แบบบันทึกการติดตามสนับสนุนโครงการ ครั้งที่ 1

รหัสโครงการ 55-01918
สัญญาเลขที่ 55-00-0968

ชื่อโครงการ โครงการฟื้นฟูป่าชุมชนบ้านควนสูง
รหัสโครงการ 55-01918 สัญญาเลขที่ 55-00-0968
ระยะเวลาตามสัญญา 1 ตุลาคม 2012 - 31 ตุลาคม 2013

ส่วนที่ 1 : ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม

1.1 ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 1 อ.จำนง หนูนิล...
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 2
วันที่ลงพื้นที่ติดตาม
วันที่ส่งรายงานถึง สสส. 1 มีนาคม 2013
1.2 ผู้ให้ข้อมูล
ลำดับชื่อ-สกุลผู้ให้ข้อมูลที่อยู่หมายเลขโทรศัพท์
1 นายสมชาย เทพี... 98/3 ม.8 ต.ฉวาง อ.ฉวาง จ.นครศรี... 081-367-9519...

ส่วนที่ 2 : ข้อมูลโครงการและความก้าวหน้าการดำเนินงาน

2.1 วัตถุประสงค์และตัวชี้วัดความสำเร็จโครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ตัวชี้วัดความสำเร็จ

1.

สร้างจิตสำนึกให้คนในชุมชนเห็นคุณค่าของป่า

ป่าชุมชนได้รับการดูแลให้มีสภาพที่สมบูรณ์ขึ้น

2.

เพื่อให้เกิดความร่วมมือของโรงเรียนและชุมชนในการฟื้นฟู สภาพป่าชุมชน

เด็กในโรงเรียน (100คน) ร่วมกันดูแลป่าชุมชน 10 ไร่

3.

เพื่อให้มีกฎกติกาชุมชนในการอนุรักษ์ป่าชุมชน

เกิดข้อตกลงของชุมชนในการใช้ป่าชุมชน

2.2 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ
กลุ่มเป้าหมายงบประมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงปริมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพ/สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ
ที่ตั้งไว้(บาท)เกิดขึ้นจริง(บาท)จำนวนที่ตั้งไว้(คน)จำนวนเกิดขึ้นจริง(คน)

กิจกรรมย่อย: 1.จดัประชุมชีแจงโครงการ...i

ชาวบ้าน แกนนำ... 0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

150..คน.

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

150 คน

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

คนในชุมชนเห็นความสำคัญของผืนป่ามากขึ้น บางกลุ่มเอ่ยปากออกมาว่าน่าจะมีคนทำแบบนี้มาก่อนบ้าง ป่าไม้คงหมดเหมึ่อนทุกวัน

กิจกรรมย่อย: 2.จัดประชุมกลุ่มแกนนำ 3 กลุ่ม/30คน...i

แกนนำ 3 กลุ่ม... 0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

90...คน

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

90 คน

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

ได้กลุ่มแกนนำ 3 กลุ่ม และแต่ละกลุ่มมีแกนนำที่ชัดเจนผู้รับผิดชอบโครงการสามารถติดต่อประสานงานได้ตามแผนที่วางไว้ ได้แก่ กลุ่มควนสูง กลุ่มทุ่งคาด และกลุ่มหนองไซ  และวางแผนการดำเนินงานในแต่ละกลุ่มที่จะลงสำรวจผืนป่าในความรับผิดชอบเกี่ยวกับสภาพป่าว่า มีต้นไม้ชนิดใดที่มีอยู่ในป่า และต้องการปลูกพืช ผักหรือสมุนไพรชนิดใดบ้างแล้วนำมาสรุปเพื่อจัดเตรียมในการฟื้นฟูป่าชุมชนต่อไป

กิจกรรมย่อย: 3.สำรวจผืนป่า...i

แกนนำ ชาวบ้าน... 0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

90..คน

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

90

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

คนในชุมชนได้รู้ ได้เห็นว่าในป่าของเรามีพืช ผัก ผลไม้ สมุนไพร อะไรบ้าง.ซึ่งจากการสำรวจของกลุ่มหนองไซพบว่ามี ต้นกะถินเทพา,ต้นตะเคียนทองอายุประมาณ 10 ปี ที่มีชาวบ้านนำมาปลูก สำหรับการสำรวจผืนป่าของกลุ่มทุ่งคาดปรากฎว่ามีแหล่งน้ำขนาดใหญ่ซึ่งเป็นแหล่งกักเก็บน้ำน่าจะหาพันธุ์ปลามาปล่อยได้  จากการสำรวจครั้งนี้ทำให้ปลูกจิตสำนึกคนในชุมชนให้รักษ์ป่าทางตรงอีกวิธีหนึ่ง

กิจกรรมย่อย: 4.ขุดลอกและกำจัดวัชพืชรอบๆแหล่งน้ำ...i

ชาวบ้าน... 0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

50 คน...

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

 

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

ยังไม่ได้ดำเนินการ

กิจกรรมย่อย: 5.แกนนำจัดเตรียมกล้าไม้..1500 ต้น.i

แกนนำ... 0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

1500 ต้น...

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

 

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

โครงการได้ขอสนับสนุนจากศูนย์ขยายพันธุ์และเพาะชำกล้าไม้จังหวัดนครศรีธรรมราช จำนวน 500 ต้น และขอสนับสนุน จากศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยี ต.จันดี อ.ฉวาง จำนวน 300ต้น รวมทั้งคณะทำงานร่วมกันจัดหาพันธุ์กล้าไม้ที่หน้าเขาเหมน ต.ช้างกลาง อ.ช้างกลาง และจากอุทยานแห่งชาติน้ำตกกะโรม โดยขออนุญาติจากเจ้าหน้าที่อุทยาน 400ต้น

กิจกรรมย่อย: 6. ร่วมปลูกต้นไม้ ปล่อยปลา ฟื้นฟูป่า 2 ครั้ง...i

ชาวบ้าน...1 ครั้ง ในวันพ่อ 0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

200 คน...

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

108

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

มีคนเข้าร่วมเกินเป้าที่วางใว้ถึง 78 คน มีการดูแล ต้นเขลี้ยง 200 ต้น ปลูกผักกรูดเพิ่ม จำนวน 500 ต้น ผักหนาม 100 ต้น

กิจกรรมย่อย: 7. แต่ละกลุ่มเข้าไปซ่อมบำรุงรักษาป่า 4 ครั้ง(3เดือน/ครั้ง)...i

แกนนำ ชาวบ้าน...2 ครั้ง 0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

30 คน...

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

30

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

กลุ่มแกนนำและชาวบ้านร่วมกันตัดหญ้าตกแต่งต้นไม้เดิมและปลูกต้นไม้เพิ่มเติม

2.3.1 นวัตกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ

(นวัตกรรมคือ การจัดการความคิด กระบวนการ ผลผลิต และ/หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสม มาใช้งานให้เกิดประสิทธิผล และ/หรือประสิทธิภาพมากกว่าเดิมอย่างชัดเจน)

ชื่อนวัตกรรมคุณลักษณะ/วิธีการทำให้เกิดนวัตกรรมผลของนวัตกรรม/การนำไปใช้ประโยชน์
2.3.2 โครงการเด่น (Best Practice)

(โครงการเดิ่น คือ โครงการสร้างเสริมสุขภาพให้สัมฤทธิ์ผลที่เป็นรูปธรรมแล้วขยายผลอย่างยั่งยืน โดยแนวคิดกระบวนการ และผลงาน สามารถเป็นตัวอย่างที่จะนำไปขยายผลในชุมชน (Setting) อื่น ๆ ได้ การดำเนินงานมีส่วนร่วมของภาคีที่หลากหลาย มีการบริหารจัดการที่ดี โปร่งใสและตรวจสอบได้)

ชื่อ Best Practiceวิธีการทำให้เกิด Best Practiceผลของ Best Practice / การนำไปใช้ประโยชน์
2.3.3 เกิดแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านการสร้างเสริมสุขภาพในประเด็นต่าง ๆ
ชื่อ-สกุลที่อยู่ติดต่อได้สะดวกคุณสมบัติแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลง
2.3.4 มีสภาพแวดล้อมและปัจจัยทางสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพ

เกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพในชุมชนพื้นที่โครงการดังนี้

สถานที่/พื้นที่ ที่เปลี่ยนแปลงรายละเอียดการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น

ส่วนที่ 3 : ปัญหาและอุปสรรคสำคัญที่มีผลกระทบต่อการดำเนินงาน

3.1 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเด็นปัญหา/อุปสรรคการแก้ไขของผู้รับทุนข้อเสนอแนะ/การแก้ไขปัญหาและการเสริมพลังของผู้ติดตาม
3.2 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเภทความเสี่ยง / ปัจจัยเสี่ยงระดับความเสี่ยง
(จากมากไปหาน้อย)
ข้อมูล ข้อสังเกตุ และข้อคิดเห็นของผู้ติดตาม
3210
1. ความเสี่ยงด้านการดำเนินงาน (Operational Risks)
1.1 โครงสร้างการดำเนินงาน

 

1.2 ศักยภาพและทักษะการดำเนินงาน

 

1.3 ผลลัพธ์และผลสำเร็จของการดำเนินงาน

 

2. ความเสี่ยงทางการเงิน (Financial Risks)
2.1 ระบบและกลไกการบริหารจัดการ

 

2.2 การใช้จ่ายเงิน

 

2.3 หลักฐานการเงิน

 

ผลรวม 0 0 6 0
ผลรวมทั้งหมด 6 ระดับความเสี่ยง : ???
เกณฑ์วัดระดับความเสี่ยง ???
สรุปการแก้ไขความเสี่ยง แก้ไขแล้ว ยังไม่ได้แก้ไข

ส่วนที่ 4 : สรุปความเห็นของผู้ติดตาม

ส่วนที่ 4สรุปความเห็นของผู้ติดตาม
4.1 กรณีเบิกเงินงวด/ติดตามเยี่ยมชม มีแนวโน้มสำเร็จตามเป้าหมายโครงการและติดตามปกติ
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

โครงการมีการดำเนินงานได้ตามแผน และมีความร่วมมือจากชาวบ้านดีมาก

มีแนวโน้มเสี่ยง ต้องติดตามอย่างใกล้ชิด เนื่องจาก
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีความเสี่ยง ต้องยุติโครงการ เนื่องจาก
4.2 กรณีสรุปปิดโครงการ ดำเนินงานได้ตามแผนปฏิบัติการและสามารถปิดโครงการได้
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ไม่เป็นไปตามแผนปฏิบัติการ ให้ดำเนินการจัดระบบการเงิน ระบบรายงานให้ถูกต้องก่อนปิดโครงการ
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ส่วนที่ 5 : สรุปภาพรวมของการติดตามประจำงวด (ข้อสังเกต/สิ่งดีๆ ที่ค้นพบ/ข้อพึงระวัง/บทเรียนที่ได้)

 

สร้างรายงานโดย ครูนง