แบบบันทึกการติดตามสนับสนุนโครงการ ครั้งที่ 1

รหัสโครงการ 56-00268
สัญญาเลขที่ 56-00-0474

ชื่อโครงการ ชุมชนหูยาน บ้านน่าอยู่สู่การจัดการตนเอง
รหัสโครงการ 56-00268 สัญญาเลขที่ 56-00-0474
ระยะเวลาตามสัญญา 1 พฤษภาคม 2013 - 31 พฤษภาคม 2014

ส่วนที่ 1 : ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม

1.1 ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 1 นางสาวจุรีย์ หนูผุด
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 2 นายเสณี จ่าวิสูตร
วันที่ลงพื้นที่ติดตาม 25 สิงหาคม 2013
วันที่ส่งรายงานถึง สสส.
1.2 ผู้ให้ข้อมูล
ลำดับชื่อ-สกุลผู้ให้ข้อมูลที่อยู่หมายเลขโทรศัพท์
1 นายถาวร คงศรี 135 หมู่ 7 ตำบลนาท่อม อำเภอเมือง จังหวัดพัทลุง รหัสไปรษณีย์ 93000 081-5193133

ส่วนที่ 2 : ข้อมูลโครงการและความก้าวหน้าการดำเนินงาน

2.1 วัตถุประสงค์และตัวชี้วัดความสำเร็จโครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ตัวชี้วัดความสำเร็จ

1.

1.เพื่อพัฒนาศักยภาพสภาแกนนำฯ บ้านหูยานและครัวเรือนขยายผลเลี้ยงผึ้ง

1.1 ได้แผนพัฒนาชุมชนพึ่งตนเอง 1.2 เรียนรู้และทำบัญชีครัวเรือน 50 ครัวเรือน 1.3 ชักชวนประชาชนขยายผู้เลี้ยงผึ้งจาก 25 เป็น 50 ครัวเรือน

2.

2.เพื่อจัดตั้งและขยายผลโรงเรียนผึ้งและพัฒนาเป็นหลักสูตรชุมชน

2.1 ตั้งโรงเรียนผึ้งและทำหลักสูตรผึ้ง 1 หลักสูตรเป็นหลักสูตรชุมชน 2.2 เรียนรู้หลักสูตรผึ้ง 1 รุ่น 25 คน 2.3 รวมกลุ่มพัฒนาผลิตภัณฑ์อย่างน้อย  3 กลุ่ม

3.

3.พัฒนาตลาดเขียวพื้นที่คนรักษ์สุขภาพมีการรับรองมาตรฐานสินค้าอาหารปลอดภัย

3.1 พัฒนาตลาดเขียวเปิดพื้นที่คนรักษ์สุขภาพจำหน่ายผลผลิตอาทิตย์ละ 1 ครั้ง 3.2 พัฒนาสินค้าตลาดเขียวให้ได้รับตราสินค้ามาตรฐานอาหารปลอดภัยมาตรฐานจากคณะกรรมคุ้มครองผู้บริโภคตำบลนาท่อม
3.3 จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์กิจกรรมตลอดโครงการ.

4.

4.เพื่อติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน

จำนวนครั้งที่พื้นที่เข้าร่วมกิจกรรม

2.2 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ
กลุ่มเป้าหมายงบประมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงปริมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพ/สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ
ที่ตั้งไว้(บาท)เกิดขึ้นจริง(บาท)จำนวนที่ตั้งไว้(คน)จำนวนเกิดขึ้นจริง(คน)

กิจกรรมย่อย: i

ผู้รับผิดชอบโครงการและคณะทำงาน 0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

ทำความเข้าใจการดำเนินงานโครงการฯและระบบการรายงานผลการดำเนินงานโครงการฯ

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

ผู้รับผิดชอบโครงการฯรู้และเข้าใจระบบการดำเนินงานโครงการฯและระบบการรายงานผลการดำเนินงานผ่านระบบเว็ปไซด์ได้ สามารถนำความรู้มาถ่ายทอดให้คณะทำงานคนอื่นทำได้ใช้เป็น

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

ตัวแทนชุมชนที่เข้าร่วมได้เรียนรู้และทำความเข้าใจในแนวทางการดำเนินงานตามโครงการ /การรายผล/การจัดการการเงิน/การบริหารจัดการโครงการ

กิจกรรมย่อย: i

สมาชิกสภาแกนนำ 0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

สร้างความเข้าใจและอธิบายผังความคิดโครงการกับสมาชิกสภาแกนนำให้เข้าใจและออกแบบกิจกรรมวันเปิดโครงการ

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

สมาชิกสภาแกนนำเข้าใจผังความคิดโครงการและร่วมกันกำหนด ออกแบบกิจกรรมวันเปิดตัวโครงการฯ โดยประสานให้คนในชุมชนที่เข้าร่วมประชุมฯนำปินโตมาถวายเพลและร่วมกันรับประทานอาหารด้วยกัน

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

แกนนำได้เรียนรู้และทำความเข้าใจในการดำเนินงานตามโครงการ รวมถึงร่วมกันออกแบบกระบวนการในวันเปิดงาน

กิจกรรมย่อย: i

สมาชิกสภาแกนนำ และตัวแทนครัวเรือน 0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

ทำความเข้าใจวัตถุประสงค์โครงการ, วิธีการดำเนินงานในแต่ละกิจกรรมตามวัตถุประสงค์ และอธิบายผังความคิดโครงการฯ

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

-ประชาชนรู้และเข้าใจโครงการ ชุมชนหูยานสู่การจัดการตนเอง และวิธีดำเนินการ -ประชาชนนำปิ่นโตมาร่วมรับประทานอาหารร่วมกัน โดยนิมนพระ 5 รูปมาฉันเพล -ชุมชนมาร่วมโดยมีเด็ก ผู้สูงอายุ ประชาชนทั่วไป มาร่วมกิจกรรมเปิดโครงการ ร่วมทำกิจกรรมในวัด เป็นการร่วม คิด ร่วมทำ เพื่อให้โครงการ ชุมชนหูยานสู่การจัดการตนเอง ได้ให้ทุกคน ทุกวัยได้รู้เข้าใจกิจกรรมที่ทำ รวมทั้งเป็นการฝึกให้ประชาชนฝึกการต้อนรับ และบริการคนอื่นที่เข้ามาเยี่ยมชุมชนต่อไปด้วยการเลี้ยงอาหารด้วยปิ่นโต โดยจะเรียกว่า ปิ่นโตสร้างสุข -เห็นความร่วมมือของประชาชนนำปิ่นโตมาร่วม 50 สาย จากการประสานงานของหัวหน้ากลุ่มสวนผักฯเดิม -เห็นการทำงานของสมาชิกสภาแกนนำของบ้านหูยานมีประสิทธิภาพ -เห็นการจัดการตนเองเบีื้องตนโดยที่คณะทำงานโครงการให้คำแนะนำเบื้องต้น -เห็นการทำงานของชุมชนต่อจากโครงการเดิมเป็นรูปธรรมมากขึ้น

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

ตัวแทนครัวเรือนและคณะทำงาน/แกนนำชุมชน ได้เรียนรู้ทำความเข้าใจในการดำเนินงานตามโครงการ เพื่อนำไปสู้ความร่วมมือในการแบ่งบทบาทหน้าที่กันในโครงการ

กิจกรรมย่อย: i

0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

ประชาสัมพันธ์โครงการ

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

จัดบูธแสดงสินค้าของของกลุ่มที่เกิดจากโครงการสวนผักชุมชนคนหูยานฯและต่อยอดปีที่ 2ผ่านงาน "รณรงค์คนรักษ์ลุ่มน้ำพัทลุง"ที่มีผู้เข้าชมภายในงานประมาณ 600 คน เพื่อพัฒนาศักยภาพแกนนำกลุ่มโดยมีกลุ่มฯที่เข้าร่วมประชาสัมพันธ์ 3 กลุ่ม คือ กลุ่มผัก  กลุ่มผึ้ง และกลุ่มสินค้าทดแทนและที่สำคัญสมาชิกแกนนำมีความรู้และกล้านำเสนอผลผลิตของตนเอง

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

มีสื่อที่แสดงผลงานที่ผ่านมาของชุมชนจัดแสดงในงาน รวมพลคนรักลุ่มน้ำพัทลุงซึ่งจัดร่วมกับเทศบาลตำบลนาท่อมภายใต้ชืองาน ของดีนาท่อม ซึ่งเป็นการบูรณาการงานเข้ากับวิถีของคนในตำบลนาท่อม

กิจกรรมย่อย: i

สภาชิกสภาแกนนำและตัวแทนครัวเรือน 0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

วางแผนการดำเนินงานโครงการฯ

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

แกนนำรู้และเข้าใจสามารถออกแบบการดำเนินกิจกรรมเองได้โดยมีตัวแทนครัวเรือน,หัวหน้าส่วนราชการ,ตัวแทนเทศบาลฯมาร่วมด้วย โดยเน้นการกำหนดกิจกรรมชุมชนหูยานโดยมีส่วนร่วม ทำให้คนในชุมชนสนใจมากและมีความตะหนักร่วมกันดำเนินงานโครงการทั้งชุมชน และมีการเสนอการเรียนรู้ระบบการจัดการชุมชนอย่างมีส่วนร่วมและกำหนดไปศึกษาดูงาน ณ บ้านคีรีวงค์ จ.นครศรีฯในวันที่ 24-25 สิงหาคม 2556 โดยเน้นแกนนำและตัวแทนครัวเรือนนำร่องเป็นหลัก

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

สามารถใช้กลไกสภาแกนนำในการบริหารจัดการโครงการได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งการระดมการมีส่วนร่วมกับภาคีอื่นในตำบลและใช้ในการติดตามความก้าวหน้าของโครงการ การวางแผนเตรียมการกิจกรรมที่จะดำเนินการต่อไป

กิจกรรมย่อย: i

สมาชิกสภาแกนนำ และตัวแทนครัวเรือน 0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

สภาชิกสภาแกนนำรู้และเข้าใจ สามารถออกแบบการบริหารจัดการชุมชนเองได้

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

ผู้เข้าร่วมกิจกรรมฯมีความรู้และเข้าใจขั้นตอนระบบการบริหารจัดการชุมชนและสามารถนำบทเรียนจาการศึกษาดูงานมาออกแบบบริหารจัดการชุมชนบ้านหูยานได้

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

ได้เรียนรู้การบริหารจัดการชุมชน การบริหารวิสาหกิจชุมชน การจัดการโฮมเสตย์ฯ จากพื้นที่ที่มีรูปธรรมความสำเร็จคือพื้นที่ชุมชนบ้านคีรีวง จ.นครศรีธรรมราช

กิจกรรมย่อย: i

ผู้รับผิดชอบโครงการและเจ้าหน้าที่การเงิน 0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

ติดตามรายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานโครงการ

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

ผู้รับผิดชอบโครงการฯได้ปรับปรุงปฏิทินการดำเนินกิจกรรมและรายงานผลการดำเนินกิจกิจกรรมที่เกิดขึ้นได้สมบูรณ์

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

ทีมพี่เลี้ยง/สจรส.มอ. ได้ติดตามผลการดำเนินงานของพื้นที่ ตรวจสอบเอกสารรายงานการเงิน ให้คำแนะนำในการรายงานผลทางเว็บไซส์ เพื่อให้พื้นที่สามารถทำรายงานได้อย่างถูกต้องและทันตามระยะเวลาที่กำหนดไว้ในโครงการ

กิจกรรมย่อย: i

ผู้รับผิดชอบโครงการและคณะทำงาน 0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

แลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงานโครงการชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่ปี 55

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

ผู้รับผิดชอบโครงการฯและคณะทำงานเข้าร่วมแลกเปลี่ยนในห้องย่อยและเสวนาการขยับปฏิบัติการระดับพื้นที่เพื่อไปสู่การบริหารจัดการชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่ ประเด็นเกษตรอาหารเศรษฐกิจพอเพียง

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

ตัวแทนชุมชนได้เข้าร่วมและนำเสนอบทเรียนการดำเนินงานตามโครงการต่อผู้เข้าร่วมงานและได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับพื้นที่อื่นๆที่เข้าร่วม

2.3.1 นวัตกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ

(นวัตกรรมคือ การจัดการความคิด กระบวนการ ผลผลิต และ/หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสม มาใช้งานให้เกิดประสิทธิผล และ/หรือประสิทธิภาพมากกว่าเดิมอย่างชัดเจน)

ชื่อนวัตกรรมคุณลักษณะ/วิธีการทำให้เกิดนวัตกรรมผลของนวัตกรรม/การนำไปใช้ประโยชน์
...ปิ่นโตสร้างสุข

ใช้การประยุกต์วิถีเดิมที่มีคุณค่าและงดงาม โดยคณะทำงานประสานตัวแทนครัวเรือนในชุมชนให้หิ้วปิ่นโตมาเพื่อถวายเป็นภัตตาหารเพลแก่พระภิกษุ ในวัดหูยานซึ่งใช้เป็นสถานที่ประชุมหมู่บ้าน ซึ่งครั้งแรกเป็นเวทีสร้างความเข้าใจในการดำเนินงานตามโครงการนี้ สร้างการมีส่วนร่วมระหว่างคน 3 วัยให้เข้าร่วมกิจกรรมนี้ หลังจากการประชุมเสร็จสิ้นก็ได้ร่วมกันทำบุญและรับประทานอาหารเที่ยงร่วมกัน

สร้างความร่วมมือกับคนในชุมชน เพื่อดึงคนเข้าร่วมเรียนรู้ในการดำเนินงานตามโครงการ ซึ่งทางคณะทำงานจะใช้วิธีการนี้ในทุกครั้งที่มีการประชุมหมู่บ้านเพื่อติดตาม รายงานผล และสร้างการมีส่วนร่วมของคนในชุมชน

2.3.2 โครงการเด่น (Best Practice)

(โครงการเดิ่น คือ โครงการสร้างเสริมสุขภาพให้สัมฤทธิ์ผลที่เป็นรูปธรรมแล้วขยายผลอย่างยั่งยืน โดยแนวคิดกระบวนการ และผลงาน สามารถเป็นตัวอย่างที่จะนำไปขยายผลในชุมชน (Setting) อื่น ๆ ได้ การดำเนินงานมีส่วนร่วมของภาคีที่หลากหลาย มีการบริหารจัดการที่ดี โปร่งใสและตรวจสอบได้)

ชื่อ Best Practiceวิธีการทำให้เกิด Best Practiceผลของ Best Practice / การนำไปใช้ประโยชน์
2.3.3 เกิดแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านการสร้างเสริมสุขภาพในประเด็นต่าง ๆ
ชื่อ-สกุลที่อยู่ติดต่อได้สะดวกคุณสมบัติแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลง
2.3.4 มีสภาพแวดล้อมและปัจจัยทางสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพ

เกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพในชุมชนพื้นที่โครงการดังนี้

สถานที่/พื้นที่ ที่เปลี่ยนแปลงรายละเอียดการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น

ส่วนที่ 3 : ปัญหาและอุปสรรคสำคัญที่มีผลกระทบต่อการดำเนินงาน

3.1 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเด็นปัญหา/อุปสรรคการแก้ไขของผู้รับทุนข้อเสนอแนะ/การแก้ไขปัญหาและการเสริมพลังของผู้ติดตาม
3.2 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเภทความเสี่ยง / ปัจจัยเสี่ยงระดับความเสี่ยง
(จากมากไปหาน้อย)
ข้อมูล ข้อสังเกตุ และข้อคิดเห็นของผู้ติดตาม
3210
1. ความเสี่ยงด้านการดำเนินงาน (Operational Risks)
1.1 โครงสร้างการดำเนินงาน

 

1.2 ศักยภาพและทักษะการดำเนินงาน

 

1.3 ผลลัพธ์และผลสำเร็จของการดำเนินงาน

การกำหนดวัน เวลา การดำเนินงานโครงการตามปฏิทินต้องชะงักไม่สามารถจัดกิจกรรมได้ เพราะในพื้นที่มีการเลือกตั้งนายกเทศมนตรี การดำเนินกิจกรรมต้องเลื่อนออกไป

2. ความเสี่ยงทางการเงิน (Financial Risks)
2.1 ระบบและกลไกการบริหารจัดการ

 

2.2 การใช้จ่ายเงิน

 

2.3 หลักฐานการเงิน

เจ้าหน้าที่การเงินยังขาดทักษะในการบริหารจัดการในเรื่องเอกสารหลักฐานการเงิน ข้อสังเกตุเห็นได้จากเอกสารหลักฐานการเงินไม่สมบูรณ์ ไม่ระบุรายละเอียดค่าใช้จ่ายให้ชัดเจน

ผลรวม 0 0 2 0
ผลรวมทั้งหมด 2 ระดับความเสี่ยง : ???
เกณฑ์วัดระดับความเสี่ยง ???
สรุปการแก้ไขความเสี่ยง แก้ไขแล้ว ยังไม่ได้แก้ไข

ส่วนที่ 4 : สรุปความเห็นของผู้ติดตาม

ส่วนที่ 4สรุปความเห็นของผู้ติดตาม
4.1 กรณีเบิกเงินงวด/ติดตามเยี่ยมชม มีแนวโน้มสำเร็จตามเป้าหมายโครงการและติดตามปกติ
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีแนวโน้มเสี่ยง ต้องติดตามอย่างใกล้ชิด เนื่องจาก
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีความเสี่ยง ต้องยุติโครงการ เนื่องจาก
4.2 กรณีสรุปปิดโครงการ ดำเนินงานได้ตามแผนปฏิบัติการและสามารถปิดโครงการได้
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ไม่เป็นไปตามแผนปฏิบัติการ ให้ดำเนินการจัดระบบการเงิน ระบบรายงานให้ถูกต้องก่อนปิดโครงการ
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ส่วนที่ 5 : สรุปภาพรวมของการติดตามประจำงวด (ข้อสังเกต/สิ่งดีๆ ที่ค้นพบ/ข้อพึงระวัง/บทเรียนที่ได้)

คณะทำงานได้ประสานผู้เข้าร่วมกิจกรรมเปิดโครงการเพื่อทำความเข้าใจกับตัวแทนครัวเรือนโดยให้ตัวแทนครัวเรือนหิ้วปิ่นโตมาเพื่อถวายภัตตาหารเพลแก่พระภิกษุ วัดหูยานภายหลังการประชุมเสร็จสิ้น ซึ่งนอกจากประชาชนรู้และเข้าใจโครงการ ชุมชนหูยานสู่การจัดการตนเอง และวิธีดำเนินการ พี่น้องนำปิ่นโตมาร่วมรับประทานอาหารร่วมกัน โดยนิมนพระ 5 รูปมาฉันเพล โดยมีเด็ก ผู้สูงอายุ ประชาชนทั่วไป มาร่วมกิจกรรมเปิดโครงการ ร่วมทำกิจกรรมในวัด เป็นการร่วม คิด ร่วมทำ เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมให้ทุกคน ทุกวัยได้รู้เข้าใจกิจกรรมที่ทำ รวมทั้งเป็นการฝึกให้ประชาชนฝึกการต้อนรับ และบริการคนอื่นที่เข้ามาเยี่ยมชุมชนต่อไปด้วยการเลี้ยงอาหารด้วยปิ่นโต โดยจะเรียกว่า ปิ่นโตสร้างสุข จากการร่วมมือของพี่น้องนำปิ่นโตมาร่วม 50 สาย จากการประสานงานของหัวหน้ากลุ่มสวนผักฯเดิม เห็นการทำงานของสมาชิกสภาแกนนำของบ้านหูยานมีประสิทธิภาพ เห็นการจัดการตนเองเบีื้องตนโดยที่คณะทำงานโครงการให้คำแนะนำเบื้องต้น เห็นการทำงานของชุมชนต่อจากโครงการเดิมเป็นรูปธรรมมากขึ้น  เป็นความงดงามตามวิถีเิดิมที่สามารถนำมาประยุกต์กับการทำกิจกรรมตามโครงการ

สร้างรายงานโดย Churee