิธีดำเนินการกลุ่มเป้าหมายห้วงดำเนินการงบประมาณผลที่คาดว่าจะได้รับ
1

 

 

 

 

 

 

 

2

 

 

 

 

 

 

 

3

 

 

 

 

 

 

 

4

 

 

 

 

 

 

 

5

 

 

 

 

 

 

 

6

 

 

 

 

 

 

 


3.2 ด้านการพัฒนา

1) ยุทธศาสตร์อยู่เย็น เป็นสุข
ที่ชื่อโครงการวัตถุประสงค์วิธีดำเนินการกลุ่มเป้าหมายห้วงดำเนินการงบประมาณผลที่คาดว่าจะได้รับ
1

 

 

 

 

 

 

 

2

 

 

 

 

 

 

 

3

 

 

 

 

 

 

 

4

 

 

 

 

 

 

 

5

 

 

 

 

 

 

 

6

 

 

 

 

 

 

 


2) ยุทธศาสตร์อยู่ดี กินดี
ที่ชื่อโครงการวัตถุประสงค์วิธีดำเนินการกลุ่มเป้าหมายห้วงดำเนินการงบประมาณผลที่คาดว่าจะได้รับ
1

 

 

 

 

 

 

 

2

 

 

 

 

 

 

 

3

 

 

 

 

 

 

 

4

 

 

 

 

 

 

 

5

 

 

 

 

 

 

 

6

 

 

 

 

 

 

 


3.2 ด้านการสร้างความเข้าใจ
1) ยุทธศาสตร์อยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข
ที่ชื่อโครงการวัตถุประสงค์วิธีดำเนินการกลุ่มเป้าหมายห้วงดำเนินการงบประมาณผลที่คาดว่าจะได้รับ
1

 

 

 

 

 

 

 

2

 

 

 

 

 

 

 

3

 

 

 

 

 

 

 

4

 

 

 

 

 

 

 

5

 

 

 

 

 

 

 

6