แบบบันทึกการติดตามสนับสนุนโครงการ ครั้งที่ 3

รหัสโครงการ 55-01918
สัญญาเลขที่ 55-00-0968

ชื่อโครงการ โครงการฟื้นฟูป่าชุมชนบ้านควนสูง
รหัสโครงการ 55-01918 สัญญาเลขที่ 55-00-0968
ระยะเวลาตามสัญญา 1 ตุลาคม 2012 - 31 ตุลาคม 2013

ส่วนที่ 1 : ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม

1.1 ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 1 อ.นัยนา หนูนิล...
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 2
วันที่ลงพื้นที่ติดตาม
วันที่ส่งรายงานถึง สสส.
1.2 ผู้ให้ข้อมูล
ลำดับชื่อ-สกุลผู้ให้ข้อมูลที่อยู่หมายเลขโทรศัพท์
1 ...นายสมชาย เทพี ......98/3 ม.8 ต.ฉวาง อ.ฉวาง จ.นครศรี...

ส่วนที่ 2 : ข้อมูลโครงการและความก้าวหน้าการดำเนินงาน

2.1 วัตถุประสงค์และตัวชี้วัดความสำเร็จโครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ตัวชี้วัดความสำเร็จ

1.

สร้างจิตสำนึกให้คนในชุมชนเห็นคุณค่าของป่า

ป่าชุมชนได้รับการดูแลให้มีสภาพที่สมบูรณ์ขึ้น

2.

เพื่อให้เกิดความร่วมมือของโรงเรียนและชุมชนในการฟื้นฟู สภาพป่าชุมชน

เด็กในโรงเรียน (100คน) ร่วมกันดูแลป่าชุมชน 10 ไร่

3.

เพื่อให้มีกฎกติกาชุมชนในการอนุรักษ์ป่าชุมชน

เกิดข้อตกลงของชุมชนในการใช้ป่าชุมชน

2.2 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ
กลุ่มเป้าหมายงบประมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงปริมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพ/สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ
ที่ตั้งไว้(บาท)เกิดขึ้นจริง(บาท)จำนวนที่ตั้งไว้(คน)จำนวนเกิดขึ้นจริง(คน)

กิจกรรมย่อย: i

0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

ประเมินผลโครงการเพื่อให้โครงการสามารถทำงานได้ตามเป้าหมายที่กำหนด

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

มีกรรมการเข้าร่วม 14 คน ผู้รับผิดชอบ ได้มีการนำเสนอความกว้าหน้าโครงการ รวมทั้งกรรมการคนอื่นๆ

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

พี่เลี้ยงเสนอแนะ ดังนี้

1.ให้โรงเรียนเป็นแกนนำและแหล่งเรียนรู้ที่ดีให้กับชุมชน เนื่องจากโครงการนี้หลังจากการแบ่งโซนการทำงานพบว่า โซนอื่นๆ ความก้าวหน้าของการทำงานไม่มีเลย ยกเว้นโซนของโรงเรียน  นอกจากนี้ในทีมของโรงเรียนยังมีการปรับแก้ปัญหาอย่างต่อเนื่อง ดังนั้นชุมชนควรได้มาเรียนรู้การทำงานของโรงเรียน และมีการประชุมแกนนำของชุมชนร่วมกับโรงเรียนอย่างต่อเนื่องก็จะทำให้การทำงานของชุมชนเข้มแข็งขึ้นได้

2.แบ่งกลุ่มชัดเจน และตั้งกรรมการย่อยในแต่ละโซน พร้อมทั้งมีรายชื่อของครอบครัวที่ร่วมดำเนินงานว่ามีสมาชิกอย่างน้อย โซนละ 30 ครอบครัว

2.3.1 นวัตกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ

(นวัตกรรมคือ การจัดการความคิด กระบวนการ ผลผลิต และ/หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสม มาใช้งานให้เกิดประสิทธิผล และ/หรือประสิทธิภาพมากกว่าเดิมอย่างชัดเจน)

ชื่อนวัตกรรมคุณลักษณะ/วิธีการทำให้เกิดนวัตกรรมผลของนวัตกรรม/การนำไปใช้ประโยชน์
2.3.2 โครงการเด่น (Best Practice)

(โครงการเดิ่น คือ โครงการสร้างเสริมสุขภาพให้สัมฤทธิ์ผลที่เป็นรูปธรรมแล้วขยายผลอย่างยั่งยืน โดยแนวคิดกระบวนการ และผลงาน สามารถเป็นตัวอย่างที่จะนำไปขยายผลในชุมชน (Setting) อื่น ๆ ได้ การดำเนินงานมีส่วนร่วมของภาคีที่หลากหลาย มีการบริหารจัดการที่ดี โปร่งใสและตรวจสอบได้)

ชื่อ Best Practiceวิธีการทำให้เกิด Best Practiceผลของ Best Practice / การนำไปใช้ประโยชน์
เกิดกติกาการดูแลป่าชุมชน...

มีการร่างกติกาการดูแลป่าของชุมชน

ผลของการสร้างกติกาทำให้คนในชุมชน สนใจเข้ามาร่วมดูแลป่าชุมชนมากขึ้น โดยเฉพาะ บริเวณที่โรงเรียนดูแล เนื่องจากมีกำลังจากนักเรียน

กฎชุมชน 1.ห้ามนำผลผลิตจากป่าชุมชนไปจำหน่ายเป็นการส่วนตัว 2.ห้ามเข้าไปกระทำการใดๆในป่าชุมชนก่อนได้รับอนุญาติจากกรรมการ 3.การกระทำการไดๆของแต่ละกลุ่มต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการกลางป่าชุมชน

2.3.3 เกิดแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านการสร้างเสริมสุขภาพในประเด็นต่าง ๆ
ชื่อ-สกุลที่อยู่ติดต่อได้สะดวกคุณสมบัติแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลง
2.3.4 มีสภาพแวดล้อมและปัจจัยทางสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพ

เกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพในชุมชนพื้นที่โครงการดังนี้

สถานที่/พื้นที่ ที่เปลี่ยนแปลงรายละเอียดการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น

ส่วนที่ 3 : ปัญหาและอุปสรรคสำคัญที่มีผลกระทบต่อการดำเนินงาน

3.1 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเด็นปัญหา/อุปสรรคการแก้ไขของผู้รับทุนข้อเสนอแนะ/การแก้ไขปัญหาและการเสริมพลังของผู้ติดตาม

การทำงานไม่ได้แบ่งโซน

มีการกำหนดโซนทำงานและผู้รับผิดชอบ

1.ให้โรงเรียนเป็นแกนนำและแหล่งเรียนรู้ที่ดีให้กับชุมชน เนื่องจากโครงการนี้หลังจากการแบ่งโซนการทำงานพบว่า โซนอื่นๆ ความก้าวหน้าของการทำงานไม่มีเลย ยกเว้นโซนของโรงเรียน  นอกจากนี้ในทีมของโรงเรียนยังมีการปรับแก้ปัญหาอย่างต่อเนื่อง ดังนั้นชุมชนควรได้มาเรียนรู้การทำงานของโรงเรียน และมีการประชุมแกนนำของชุมชนร่วมกับโรงเรียนอย่างต่อเนื่องก็จะทำให้การทำงานของชุมชนเข้มแข็งขึ้นได้

2.แบ่งกลุ่มชัดเจน และตั้งกรรมการย่อยในแต่ละโซน พร้อมทั้งมีรายชื่อของครอบครัวที่ร่วมดำเนินงานว่ามีสมาชิกอย่างน้อย โซนละ 30 ครอบครัว

3.2 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเภทความเสี่ยง / ปัจจัยเสี่ยงระดับความเสี่ยง
(จากมากไปหาน้อย)
ข้อมูล ข้อสังเกตุ และข้อคิดเห็นของผู้ติดตาม
3210
1. ความเสี่ยงด้านการดำเนินงาน (Operational Risks)
1.1 โครงสร้างการดำเนินงาน

การดำเนินงาน ยังไม่มีการแบ่งงานชัดเจน แต่ละโซน ยังรอคำสั่งของผู้ใหญ่บ้าน

1.2 ศักยภาพและทักษะการดำเนินงาน

 

1.3 ผลลัพธ์และผลสำเร็จของการดำเนินงาน

 

2. ความเสี่ยงทางการเงิน (Financial Risks)
2.1 ระบบและกลไกการบริหารจัดการ

 

2.2 การใช้จ่ายเงิน

มีความเสี่ยงเล็กน้อย เนื่องจากไม่มีการแต่งตั้งเหรัญญิกชัดเจน

2.3 หลักฐานการเงิน

ค่าใช้จ่ายบางรายการ ยังมีเอกสารไม่ครบ แต่เมื่อตรวจสอบ พบว่าไม่มีการเจตนาจริง

ผลรวม 0 2 5 0
ผลรวมทั้งหมด 7 ระดับความเสี่ยง : ???
เกณฑ์วัดระดับความเสี่ยง ???
สรุปการแก้ไขความเสี่ยง แก้ไขแล้ว ยังไม่ได้แก้ไข

ส่วนที่ 4 : สรุปความเห็นของผู้ติดตาม

ส่วนที่ 4สรุปความเห็นของผู้ติดตาม
4.1 กรณีเบิกเงินงวด/ติดตามเยี่ยมชม มีแนวโน้มสำเร็จตามเป้าหมายโครงการและติดตามปกติ
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีแนวโน้มเสี่ยง ต้องติดตามอย่างใกล้ชิด เนื่องจาก
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีความเสี่ยง ต้องยุติโครงการ เนื่องจาก
4.2 กรณีสรุปปิดโครงการ ดำเนินงานได้ตามแผนปฏิบัติการและสามารถปิดโครงการได้
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ไม่เป็นไปตามแผนปฏิบัติการ ให้ดำเนินการจัดระบบการเงิน ระบบรายงานให้ถูกต้องก่อนปิดโครงการ
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ส่วนที่ 5 : สรุปภาพรวมของการติดตามประจำงวด (ข้อสังเกต/สิ่งดีๆ ที่ค้นพบ/ข้อพึงระวัง/บทเรียนที่ได้)

โครงการสามารถปิดได้ตามที่กำหนด  สิ่งดีๆที่พบที่ให้แกนนำที่เข้ามาทำงานได้เรียนรู้กระบวนการทำงานมากขึ้น อย่างไรก็ตามการจัดการของหัวหน้าโครงการยังมีปัญหา ไม่สามารถแบ่งงานให้กรรมการแต่ละคนทำงานได้ ดังนั้น หัวหน้าโครงการจึงต้องรับภาระมาก งานจึงไม่เดินเท่าที่ควร มีความเห็นว่าไม่ควรให้ต่อยอดโครงการอีก

สร้างรายงานโดย นัยนา หนูนิล