แบบบันทึกการติดตามสนับสนุนโครงการ ครั้งที่ 3

รหัสโครงการ 55-01908
สัญญาเลขที่ 55-00-1068

ชื่อโครงการ โครงการสระสร้างสุขชุมชนคนสระบัว
รหัสโครงการ 55-01908 สัญญาเลขที่ 55-00-1068
ระยะเวลาตามสัญญา 1 พฤศจิกายน 2012 - 1 กันยายน 2013

ส่วนที่ 1 : ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม

1.1 ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 1 อ.นัยนา หนูนิล...
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 2
วันที่ลงพื้นที่ติดตาม
วันที่ส่งรายงานถึง สสส.
1.2 ผู้ให้ข้อมูล
ลำดับชื่อ-สกุลผู้ให้ข้อมูลที่อยู่หมายเลขโทรศัพท์
1 ...นายดะริ ยุโส๊ะ ......92/1 ม.6 ต.ท่าศาลา อ.ท่าศาลา จ.นครศรีฯ.

ส่วนที่ 2 : ข้อมูลโครงการและความก้าวหน้าการดำเนินงาน

2.1 วัตถุประสงค์และตัวชี้วัดความสำเร็จโครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ตัวชี้วัดความสำเร็จ

1.

เพื่อร่วมพัฒนาสระบัว

1.1แกนนำมีส่วนร่วม 30 คน 1.2มีการสร้งแผนงานและดำเนินงานตามแผน 1.3คนมีส่วนร่วมพัฒนาสระบัว 120 คน

2.

สามารถใช้ประโยชน์จากสระน้ำและปลูกต้นไม้

2.1คนมาร่วมปลูกต้นไม้
2.2 คนในชุมชนได้ใช้ประโยชน์ 2.3เป็นที่พักผ่อนของคนในชุมชน

2.2 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ
กลุ่มเป้าหมายงบประมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงปริมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพ/สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ
ที่ตั้งไว้(บาท)เกิดขึ้นจริง(บาท)จำนวนที่ตั้งไว้(คน)จำนวนเกิดขึ้นจริง(คน)

กิจกรรมย่อย: i

0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

เพื่อติดตามผลการทำงานของกลุ่มคณะทำงาน

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

คณะทำงานได้เข้าร่วมประชุมเพื่อวางแผนการจัดการกิจกรรมของโครงการทั้งที่ผ่านมา และทำต่อไปในอนาคต ซึ่งทางคณะทำงานได้ปรึกษาพี่เลี้ยงเรื่องการทำโครงการต่อไปในอนาคต มีคณะทำงานได้เสนอแนะการประโยชน์ในสระและรอบสระเช่น การแบ่งพื้นที่ทำผักสวนครัว และในสระปลูกผักบุ้ง ผักกะเฉด ซึ่งทางพี่เลี้ยงให้การสนับสนุนในการทำกิจกรรมดังกล่าว

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

ได้แนะนำเกี่ยวกับการจัดการสระบัวให้เกิดประโยชน์กว่านี้  โดยเน้นกระบวนการมีส่วนร่วม และตอนนั้นมีผู้นำหลายคนจะทำจริงจัง แต่ทางโครงการมาสนใจแต่เรื่องของการปลุกบัวซึ่ง ไม่มีสาระอะไรมากมาย ตอนนี้ควรให้ความสนใจกับการร่วมกันจัดการให้สระบัวมีคนเข้ามาใช้ประโยชน์ ให้มากที่สุด เพราะไม่อย่างนั้น โครงการปีที่ 2 คงจะต่อยอดยาก เพราะอาจารย์ ไม่เห็นกระบวนการมีส่วนร่วมอย่างจริงจังของคนในชุมชน ทำกันแต่เราเองไม่กี่คน

กิจกรรมย่อย: i

0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

เชิญคณะทำงานแกนนำในชุมชนผู้คนในชุมชน และชุมชนใกล้เคียงที่มีความสนใจเพื่อร่วมกันประเมินผลผลิตจากการทำโครงการสระสร้างสุขชุมชนคนสระบัว

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

เจ้าของโครงการได้เชิญครธทำงานแกนนำในชุมชนและผู้คนในชุมชนรวมทั้งชุมใกล้เคียงที่มีความสนใจมาเข้าร่วมดูและประเมินผลจากการที่ได้ทำโครงการสระสร้างสุขชุมชนคนสระบัวขึ้นมา และไดมาเห็นการใช้ประโยชน์จากในสระน้ำและบริเวณรอบๆสระ ซึ่งมีทั้งผลผลิตที่เป็นพืชผักสวนครัวไม้ยืนต้น ไม้ล้มลุก และมีประเภทสมุนไพรด้วย และในสระก็มีสัตว์น้ำที่เป็นอาหาร และบริเวณรอบๆสระก็สามารถใช้เป็นสถานที่ออกกำลังกาย และพักผ่อนหย่อนใจของผู้คนในชุมชน และชุมชนใกล้เคียง

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

เจ้าของโครงการได้บอกเล่าถึงกระบวนการทำงาน รวมทั้งการประสบปัญหาต่างๆซึ่งเป็นเรื่องไม่ยากเลยที่จะมาถึงจุดนี้ได้ และได้ขอคำมั่นจากผู้คนที่เข้ามามีส่วนร่วมในวันนี้ว่าให้ช่วยกันดูแลรักษาสระน้ำซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของหมู่บ้านสระบัว และช่วยกันต่อยอดของโครงการที่ทำไว้ เพื่อประโยชน์ของลูกหลานรุ่นต่อๆไป และได้รับคำมั่นสัญญาจากผู้เข้าร่วมในวันนี้เป็นอย่างดี หลังจากนั้น ได้ชวนผู้คนที่เข้าร่วม เพื่อไปชมผลผลิตที่สระน้ำ ซึ่งได้เห็นภาพพืชผักที่ปลูกไว้กำลั งเจริญงอกงาม บัวในสระก็เริ่มขยาย ออกดอกกันบ้างแล้ว ผู้คนได้เข้ามาตกปลา และออกกำลังกาย รวมทั้งมานั่งพักผ่อนหย่อนใจ

2.3.1 นวัตกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ

(นวัตกรรมคือ การจัดการความคิด กระบวนการ ผลผลิต และ/หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสม มาใช้งานให้เกิดประสิทธิผล และ/หรือประสิทธิภาพมากกว่าเดิมอย่างชัดเจน)

ชื่อนวัตกรรมคุณลักษณะ/วิธีการทำให้เกิดนวัตกรรมผลของนวัตกรรม/การนำไปใช้ประโยชน์
2.3.2 โครงการเด่น (Best Practice)

(โครงการเดิ่น คือ โครงการสร้างเสริมสุขภาพให้สัมฤทธิ์ผลที่เป็นรูปธรรมแล้วขยายผลอย่างยั่งยืน โดยแนวคิดกระบวนการ และผลงาน สามารถเป็นตัวอย่างที่จะนำไปขยายผลในชุมชน (Setting) อื่น ๆ ได้ การดำเนินงานมีส่วนร่วมของภาคีที่หลากหลาย มีการบริหารจัดการที่ดี โปร่งใสและตรวจสอบได้)

ชื่อ Best Practiceวิธีการทำให้เกิด Best Practiceผลของ Best Practice / การนำไปใช้ประโยชน์
2.3.3 เกิดแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านการสร้างเสริมสุขภาพในประเด็นต่าง ๆ
ชื่อ-สกุลที่อยู่ติดต่อได้สะดวกคุณสมบัติแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลง
2.3.4 มีสภาพแวดล้อมและปัจจัยทางสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพ

เกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพในชุมชนพื้นที่โครงการดังนี้

สถานที่/พื้นที่ ที่เปลี่ยนแปลงรายละเอียดการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น

ส่วนที่ 3 : ปัญหาและอุปสรรคสำคัญที่มีผลกระทบต่อการดำเนินงาน

3.1 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเด็นปัญหา/อุปสรรคการแก้ไขของผู้รับทุนข้อเสนอแนะ/การแก้ไขปัญหาและการเสริมพลังของผู้ติดตาม

1.ในการดำเนินงานที่ผ่านมา ไม่มีการแบ่งกลุ่มรับผิดชอบพื้นที่ชัดเจน ทำให้การทำงานไม่มีการกระจายความรับผิดชอบ ทำงานแค่เพียงกลุ่มเล็กๆ

ยังไม่มีการปรับปรุง

ได้เสนอแนะให้นำแกนนำในชุมชนเข้าร่วมร่วมรับผิดชอบมากขึ้น โดยเฉพาะผู้นำศาสนา เพราะคนส่วนใหญ่จะเชื่อฟัง

2.ยังไม่มีแผนการใช้ประโยชน์ ของพื้นที่สระบัว

ไม่มีการปรับปรุง

ได้เสนอแนะให้แกนนำแต่ละกลุ่มไป ประชุมลูกบ้านเพื่อคิดร่วมกันว่าจะใช้ประโยชน์จากเนื้อที่สระบัวอย่างไร แล้วค่อยนำมาเสนอในที่ประชุมแกนนำ

3.2 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเภทความเสี่ยง / ปัจจัยเสี่ยงระดับความเสี่ยง
(จากมากไปหาน้อย)
ข้อมูล ข้อสังเกตุ และข้อคิดเห็นของผู้ติดตาม
3210
1. ความเสี่ยงด้านการดำเนินงาน (Operational Risks)
1.1 โครงสร้างการดำเนินงาน

ในการดำเนินงานที่ผ่านมา ไม่มีการแบ่งกลุ่มรับผิดชอบพื้นที่ชัดเจน ทำให้การทำงานไม่มีการกระจายความรับผิดชอบ ทำงานแค่เพียงกลุ่มเล็กๆ

1.2 ศักยภาพและทักษะการดำเนินงาน

 

1.3 ผลลัพธ์และผลสำเร็จของการดำเนินงาน

 

2. ความเสี่ยงทางการเงิน (Financial Risks)
2.1 ระบบและกลไกการบริหารจัดการ

 

2.2 การใช้จ่ายเงิน

มีการทำกิจกรรมเดิมซ้ำๆ หลายครั้ง เช่นการไปหาพันธ์บัวตามที่ต่างๆ และไปหาในพื้นที่ไกลๆ เกินไป

2.3 หลักฐานการเงิน

 

ผลรวม 3 10 0 0
ผลรวมทั้งหมด 13 ระดับความเสี่ยง : ???
เกณฑ์วัดระดับความเสี่ยง ???
สรุปการแก้ไขความเสี่ยง แก้ไขแล้ว ยังไม่ได้แก้ไข

ส่วนที่ 4 : สรุปความเห็นของผู้ติดตาม

ส่วนที่ 4สรุปความเห็นของผู้ติดตาม
4.1 กรณีเบิกเงินงวด/ติดตามเยี่ยมชม มีแนวโน้มสำเร็จตามเป้าหมายโครงการและติดตามปกติ
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีแนวโน้มเสี่ยง ต้องติดตามอย่างใกล้ชิด เนื่องจาก
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีความเสี่ยง ต้องยุติโครงการ เนื่องจาก
4.2 กรณีสรุปปิดโครงการ ดำเนินงานได้ตามแผนปฏิบัติการและสามารถปิดโครงการได้
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ไม่เป็นไปตามแผนปฏิบัติการ ให้ดำเนินการจัดระบบการเงิน ระบบรายงานให้ถูกต้องก่อนปิดโครงการ
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

เนื่องจากไม่สามารถ ดำเนินงานต่อได้ จึงได้ให้ยุติโครงการ คืนเงินส่วนที่เหลือในงวดที่ 2 และไม่ขอต่องวดที่ 3

ส่วนที่ 5 : สรุปภาพรวมของการติดตามประจำงวด (ข้อสังเกต/สิ่งดีๆ ที่ค้นพบ/ข้อพึงระวัง/บทเรียนที่ได้)

โครงการไม่สามารถเสร็จสมบูรณ์ได้ตามที่กำหนด เนื่องจาก การติดตามครั้งที่ 2 พี่เลี้ยงได้เสนอแนะให้มีการแบ่งงานและงบประมาณแก่ กรรมการอื่นๆ ให้สามารถทำงานในเชิงรุกได้ แต่หัวหน้าโครงการ ไม่ยอมรับ ในการใช้จ่ายเงิน จึงเกิดข้อขัดแย้ง ไม่เดินหน้าต่อ

สร้างรายงานโดย นัยนา หนูนิล