แบบบันทึกการติดตามสนับสนุนโครงการ ครั้งที่ 2

รหัสโครงการ 55-01908
สัญญาเลขที่ 55-00-1068

ชื่อโครงการ โครงการสระสร้างสุขชุมชนคนสระบัว
รหัสโครงการ 55-01908 สัญญาเลขที่ 55-00-1068
ระยะเวลาตามสัญญา 1 พฤศจิกายน 2012 - 1 กันยายน 2013

ส่วนที่ 1 : ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม

1.1 ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 1 นัยนา หนูนิล...
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 2
วันที่ลงพื้นที่ติดตาม 18 พฤษภาคม 2013
วันที่ส่งรายงานถึง สสส. 1 มิถุนายน 2013
1.2 ผู้ให้ข้อมูล
ลำดับชื่อ-สกุลผู้ให้ข้อมูลที่อยู่หมายเลขโทรศัพท์
1 ...นายดะริ ยุโส๊ะ... ...92/1 ม.6 ต.ท่าศาลา อ.ท่าศาลา จ.นครศรีฯ... ...086-9429241...

ส่วนที่ 2 : ข้อมูลโครงการและความก้าวหน้าการดำเนินงาน

2.1 วัตถุประสงค์และตัวชี้วัดความสำเร็จโครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ตัวชี้วัดความสำเร็จ

1.

เพื่อร่วมพัฒนาสระบัว

1.1แกนนำมีส่วนร่วม 30 คน 1.2มีการสร้งแผนงานและดำเนินงานตามแผน 1.3คนมีส่วนร่วมพัฒนาสระบัว 120 คน

2.

สามารถใช้ประโยชน์จากสระน้ำและปลูกต้นไม้

2.1คนมาร่วมปลูกต้นไม้
2.2 คนในชุมชนได้ใช้ประโยชน์ 2.3เป็นที่พักผ่อนของคนในชุมชน

2.2 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ
กลุ่มเป้าหมายงบประมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงปริมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพ/สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ
ที่ตั้งไว้(บาท)เกิดขึ้นจริง(บาท)จำนวนที่ตั้งไว้(คน)จำนวนเกิดขึ้นจริง(คน)

กิจกรรมย่อย: 6. การปลูก รักษา และใช้ประโยชน์i

แกนนำ นักเรียนและประชาชน... 0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

120...

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

120

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

มีการดำเนินการปลูกต้นไม้ 3 วัน ในวันแรกมี 120 คน ได้จัดการแบ่งกลุมชาวบ้านในชุมชนที่มาช่วยออกเป็น 5 กลุ่ม และเด็กนักเรียน ออกเป็น 10 กลุ่ม โดยมีกลุ่มละ 10 คน ให้แต่ละกลุ่มรับผิดชอบดูแลต้นไม้ที่ปลูกและได้ให้ทำการบันทึกการเจริญเติบโตของต้นไม้ อีก 2 วันหลังมีเฉพาะแกนนำที่ลงปลูกเพิ่มเติมเนื่องจากปลูกไม่เสร็จ ต้นไม้ที่เหลืออยู่จะเป็นไม้ยืนต้น ประเภทไม้เนื้อแข็ง เช่น ต้นตะเคียนทอง และกระถินเทพา

กิจกรรมย่อย: 7.พิพิทภัณฑ์บัวมีชีวิตi

แกนนำ.และชาวบ้าน 0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

120...

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

100

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

การดำเนินงานมี 3 ครั้ง โดยครั้งแรก มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับสายพันธุ์ของบัวที่นำมาปลูกได้คือ บัวแดง บัวขาว บัวสีม่วง  และบัวสามารถมาใช้ประโยชน์ เช่น เกษรบัว บำรุงหัวใจ รากบัว ใช้ทำของหวาน และเป็นยาบำรุง ไข่บัว นำมารัปประทาน และก้านบัว นำมาปรุงอาหาร และก้านของใบบัวหลวงนำมาตากแดดให้แห้งแล้วเอามาสูบเหมือนบุหรี่เพื่อรักษาโรคริดสีดวงจมูก สำหรับ 2 วันต่อมา มีการจัดเตรียมอุปกรณ์ และหาพันธ์บัว

2.3.1 นวัตกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ

(นวัตกรรมคือ การจัดการความคิด กระบวนการ ผลผลิต และ/หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสม มาใช้งานให้เกิดประสิทธิผล และ/หรือประสิทธิภาพมากกว่าเดิมอย่างชัดเจน)

ชื่อนวัตกรรมคุณลักษณะ/วิธีการทำให้เกิดนวัตกรรมผลของนวัตกรรม/การนำไปใช้ประโยชน์
2.3.2 โครงการเด่น (Best Practice)

(โครงการเดิ่น คือ โครงการสร้างเสริมสุขภาพให้สัมฤทธิ์ผลที่เป็นรูปธรรมแล้วขยายผลอย่างยั่งยืน โดยแนวคิดกระบวนการ และผลงาน สามารถเป็นตัวอย่างที่จะนำไปขยายผลในชุมชน (Setting) อื่น ๆ ได้ การดำเนินงานมีส่วนร่วมของภาคีที่หลากหลาย มีการบริหารจัดการที่ดี โปร่งใสและตรวจสอบได้)

ชื่อ Best Practiceวิธีการทำให้เกิด Best Practiceผลของ Best Practice / การนำไปใช้ประโยชน์
2.3.3 เกิดแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านการสร้างเสริมสุขภาพในประเด็นต่าง ๆ
ชื่อ-สกุลที่อยู่ติดต่อได้สะดวกคุณสมบัติแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลง
2.3.4 มีสภาพแวดล้อมและปัจจัยทางสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพ

เกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพในชุมชนพื้นที่โครงการดังนี้

สถานที่/พื้นที่ ที่เปลี่ยนแปลงรายละเอียดการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น

ส่วนที่ 3 : ปัญหาและอุปสรรคสำคัญที่มีผลกระทบต่อการดำเนินงาน

3.1 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเด็นปัญหา/อุปสรรคการแก้ไขของผู้รับทุนข้อเสนอแนะ/การแก้ไขปัญหาและการเสริมพลังของผู้ติดตาม

1.พื้นที่สระบัวใหญ่มาก การพัฒนาไม่สามารถครอบคลุมสระทั้งหมดได้

ได้มีการดำเนินงานพื้นที่ด้านที่วางแผนไว้ ให้สมบูรณ์

ได้เสนอแนะให้โครงการดำเนินการพัฒนา ครึ่งพื้นที่ แต่ให้สมบูรณ์ และเห็นกระบวนการมีส่วนร่วมอย่างจริงจัง

2.ในการดำเนินงานที่ผ่านมา ไม่มีการแบ่งกลุ่มรับผิดชอบพื้นที่ชัดเจน ทำให้การทำงานไม่มีการกระจายความรับผิดชอบ ทำงานแค่เพียงกลุ่มเล็กๆ

ได้จัดหาแกนนำกลุ่มชัดเจนขึ้น

ได้เสนอแนะให้นำแกนนำในชุมชนเข้าร่วมร่วมรับผิดชอบมากขึ้น โดยเฉพาะผู้นำศาสนา เพราะคนส่วนใหญ่จะเชื่อฟัง

3.ยังไม่มีแผนการใช้ประโยชน์ ของพื้นที่สระบัว

ผู้รับผิดขอบโครงการ ให้อืสระในการทำงานของแกนนำมากขึ้น

ได้เสนอแนะให้แกนนำแต่ละกลุ่มไป ประชุมลูกบ้านเพื่อคิดร่วมกันว่าจะใช้ประโยชน์จากเนื้อที่สระบัวอย่างไร แล้วค่อยนำมาเสนอในที่ประชุมแกนนำ

3.2 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเภทความเสี่ยง / ปัจจัยเสี่ยงระดับความเสี่ยง
(จากมากไปหาน้อย)
ข้อมูล ข้อสังเกตุ และข้อคิดเห็นของผู้ติดตาม
3210
1. ความเสี่ยงด้านการดำเนินงาน (Operational Risks)
1.1 โครงสร้างการดำเนินงาน

 

1.2 ศักยภาพและทักษะการดำเนินงาน

 

1.3 ผลลัพธ์และผลสำเร็จของการดำเนินงาน

 

2. ความเสี่ยงทางการเงิน (Financial Risks)
2.1 ระบบและกลไกการบริหารจัดการ

 

2.2 การใช้จ่ายเงิน

 

2.3 หลักฐานการเงิน

 

ผลรวม 0 12 0 0
ผลรวมทั้งหมด 12 ระดับความเสี่ยง : ???
เกณฑ์วัดระดับความเสี่ยง ???
สรุปการแก้ไขความเสี่ยง แก้ไขแล้ว ยังไม่ได้แก้ไข

ส่วนที่ 4 : สรุปความเห็นของผู้ติดตาม

ส่วนที่ 4สรุปความเห็นของผู้ติดตาม
4.1 กรณีเบิกเงินงวด/ติดตามเยี่ยมชม มีแนวโน้มสำเร็จตามเป้าหมายโครงการและติดตามปกติ
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีแนวโน้มเสี่ยง ต้องติดตามอย่างใกล้ชิด เนื่องจาก
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีความเสี่ยง ต้องยุติโครงการ เนื่องจาก
4.2 กรณีสรุปปิดโครงการ ดำเนินงานได้ตามแผนปฏิบัติการและสามารถปิดโครงการได้
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ไม่เป็นไปตามแผนปฏิบัติการ ให้ดำเนินการจัดระบบการเงิน ระบบรายงานให้ถูกต้องก่อนปิดโครงการ
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ส่วนที่ 5 : สรุปภาพรวมของการติดตามประจำงวด (ข้อสังเกต/สิ่งดีๆ ที่ค้นพบ/ข้อพึงระวัง/บทเรียนที่ได้)

สิ่งดีๆ ที่ค้นพบ คือ หลังจากการทำงาน กลุ่มผู้หญิง ได้มีการรวมกลุ่มกัน และได้มีการฝึกอาชีพเสริม การทำดอกไม้ร่วมกัน

สร้างรายงานโดย นัยนา หนูนิล