แบบบันทึกการติดตามสนับสนุนโครงการ ครั้งที่ 1

รหัสโครงการ 55-01908
สัญญาเลขที่ 55-00-1068

ชื่อโครงการ โครงการสระสร้างสุขชุมชนคนสระบัว
รหัสโครงการ 55-01908 สัญญาเลขที่ 55-00-1068
ระยะเวลาตามสัญญา 1 พฤศจิกายน 2012 - 1 กันยายน 2013

ส่วนที่ 1 : ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม

1.1 ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 1 นัยนา หนูนิล...
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 2
วันที่ลงพื้นที่ติดตาม
วันที่ส่งรายงานถึง สสส. 1 มีนาคม 2013
1.2 ผู้ให้ข้อมูล
ลำดับชื่อ-สกุลผู้ให้ข้อมูลที่อยู่หมายเลขโทรศัพท์
1 นายดะริ ยุโส๊ะ... 92/1 ม.6 ต.ท่าศาลา อ.ท่าศาลา จ.นครศรีฯ... 086-9429241...
2
3

ส่วนที่ 2 : ข้อมูลโครงการและความก้าวหน้าการดำเนินงาน

2.1 วัตถุประสงค์และตัวชี้วัดความสำเร็จโครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ตัวชี้วัดความสำเร็จ

1.

เพื่อร่วมพัฒนาสระบัว

1.1แกนนำมีส่วนร่วม 30 คน 1.2มีการสร้งแผนงานและดำเนินงานตามแผน 1.3คนมีส่วนร่วมพัฒนาสระบัว 120 คน

2.

สามารถใช้ประโยชน์จากสระน้ำและปลูกต้นไม้

2.1คนมาร่วมปลูกต้นไม้
2.2 คนในชุมชนได้ใช้ประโยชน์ 2.3เป็นที่พักผ่อนของคนในชุมชน

2.2 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ
กลุ่มเป้าหมายงบประมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงปริมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพ/สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ
ที่ตั้งไว้(บาท)เกิดขึ้นจริง(บาท)จำนวนที่ตั้งไว้(คน)จำนวนเกิดขึ้นจริง(คน)

กิจกรรมย่อย: 1.ประชาสัมพันธ์โครงการ...i

ชาวบ้าน แกนนำ... 0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

60...

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

70

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

ประชาชนให้ความสนใจเป็นอย่างมาก และมีการเชิญ แกนนำต่างๆมาร่วมรับรู้ ในกิจกรรมนี้โครงการได้ใช้งบประมาณเกินกว่าที่ตั้งไว้ อย่างไรก็ตามพี่เลี้ยงเห็นว่า เป็นประโยชน์ เนื่องจากมีคนสนใจมาก จริงๆแล้ว เกือบ 100 คน แต่เป็นคนของหมู่อื่น และเป็นการจัดงานครั้งแรกจึงได้ให้คำแนะนำ

กิจกรรมย่อย: 2.แลกเปลี่ยนเรีนรู้ประวัติความเป็นมาของสระบัว...i

ชาวบ้าน แกนนำ... 0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

120...

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

55

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

ในวันนี้มีฝนตกหนักมาก มีคนเข้าร่วม 55 คน ซึ่งในการจัดครั้งนี้ ได้มีการแบ่งกลุ่ม หน้าที่การรับผิดชอบกันชัดเจน ชาวบ้านเกิดความรู้สึกเป็นเจ้าของสระบัวร่วมกัน และเกิดเวทีพูดคุย

กิจกรรมย่อย: 3.พัฒนาสระนำ 2 ครั้งi

ชาวบ้าน... 0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

100...

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

120

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

มีการดำเนินงาน 2 ครั้ง ผลทำให้เกิดการมีส่วนร่วมของหน่วยงานในพื้นที่มาทำงานร่วมกัน เช่น บรรเทาสาธารณภัยจังหวัดนครศรีธรรมราช ,หน่วยกู้ชีพมูลนิธิประชาร่วมใจ ,องค์การบริหารส่วนตำบลท่าศาลา - สระบัวในชุมชนเกิดความสะอาด และสามารถใช้ประโยชน์ได้มากขึ้น เช่น เป็นสถานที่ฝึกภัยพิบัติทางน้ำ หรือเป็นเเหล่งสำรองน้ำเมื่อฤดูเเล้ง เป็นต้น - เกิดความร่วมมือร่วมใจของคนในชุมชนให้

กิจกรรมย่อย: 4. ประชุมเสวนาเรื่องพันธ์ไม้...i

แกนนำ... 0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

60...

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

60

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

ผู้เข้าร่วมประชุมเสวนาได้รับความรู้เกี่ยวกับพันธุ์ไม้ที่เคยมีในท้องถิ่น เกิดความรู้สึกรักและหวงแหนพันธุืไม้ที่เคยมี เช่น ต้นตะเคียนทอง ต้นขี้เหล็ก ต้นพิกุลทอง ต้นแซะ และต้นกระถินนรงณ์ อยากอนุรักษ์พันธุ์ไม้ที่เคยมีในท้องถิ่น และได้มีการแต่งตั้งกรรมการของชุมชน เช่น ประธานฝ่ายบริหารคือ คุณสมชาย เสนหมาด กับประธานโครงการคุณดาริ ยุโส๊ะและคณะกรรมการอีก 3 ท่าน เป็นผู้ติดต่อขอพันธ์จากหน่วยงานต่างๆ

กิจกรรมย่อย: 5....การเพาะขยายพันธ์ไม้i

แกนนำ... 0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

20..

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

30

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

กลุ่มเป้าหมาย 30 คน ได้รับความรู้ความเข้าใจ และมีการร่วมแรงร่วมใจที่จะพัฒนาสระน้ำซึ่งเป็นสัญลักณ์ของหมู่บ้าน และได้ทำข้อตกลงแบ่งกลุ่มๆละ 10 คนเพื่อร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้และรับผิดชอบดูแลต้นไม้ที่จะปลูกโดยได้แบ่งเุ์ป็นโซนๆไปเช่น กลุ่มหนึ่งกลุ่มจะดูแลหนึ่งโซนเป็นต้น

2.3.1 นวัตกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ

(นวัตกรรมคือ การจัดการความคิด กระบวนการ ผลผลิต และ/หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสม มาใช้งานให้เกิดประสิทธิผล และ/หรือประสิทธิภาพมากกว่าเดิมอย่างชัดเจน)

ชื่อนวัตกรรมคุณลักษณะ/วิธีการทำให้เกิดนวัตกรรมผลของนวัตกรรม/การนำไปใช้ประโยชน์
2.3.2 โครงการเด่น (Best Practice)

(โครงการเดิ่น คือ โครงการสร้างเสริมสุขภาพให้สัมฤทธิ์ผลที่เป็นรูปธรรมแล้วขยายผลอย่างยั่งยืน โดยแนวคิดกระบวนการ และผลงาน สามารถเป็นตัวอย่างที่จะนำไปขยายผลในชุมชน (Setting) อื่น ๆ ได้ การดำเนินงานมีส่วนร่วมของภาคีที่หลากหลาย มีการบริหารจัดการที่ดี โปร่งใสและตรวจสอบได้)

ชื่อ Best Practiceวิธีการทำให้เกิด Best Practiceผลของ Best Practice / การนำไปใช้ประโยชน์
2.3.3 เกิดแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านการสร้างเสริมสุขภาพในประเด็นต่าง ๆ
ชื่อ-สกุลที่อยู่ติดต่อได้สะดวกคุณสมบัติแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลง
2.3.4 มีสภาพแวดล้อมและปัจจัยทางสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพ

เกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพในชุมชนพื้นที่โครงการดังนี้

สถานที่/พื้นที่ ที่เปลี่ยนแปลงรายละเอียดการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น

บริเวณสระบัว

สะอาดขึ้น เป็นที่ออกกำลังกาย และมีแนวทางว่าจะจัดเป็นที่พักผ่อน มีร้านอาหารเล็กๆมาตั้ง และจะปลุกต้นไม่ที่ทุกคนในชุมชนมาใช้ประโยชน์ได้

ส่วนที่ 3 : ปัญหาและอุปสรรคสำคัญที่มีผลกระทบต่อการดำเนินงาน

3.1 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเด็นปัญหา/อุปสรรคการแก้ไขของผู้รับทุนข้อเสนอแนะ/การแก้ไขปัญหาและการเสริมพลังของผู้ติดตาม
3.2 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเภทความเสี่ยง / ปัจจัยเสี่ยงระดับความเสี่ยง
(จากมากไปหาน้อย)
ข้อมูล ข้อสังเกตุ และข้อคิดเห็นของผู้ติดตาม
3210
1. ความเสี่ยงด้านการดำเนินงาน (Operational Risks)
1.1 โครงสร้างการดำเนินงาน

 

1.2 ศักยภาพและทักษะการดำเนินงาน

 

1.3 ผลลัพธ์และผลสำเร็จของการดำเนินงาน

 

2. ความเสี่ยงทางการเงิน (Financial Risks)
2.1 ระบบและกลไกการบริหารจัดการ

 

2.2 การใช้จ่ายเงิน

 

2.3 หลักฐานการเงิน

 

ผลรวม 0 0 6 0
ผลรวมทั้งหมด 6 ระดับความเสี่ยง : ???
เกณฑ์วัดระดับความเสี่ยง ???
สรุปการแก้ไขความเสี่ยง แก้ไขแล้ว ยังไม่ได้แก้ไข

ส่วนที่ 4 : สรุปความเห็นของผู้ติดตาม

ส่วนที่ 4สรุปความเห็นของผู้ติดตาม
4.1 กรณีเบิกเงินงวด/ติดตามเยี่ยมชม มีแนวโน้มสำเร็จตามเป้าหมายโครงการและติดตามปกติ
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

โครงการมีความตั้งใจเรียนรู้ และทำได้ดี เพียงแต่ในบางกิจกรรม ยังไม่ได้คำตอบตามที่เขียนไว้ในโครงการ จึงทำให้การวางแผนงานไม่ชัด อย่างไรก็ตามในการทำงานเห็นการมีส่วนร่วมของประชาชน และสามารถนำเครือข่ายต่างๆเข้ามาได้ดี

มีแนวโน้มเสี่ยง ต้องติดตามอย่างใกล้ชิด เนื่องจาก
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีความเสี่ยง ต้องยุติโครงการ เนื่องจาก
4.2 กรณีสรุปปิดโครงการ ดำเนินงานได้ตามแผนปฏิบัติการและสามารถปิดโครงการได้
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ไม่เป็นไปตามแผนปฏิบัติการ ให้ดำเนินการจัดระบบการเงิน ระบบรายงานให้ถูกต้องก่อนปิดโครงการ
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ส่วนที่ 5 : สรุปภาพรวมของการติดตามประจำงวด (ข้อสังเกต/สิ่งดีๆ ที่ค้นพบ/ข้อพึงระวัง/บทเรียนที่ได้)

บทเรียนที่ได้ ในการทำกิจกรรมของโครงการ ต้องมีการทบทวนแผนงานโครงการบ่อยๆ เพราะไม่อย่างนั้น โครงการจะทำตามที่เขาคิด และใช้งบประมาณอาจไม่ถูกต้องได้

สร้างรายงานโดย นัยนา หนูนิล