แบบบันทึกการติดตามสนับสนุนโครงการ ครั้งที่ 3

รหัสโครงการ 56-00249
สัญญาเลขที่ 56-00-0279

ชื่อโครงการ โคกเหล็กสะอาดจัดการขยะดีทุกชีวีมีสุข
รหัสโครงการ 56-00249 สัญญาเลขที่ 56-00-0279
ระยะเวลาตามสัญญา 1 เมษายน 2013 - 30 เมษายน 2014

ส่วนที่ 1 : ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม

1.1 ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 1 กำไล สมรักษ์
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 2
วันที่ลงพื้นที่ติดตาม 5 มีนาคม 2014
วันที่ส่งรายงานถึง สสส. 13 มีนาคม 2014
1.2 ผู้ให้ข้อมูล
ลำดับชื่อ-สกุลผู้ให้ข้อมูลที่อยู่หมายเลขโทรศัพท์
1 นายธีระชัย ช่วยชู 94/1 หมู่ 9 ตำบลไทยบุรี อำเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช 087-2707143
2 นางศศิวรรณ จันทร์สอน 3 หมู่ 9 ตำบลไทยบุรี อำเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช 081-3706984
3 นางหนูเวียง ศักดิ์ศรี 88/1 หมู่ 9 ตำบลไทยบุรี อำเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช 084-6270374

ส่วนที่ 2 : ข้อมูลโครงการและความก้าวหน้าการดำเนินงาน

2.1 วัตถุประสงค์และตัวชี้วัดความสำเร็จโครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ตัวชี้วัดความสำเร็จ

1.

เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ มีทักษะ และมีพฤติกรรมการจัดการขยะในครัวเรือนได้ถูกต้อง

1.1 ประชาชนในหมู่บ้านเข้าร่วมโครงการ 100 หลังคาเรือน มีความรู้ มีทักษะและสามารถปฏิบัติการจัดการขยะในครัวเรือนตนเองได้ถูกต้อง และทำอย่างต่อเนื่อง ร้อยละ 90

1.2 แกนนำชุมชน10 คน ได้รับคัดเลือกจากผู้เข้าร่วมโครงการทั้งหมดให้เป็นผู้นำในการนำปฏิบัติจัดการขยะกลุ่มบ้านตนเอง โดยแบ่งเขตในละแวกบ้านใกล้เคียง 1 คนต่อ 10 หลังคาเรือน สามารถเป็นผู้นำปฏิบัติการจัดการขยะในครัวเรือนได้ถูกต้อง ร้อยละ 90

2.

เพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมปฏิบัติการจัดการขยะในชุมชนให้หมู่บ้านสะอาด ปลอดภัย เอื้อต่อสุขภาพดี

2.1 ประชาชน 100 หลังคาเรือน เข้าร่วมในเวทีหมู่บ้าน ได้ร่วมคิด ร่วมออกแบบ ร่วมทำ และร่วมประเมินผล ร้อยละ 90

2.2 แกนนำการจัดการขยะมีทักษะการสอน การแนะนำ การติดตามสนับสนุน และประเมินผลการจัดการขยะให้กับประชาชนในหมู่บ้านได้ ร้อยละ 90

2.3 เกิดบ้านจัดการขยะดีเด่นเพื่อเป็นฐานเรียนรู้เรื่องการจัดการขยะ 10 หลังคาเรือน

2.4 เกิดกองทุนการจัดการขยะ 1 กองทุน

3.

เพื่อติดตามและประเมินผลการดำเนินงานโครงการฯ

 

2.2 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ
กลุ่มเป้าหมายงบประมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงปริมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพ/สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ
ที่ตั้งไว้(บาท)เกิดขึ้นจริง(บาท)จำนวนที่ตั้งไว้(คน)จำนวนเกิดขึ้นจริง(คน)

กิจกรรมย่อย: i

0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

คณะกรรมการร่วมกับพี่เลี้ยงพูดคุยเพื่อสรุปโครงการ ตรวจสอบเอกสาร และสรุปผลงานที่ภูมิใจ เป็นเอกสารเผยแพร่ การดำเนินงานให้เพื่อบ้านและเพื่อนในหมู่บ้านใกล้เคียงได้เข้ามาเรียนรู้

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

คณะกรรมการร่วมกับพี่เลี้ยงพูดคุยเพื่อสรุปโครงการ ตรวจสอบเอกสาร และสรุปผลงานที่ภูมิใจ เป็นเอกสารเผยแพร่การดำเนินงานให้เพื่อบ้านและเพื่อนในหมู่บ้านใกล้เคียงได้เข้ามาเรียนรู้ สรุปผลตามตัวชี้วัด คือ ประชาชนในหมู่บ้านเข้าร่วมโครงการ 106 คน มีความรู้ มีทักษะและสามารถปฏิบัติการจัดการขยะในครัวเรือนตนเองได้ถูกต้อง และทำอย่างต่อเนื่อง ร้อยละ 80 แกนนำชุมชน 10 คน ได้รับคัดเลือกจากผู้เข้าร่วมโครงการทั้งหมดให้เป็นผู้นำในการนำปฏิบัติจัดการขยะกลุ่มบ้านตนเอง โดยแบ่งเขตในละแวกบ้านใกล้เคียง 1 คนต่อ 10 หลังคาเรือน สามารถเป็นผู้นำปฏิบัติการจัดการขยะในครัวเรือนได้ถูกต้อง ร้อยละ 100 ประชาชน 106 คน เข้าร่วมในเวทีหมู่บ้าน ได้ร่วมคิด ร่วมออกแบบ ร่วมทำ และร่วมประเมินผล  แกนนำการจัดการขยะมีทักษะการสอน การแนะนำ การติดตามสนับสนุน และประเมินผลการจัดการขยะให้กับประชาชนในหมู่บ้านได้ 10 กลุ่มบ้าน เกิดบ้านจัดการขยะดีเด่นเพื่อเป็นฐานเรียนรู้เรื่องการจัดการขยะ 36 หลังคาเรือน มีผลงานได้มากกว่าที่วางไว้ คือ มีหลุมขยะมีพิษ และแก็สชีวมวลใช้ในครัวเรือน 2 ครัวเรือน มีการประกวดบ้านสะอาดในระดับตำบล ได้รางวัลที่ 1 และ ที่ 2 ในตำบล (จัดประกวดบ้านโดย รพ.สต.บ้านหาร)

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

คณะกรรมการและพี่เลี้ยงร่วมกันสรุปแผนภาพการดำเนินงาน ตามเอกสารของ สจรส.มอ. เป็นการประเมินแผนภาพผลการดำเนินงานเมื่อสิ้นสุดโครงการ และการประเมินผลตามตัวชี้วัด ผลการดำเนินงานพบว่าผลผลิต ผู้นำกลุ่มบ้าน บ้านสะอาด ชาวบ้านรู้วิธีการคัดแยกขยะ และมีการทำต่อยอดเรื่องการทำแก็สชีวมวล ผลลัพท์ ชาวบ้านร่วมมือกันจัดการขยะตามบ้าน และกลุ่มบ้านได้ดี มีผู้นำกลุ่มบ้าน และนำขยะมาทำเป็นแก็สชีวมวลได้ ประหยัดค่าใช้จ่ายในครัวเรือนได้ ผลกระทบ เกิดความคิดต่อยอดเรื่องบ้านพอเพียง หลีกเลี่ยงสารเคมี โดยมีกติกาตามพื้นฐานของบ้านโคกเหล็ก คือ 1. มีการปลูกผักเพิ่มจากเดิมโดยใช้มูลสัตว์ในชุมชน 2. ใช้วัสดุเหลือใช้จากขยะในครัวเรือนมาปรับเป็นวัสดุในการปลูกพืชผัก 3. ทำต่อยอดแก็สชีวมวลจากมูลสัตว์ 4. ลดการบริโภคอาหารผสมสารกันบูด 5. ลดการใช้เครื่องปรุงรสอาหาร เช่น ผงชูรส รสดี 7. เรียนรู้การทำปุ๋ยหมัก ทำน้ำหมักใช้ในครัวเรือน และมาเรียนรู้พร้อมกับปฏิบัติจริง มีกลุ่มบ้านร่วมติดตามบ้านในกลุ่ม ชักชวนให้ทำ กระตุ้นการทำงานอย่างต่อเนื่อง ให้กรรมการหมู่บ้านอื่นๆ ได้แก่ หมู่ที่ 7 กับหมู่ที่ 1 ร่วมกับหมออนามัย มาร่วมเป็นกรรมการตรวจติดตามการดำเนินงานตามกลุ่มบ้าน และให้ข้อคิดเห็นการทำงานให้พัฒนายิ่งขึ้นไป

2.3.1 นวัตกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ

(นวัตกรรมคือ การจัดการความคิด กระบวนการ ผลผลิต และ/หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสม มาใช้งานให้เกิดประสิทธิผล และ/หรือประสิทธิภาพมากกว่าเดิมอย่างชัดเจน)

ชื่อนวัตกรรมคุณลักษณะ/วิธีการทำให้เกิดนวัตกรรมผลของนวัตกรรม/การนำไปใช้ประโยชน์
แกนนำกลุ่มบ้านจัดการขยะ

ผู้นำกลุ่มบ้านสอนการจัดการขยะและเป็นบ้านตัวอย่างการจัดการขยะได้ มีการนำขยะมาทำแก็สชีวมวล

ถ่ายทอดกระบวนการทำงานและขยายผลให้ครัวเรือนอื่นได้

2.3.2 โครงการเด่น (Best Practice)

(โครงการเดิ่น คือ โครงการสร้างเสริมสุขภาพให้สัมฤทธิ์ผลที่เป็นรูปธรรมแล้วขยายผลอย่างยั่งยืน โดยแนวคิดกระบวนการ และผลงาน สามารถเป็นตัวอย่างที่จะนำไปขยายผลในชุมชน (Setting) อื่น ๆ ได้ การดำเนินงานมีส่วนร่วมของภาคีที่หลากหลาย มีการบริหารจัดการที่ดี โปร่งใสและตรวจสอบได้)

ชื่อ Best Practiceวิธีการทำให้เกิด Best Practiceผลของ Best Practice / การนำไปใช้ประโยชน์
ผู้นำกลุ่มบ้านจัดการขยะ

รวมกลุ่มเรียนรู้และลงมือปฏิบัติจนสำเร็จเป็นตัวอย่างเพื่อบ้านได้

ถ่ายทอดและขยายผลในครัวเรือนอื่นๆ ได้

2.3.3 เกิดแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านการสร้างเสริมสุขภาพในประเด็นต่าง ๆ
ชื่อ-สกุลที่อยู่ติดต่อได้สะดวกคุณสมบัติแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลง
นางศศิวรรณ จันทร์สอน 3 หมู่ 9 ตำบลไทยบุรี อำเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช

แกนนำจัดการขยะกลุ่มบ้าน สอนการทำแก็สชีวมวลได้ ปฏิบัติเป็นตัวอย่างของครัวเรือนอื่นๆ ได้ดี

2.3.4 มีสภาพแวดล้อมและปัจจัยทางสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพ

เกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพในชุมชนพื้นที่โครงการดังนี้

สถานที่/พื้นที่ ที่เปลี่ยนแปลงรายละเอียดการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น

บ้านสะอาด มีหลุมขยะเคมี มีแก็สชีวมวล มีบ้านตัวอย่าง

ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้แล้วนำไปปฏิบัติที่บ้านตนเอง และมีการติดตามผลให้มีการปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง เกิดกรรมการประเมินบ้านจากต่างหมู่บ้านช่วยหนุนเสริม

ส่วนที่ 3 : ปัญหาและอุปสรรคสำคัญที่มีผลกระทบต่อการดำเนินงาน

3.1 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเด็นปัญหา/อุปสรรคการแก้ไขของผู้รับทุนข้อเสนอแนะ/การแก้ไขปัญหาและการเสริมพลังของผู้ติดตาม
3.2 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเภทความเสี่ยง / ปัจจัยเสี่ยงระดับความเสี่ยง
(จากมากไปหาน้อย)
ข้อมูล ข้อสังเกตุ และข้อคิดเห็นของผู้ติดตาม
3210
1. ความเสี่ยงด้านการดำเนินงาน (Operational Risks)
1.1 โครงสร้างการดำเนินงาน

 

1.2 ศักยภาพและทักษะการดำเนินงาน

 

1.3 ผลลัพธ์และผลสำเร็จของการดำเนินงาน

 

2. ความเสี่ยงทางการเงิน (Financial Risks)
2.1 ระบบและกลไกการบริหารจัดการ

 

2.2 การใช้จ่ายเงิน

 

2.3 หลักฐานการเงิน

 

ผลรวม 0 0 0 0
ผลรวมทั้งหมด 0 ระดับความเสี่ยง : ???
เกณฑ์วัดระดับความเสี่ยง ???
สรุปการแก้ไขความเสี่ยง แก้ไขแล้ว ยังไม่ได้แก้ไข

ส่วนที่ 4 : สรุปความเห็นของผู้ติดตาม

ส่วนที่ 4สรุปความเห็นของผู้ติดตาม
4.1 กรณีเบิกเงินงวด/ติดตามเยี่ยมชม มีแนวโน้มสำเร็จตามเป้าหมายโครงการและติดตามปกติ
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีแนวโน้มเสี่ยง ต้องติดตามอย่างใกล้ชิด เนื่องจาก
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีความเสี่ยง ต้องยุติโครงการ เนื่องจาก
4.2 กรณีสรุปปิดโครงการ ดำเนินงานได้ตามแผนปฏิบัติการและสามารถปิดโครงการได้
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ไม่เป็นไปตามแผนปฏิบัติการ ให้ดำเนินการจัดระบบการเงิน ระบบรายงานให้ถูกต้องก่อนปิดโครงการ
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ส่วนที่ 5 : สรุปภาพรวมของการติดตามประจำงวด (ข้อสังเกต/สิ่งดีๆ ที่ค้นพบ/ข้อพึงระวัง/บทเรียนที่ได้)

เกิดผู้นำกลุ่มบ้านที่เข้มแข็ง ดำเนินงานต่อเนื่อง ขยายผลต่อเป็นบ้านพอเพียงหลีกเลี่ยงสารเคมีได้

สร้างรายงานโดย Nongluk_R