แบบบันทึกการติดตามสนับสนุนโครงการ ครั้งที่ 2

รหัสโครงการ 56-00268
สัญญาเลขที่ 56-00-0474

ชื่อโครงการ ชุมชนหูยาน บ้านน่าอยู่สู่การจัดการตนเอง
รหัสโครงการ 56-00268 สัญญาเลขที่ 56-00-0474
ระยะเวลาตามสัญญา 1 พฤษภาคม 2013 - 31 พฤษภาคม 2014

ส่วนที่ 1 : ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม

1.1 ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 1 นายเสณี จ่าวิสูตร
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 2 น.ส.จุรีย์ หนูผุด
วันที่ลงพื้นที่ติดตาม 10 มีนาคม 2014
วันที่ส่งรายงานถึง สสส. 30 มิถุนายน 2014
1.2 ผู้ให้ข้อมูล
ลำดับชื่อ-สกุลผู้ให้ข้อมูลที่อยู่หมายเลขโทรศัพท์
1 นายถาวร คงศรี 199หมู่ที่ 7 ตำบลนาท่อม อำเภอเมือง จังหวัดพัทลุง 93000 081 - 5193133,098 - 0178131
2 นายอนุชา เฉลาชัย 135 หมู่ที่ 8 ตำบลนาท่อม อำเภอเมือง จังหวัดพัทลุง 93000 081 - 3288784

ส่วนที่ 2 : ข้อมูลโครงการและความก้าวหน้าการดำเนินงาน

2.1 วัตถุประสงค์และตัวชี้วัดความสำเร็จโครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ตัวชี้วัดความสำเร็จ

1.

1.เพื่อพัฒนาศักยภาพสภาแกนนำฯ บ้านหูยานและครัวเรือนขยายผลเลี้ยงผึ้ง

1.1 ได้แผนพัฒนาชุมชนพึ่งตนเอง 1.2 เรียนรู้และทำบัญชีครัวเรือน 50 ครัวเรือน 1.3 ชักชวนประชาชนขยายผู้เลี้ยงผึ้งจาก 25 เป็น 50 ครัวเรือน

2.

2.เพื่อจัดตั้งและขยายผลโรงเรียนผึ้งและพัฒนาเป็นหลักสูตรชุมชน

2.1 ตั้งโรงเรียนผึ้งและทำหลักสูตรผึ้ง 1 หลักสูตรเป็นหลักสูตรชุมชน 2.2 เรียนรู้หลักสูตรผึ้ง 1 รุ่น 25 คน 2.3 รวมกลุ่มพัฒนาผลิตภัณฑ์อย่างน้อย  3 กลุ่ม

3.

3.พัฒนาตลาดเขียวพื้นที่คนรักษ์สุขภาพมีการรับรองมาตรฐานสินค้าอาหารปลอดภัย

3.1 พัฒนาตลาดเขียวเปิดพื้นที่คนรักษ์สุขภาพจำหน่ายผลผลิตอาทิตย์ละ 1 ครั้ง 3.2 พัฒนาสินค้าตลาดเขียวให้ได้รับตราสินค้ามาตรฐานอาหารปลอดภัยมาตรฐานจากคณะกรรมคุ้มครองผู้บริโภคตำบลนาท่อม
3.3 จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์กิจกรรมตลอดโครงการ.

4.

4.เพื่อติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน

จำนวนครั้งที่พื้นที่เข้าร่วมกิจกรรม

2.2 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ
กลุ่มเป้าหมายงบประมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงปริมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพ/สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ
ที่ตั้งไว้(บาท)เกิดขึ้นจริง(บาท)จำนวนที่ตั้งไว้(คน)จำนวนเกิดขึ้นจริง(คน)

กิจกรรมหลัก : ประชุมจัดทำโครงสร้างที่ดำเนินงานของสภาแกนนำฯi

14,450.00 65 ผลผลิต

 


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)
  1. เกิดโครงสร้างสภาผู้นำจำนวน 15 คน ขับเคลื่อนการบริหารจัดการชุมชนโดยมีการแบ่งบทบาทหน้าที่อย่างชัดเจน
  2. กำหนดวันประชุมทุกวันที่ 9 ของทุกเดือน

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

-สมาชิกสภาแกนนำ  -สมาชิกครัวเรือนต้นแบบ ผู้นำชุมชน และประชาชนทั่วไปที่สนใจมาเรียนรู้

14,450.00 14,450.00 65 49 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.สมาชิกสภาแกนนำ เข้าใจบทบาทของตัวเองและแบ่งการทำงานออกเป็น 7 ฝ่ายพร้อมร่วมคิดบทบาทหน้าที่ร่วมกัน

2.ได้ข้อสรุปร่วมกันในการทำแผนจะทำร่วมกับเทศบาลพร้อนำเสนอแผนเพื่อของเงินอุดหนุนกิจกรรมในช่วงทำประชาคมหมู่บ้านประมาณเดือนมิถุนายนโดยใช้ฐานความต้องการของกลุ่ม ทั้ง 3 ในการเสนอ

  1. สมาชิกสภาแกนนำได้แบ่่งกันหาสมาชิกผู้เลี้ยงผึ้ง ซึ่งที่ประชุมได้สรุป ได้มีจำนวนคนทั้งในและนอกชุมชนสนใจการเลี้ยงผึ้งจำนวนมาก ตั้งแต่นางบุญเรืองแสงจันทร์ได้ นำเสนอต่อผู้ว่า ราชการจังหวัดพัทลุงและทางผู้ว่าได้นำไปคุยความสำคัญของการเลี้ยงผึ้งผ่ายรายการวิทยุ ทำให้ผู้ฟังสนใจเข้ามาศึกษาดูงานบ้านนางบุญเรืองจำนวนมาก และมีผู้สนใจเข้ามาซื้อกล่องและเรียนรู้จำนวนมาก ทั้งทีวี ช่อง 3 ,5,7 เข้ามาทำรายการและหนังสือพิมพ์ไืทยรัฐลงให้ทำให้มีผลการขยายไปในหลายอำเภอของจังหวัดพัทลุง

4.การทำบัญชีครัวเรือน บัญชีกลุ่ม ใช้ตามแนวทางของ ธนาคาร ธกส. ซึ่งประชาชนเป็นสมาชิกอยู่แล้วและง่ายต่อการลงบัญชีและทำความเข้าใจด้วย 5.ที่ประชุมตกลงกันจะใช้เวทีการประชุมทุกวันที่ 9 ของเดือนมาแลกเปลี่ยนกันถ้ามีปัญหา

กิจกรรมหลัก : ประชุมเชิงปฎิบัติการร่วมคิด ร่วมทำสู่แผนชุมชนพึ่งตนเองฉบับคนหูยานi

12,650.00 55 ผลผลิต

 


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

ได้แผนชุมชนในขับเคลื่อนการพัฒนาหมู่บ้านที่ประกอบ 7 ด้านที่สอดคล้องกับแผนงานของเทศบาลในเรื่อง การปกครอง การพัฒนา เศรษฐกิจ สังคม การศึกษาและวัฒนธรรม

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

-สภาแกนนำ -สมาชิกกลุ่มครัวเรือนต้นแบบ -ประชาชนทั่วไป

12,650.00 12,650.00 55 62 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-การออกแบบการบริหารแต่ละด้าน 7 ด้านสอดคล้องกับหน่วยงานราชการ เป็นหมู่บ้าน(กม) แบ่งคณะทำงานเป็น 7 คณะ ด้านอำนวยการ ด้านการปกครอบและความสงบเรียบร้อย ด้านแผนพัฒนาหมู่บ้าน ด้านส่งเสริมเศรษฐกิจ ด้านสังคม สิ่งแวดล้อมและสาธารณะสุข  ด้านการศึกษาและวัฒนธรรม และด้านกีฬา
-ด้านสมาชิกแกนนำ กิจกรรมที่ต้องดำนินการคือ ด้านการทำบัญชีครัวเรือน ด้านอาชีพปลูกผัก  ทำสินค้าทดแทน  การเลี้ยงผึ้งและการทำแผนพัฒนาอาชีพ -นายอนุชา เฉลาชัยพร้อมกับกรรมการหมู่บ้าน 21  คน รู้และเข้าใจในโครงสร้างและบทบาทหน้าที่การเป็นกรรมการหมู่บ้าน พร้อมทั้งส่งคณะทำงานเข้ารับการประเมินเป็นผู้นำดีเด่นประจำปี 2557  โดยใช้ประเด็นเด่น คือ เป็นการจัดกระบวนการพัฒนาศักยภาพสภาแกนนำหรือกรรมการหมู่บ้าน

กิจกรรมหลัก : ฝึกการนำเสนอวิทยากรแหล่งเรียนรู้i

8,550.00 35 ผลผลิต

 


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

วิทยากรแหล่งเรียนรู้โรงเรียนผิ้ง มีความรู้ความสามารถในการถ่ายทอดองค์ความรู้อย่างเป็นกระบวนการให้กับชาวบ้านในชุมชนและผู้สนใจจากภายนอกได้และสามารถนำความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ได้

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 2 ครั้ง

-ตัวแทนครัวเรือน -สมาชิกแกนนำ -กลุ่มบทบาทสตรี

8,550.00 8,550.00 35 25 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลที่เกิดขึ้นจริง นางบุญเรือง  แสงจันทร์เป็นผู้ที่สามารถถ่ายทอดความรู้เรื่องการเลี้ยงผึ้งให้ผู้เข้าร่วมดูงานแลกเปลี่ยนได้เป็นระบบตามที่ออกแบบและนายมานพ แสงจันทร์ ซึ่งเป็นสามีสามารถเป็นวิทยากรควบคู่ได้เป็นอย่างดี
-ผลที่เกิดขึ้นตามมา ได้รับความสนใจจากผู้ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เป็นอย่างดีมีมีผู้สนใจมาศึกษาเพิ่มขึ้นจากการสื่อสารทางวิทยุ -เปลี่ยนแหล่งเรียนรู้ที่ที่มีวิทยากรการนำเสนอได้ทั้ง 2 คน ลูกสาวก็มีความรู้สามารถนำเสนอได้เช่นเดียวกัน -กลุ่มผู้เลี้ยงผึ้งมาให้การต้อนรับผู้มาศึกษาดูงานเป็นอย่างดี  สะท้อนให้เห็นความตื่นตัวต้อนรับ เห็นความสำคัญของคนมาท่องเที่ยวในชุมชนบ่อยขึ้น -จากการมาเยี่ยม,ดูงาน หลายครั้งที่ผ่านมา ทำให้ทางกลุ่มเลี้ยงผึ้งบ้านหูยาน น้ำผึ้งมีไม่เพียงพอต่อความต้องการ,ผลผลิตของประชาชน เช่น ผัก ผลไม้ ให้บริการจนเป็นที่พอใจของผู้มาดู
-การเข้ามาดูการเลี้ยงผึ้ง ทำให้ประชาชนขาย สินค้าได้มากขึ้นและมีการปรับตัวเป็นผู้ให้บริการได้ดีขึ้นจากเดิมไม่เคยมีต้องนำสินค้าไปขายให้แม่ค้าคนกลาง ปัจจุบันขายตรงมากขึ้น

-วิทยากรของแหล่งเรียนรู้โรงเรียนผึ้ง  มีความรู้และถ่ายทอดได้อย่างรอบรู้และเข้าใจของผู้มาดูงาน โดยที่มีกำนันอนุชา เฉลาชัยและนางสุมาลี  ศรีโดนได้ฝึกถ่ายทอดอย่างเป็นกระบวนการและนำชมกิจกรรมของกลุ่ม ผึ้ง สวนผัก ,สินค้าทดแทน จนเป็นที่พอใจของกลุ่มผู้นำบทบาทสตรี

-เจ้าหน้าที่เทศบาล -สมาชิกผู้เลี้ยงผึ้ง,กลุ่มสวนผักชุมชน -ผู้นำในพื้นที่

8,550.00 0.00 35 25 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-สมาชิกในกลุ่มผึ้งและกลุ่มสวนผักได้เรียนรู้และเข้าใจหลักคิดการเลี้ยงผึ้งเพื่อสุขภาพ  สิ่งแวดล้อม อย่างเป็นระบบ -สมาชิกแกนนำและกลุ่มที่เลี้ยงผึ้งสามารถถ่ายทอดหลักคิดการเลี้ยงผึ้งของชุมชน -นางบุญเรือง แสงจันทร์เป็นวิทยากรถ่ายทอดได้อย่างเป็นระบบ คือ มีแนวคิด  แนวปฎิบัติ  การแลกเปลี่ยนเรียนรู้

กิจกรรมหลัก : พัฒนาบ้านผึ้งเป็นโรงเรียนผึ้งโดยมีหลักสูตรผึ้งi

6,800.00 10 ผลผลิต

 


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

มีหลักสูตรในการเรียนรู้เรื่องผึ้งที่มีเนี้อหาที่สมบูรณ์ มีกระบวนการในการนำเสนอ พร้อมอุปกรณ์ในการสาธิต

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 2 ครั้ง

-กลุ่มของสภาแกนนำหรือกรรมการหมู่บ้าน,สมาชิกกลุ่มสวนผัก,และกลุ่มผู้นำที่สนใจเข้าร่วม

6,800.00 6,800.00 10 19 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-ได้กำหนดเนื่อหา  เป็น  20:60:20 คือ 20= แนะนำภาคทฤษฏี: 60= เย่ี่ยมชมภาคปฏิบัติ: 20= แลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อพัฒนา -กำหนดการใช้สื่อนำเสนอตอนสาธิต  ประกอบด้วย กล่องหรือหีบผึ้ง,ชุดเก็บนำ้ผึ้ง,ไวนิลนำเสนอ,แผ่นพับ,และอุปกรณ์อื่นที่เกี่ยวข้อง -ได้กำหนดวิทยากรประจำศูนย์ 2 ท่าน คือ นางบุญเรือง  แสงจันทร์และนายมานพ  แสงจันทร์ -สถานที่ดู สามารถดูได้จากสมาชิกกลุ่มเลี้ยงผึ้งคนอื่นนอกจากนี้

คณะผู้ทรงคุณวุฒิร่วมพิจารณาหลักสูตร 8 คน

15,050.00 0.00 35 0 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ได้หลักสูตรผึ้งเป็นหลักสูตร ชุมชนฉบับสมบูรณ์ที่ผ่านคณะกรรมการร่วมคิด

กิจกรรมหลัก : ประชุมคณะกรรมการตลาดเขียวi

10,500.00 50 ผลผลิต

 


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

คณะกรรมการตลาดเขียวมีมาตรการในการกำหนดมาตรฐานอาหารที่จะมาจำหน่ายในตลาดเขียว โดยเน้นเอกลักษณ์ของสินค้าจะต้องได้รับการรับรองจากคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

-ตัวเทนเทศบาล -ตัวแทนอนามัย -ตัวแทนกำนันผู้ใหญ่ -ตัวแทนกลุ่มปลูกผักล -ตัวแทนฝ่ายผู้บริโภค

10,500.00 10,500.00 50 37 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-ที่ประชุมได้ร่วมกันกำหนดตราคุณภาพมาตรฐานผลิตภัณฑ์ที่เป็น เอกลักษณ์ที่ใช้ได้ทั้งตำบลถ้าผ่านการรับรอง และผ่านหลักเกณฑ์ จากคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคตำบลนาท่อม -การดำเนินการตลาดนัดสีเขียวต้องทำเป็นกลุ่มเครื่อข่ายขยายสมาชิกด้วยเครื่อข่ายผู้ผลิตที่ต้องผ่านการรับรองผลิตภัณฑ์,มีสถานที่ขายคือ ตลาดโคกม่วง , และร้านค้าในชุมชน,ออกร้านนอกสถานที่ตามความเหมาะสม -ไต้ตรงรับรองมาตรฐานรับรองผลิตภัณฑ์อาหารปลอดภัย

กิจกรรมหลัก : ใช้สื่อประชาสัมพันธ์ รณรงค์สร้างจิตสำนึก ครั้งที่ 1i

9,000.00 50 ผลผลิต

 


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

การประชาสัมพันธ์การดำเนินกิจกรรมโครงการได้มีการประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อวิทยุท้องถิ่น หอกระจายข่าวหมู่บ้านทุกครั้งที่จะทำกิจกรรม ซึ่งได้รับการยอมรับของคนในชุมชนในการเข้าร่วมกิจกรรมทุกครั้งได้เป็นอย่างดี

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 2 ครั้ง

 

9,000.00 0.00 0 600 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-ได้ประชาสัมพันธ์โครงการผ่านสื่อวิทยุท้องถิ่น หอกระจายข่าว แสดงสินค้า -กลุ่มทั้ง 3 ได้นำเสนอผลิตภัณฑ์ในงานทั้ง 2 วัน -สมาชิกแกนนำมีความรู้และกล้านำเสนอผลผลิตของตนเอง -เทศบาลตำบลนาท่อมหนุนเสริมค่าสถานที่ไม่มีค่าใช้จ่ายของโครงการเป็นการทำงานร่วมกับหลายภาคี

-นักเรียนโรงเรียนวัดนาท่อม ป3-ป6 -ประชาชนทั่วไป ม1-8 -รพสต -หัวหน้าส่วนราชการที่มาทำการประเมินกำนันดีเด่นแนบทอง -ผู้นำตำบลนาท่อมทุกภาคส่วน ทั้ง ผู้ใหญ่,ผู้ช่วย,สมาชิกสภาเทศบาล -กลุ่มองค์กรที่เป็นเครื่อขายนำผลิตภัณฑ์ของตนเองมานำเสนอ
-กลุ่มสวนผัก,กลุ่มผึ้ง,กลุ่มสินค้าทดแทน,กลุ่มเด็กเยาวชนโครงการครอบครัวจักรยานสานฝันวันอาทิตย์

9,000.00 9,000.00 50 300 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-กำนันได้รับการคัดเลือกให้เป็นกำนันดีเด่น มีผลงานเด่น จากโครงการ คือ การบริหารจัดการชุมชนที่ใช้สภาแกนนำหรือกรรมการหมู่บ้านขับเคลื่อน
-ผลงานจากการรวมคนจากกลุ่มบ้าน เป็นแกนในการสื่อสารงานชุมชน ทำให้เกิดการบริหารที่มีประสิทธิภาพเกิดการสื่อสารได้ครอบคลุม มีคนมาร่วมงานในครั้งนี้อย่ามากจากการประสานงานของสมาชิกแกนนำหรือกรรมการหมู่บ้าน -ได้รับการยอมรับจากสังคมภายนอกจากการจัดการ หรือการรวมคนร่วมทำกิจกรรมที่ประสบความสำเร็จ

กิจกรรมหลัก : ใช้สื่อประชาสัมพันธ์ รณรงค์สร้างจิตสำนึก ครั้งที่ 2i

9,000.00 50 ผลผลิต

 


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

คนในชุมชนให้ความร่วมมือเป็นอย่างดีในการจัดกิจกรรมของชุมชน มีการรวมกลุ่มกันนำเสนอผลงานของแต่ละกลุ่มที่หลากหลาย เช่น พาเหรดผัก พาเหรดขยะรีไซคเคิล ชุดแต่งกายจากขยะ จึงทำให้เป็นที่รู้จักและได้รับการยอมรับของชุมชนข้างเคียงและกลุ่มคนภายนอก

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 3 ครั้ง

กลุ่มคน 3 วัย -แกนนำ  21  คน -ครัวเรือนต้นแบบ -ประชาชนทั่วไป หมู่ที่ 1-8 -เทศบาลตำบลนาท่อม

9,000.00 9,000.00 50 50 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-ชุมชนหูยานมีความตื่นตัวและให้ความร่วมมือเป็นจำนวนมาก -คิดกิจกรรมนำเสนอให้คนรู้จักได้ด้วยวิธีการร่วมคิด  ร่วมทำ สิ่งที่นำเสนอเป็นรูปธรรมทั้งสิ้น  เช่น ขบวนพาเหรดผัก, ขบวนพาเหรดผู้สูงอายุสุขภาพดีและลดขยะ,ขบวนพาเหรดเด็กนำขยะมารีไซคเคิล ฯลฯ -ชุมชนอื่น รู้และเข้าใจโครงการหูยานจัดการตนเองเพิ่มมากขึ้นเมื่อกำนันอนุชา  เฉลาชัยได้รับรางวัล กำนันแหนบทองคำ และมีโรงเรียนผึ้ง ที่เกิดจากโครงการนี้ ทำให้มีคนมาดูงานจำนวนมาก จนต้องบริหารจัดการแหล่งเรียนรู้โดยการกำหนดวันมาดู

ประชาชนทั่วไปในชุมชนที่มาชนกิจกรรมงานแข่งขั้นเรือนพาย

0.00 0.00 100 300 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ชุมชนได้รวมผลผลิตในชุมชนมานำเสนอในงาน ทำให้ผู้ร่วมงานได้รู้จักนาท่อม ได้รู้จักพื้นที่สุขภาพเพิ่มขึ้นจากงานรณรงค์

ประชาชนในเขตเทศบาลตำบลนาท่อม หมู่ที่ 1-8 เพื่อใบใช้บริหารของเทศบาล

0.00 0.00 100 0 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

กลุ่มต่างได้ร่วมกันรงณรงค์ให้ประชาชนหันมาสนใจสุขภาพ,รณรงค์ให้เลี้ยงผึ้งเพื่อสุขภาพ,เพื่อสิ่งแวดล้อมและเพื่อรายได้, ได้มีการแปรรูปผลืตภัณฑ์สินค้าทดแทนที่ขายดี,ได้ประชาสัมพันธ์โครงการให้ประชาชนที่ร่วมงานได้มีความมั่นใจในผลิตภันฑ์ -เห็นประชาชนประชาชนที่ร่วมกลุ่มคิด และร่วมทำจนเพื่องตนเองอย่างเห็นได้ชัดจากการร่วมทำอย่างไม่เด็ดเหนือย

2.3.1 นวัตกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ

(นวัตกรรมคือ การจัดการความคิด กระบวนการ ผลผลิต และ/หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสม มาใช้งานให้เกิดประสิทธิผล และ/หรือประสิทธิภาพมากกว่าเดิมอย่างชัดเจน)

ชื่อนวัตกรรมคุณลักษณะ/วิธีการทำให้เกิดนวัตกรรมผลของนวัตกรรม/การนำไปใช้ประโยชน์
โรงเรียนเลี้ยงผึ้งและหลักสูตรการเลี้ยงผึ้ง

เป็นกระบวนการในการนำเอาความรู้ในการเลี้ยงผึ้งมาเรียบเรียงอย่างป็นขั้นตอน สามารถทำตามได้ โดยการสัมภาษณ์ผู้เลี้ยงผึ้งรังในหมู่บ้านหูยานถอดเป็นองค์ความรู้ และเรียบเรียงเป็นหลักสูตร  โรงเรียนเลี้ยงผึ้ง คือการนำเอาหลักสูตรการเลี้ยงผึ้งมาถ่ายทอดแก่ผู้ที่สนใจเข้ามาเรียนรู้ มีทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติควบคู่กันไป โดยใช้สถานที่จริงคือครัวเรือนที่เป็นผู้เลี้ยงผึ้งในชุมชนเป็นผู้ถ่ายทอด

มีเครื่องมือในการถายทอดความรู้และองค์ความรู้ในการเลี้ยงผึ้งเพื่อถ่ายทอดแก่ผู้สนใจที่จะเข้ามาเรียนรู้ทั้งจากในและนอกพื้นที่ เป็นการขยายผลของการเลี้ยงผึ้งในพื้นที่นี้

ตลาดเขียว

เป็นสถานที่สาธารณะของหมู่บ้าน ใช้เป็นตลาด ที่มีกระบวนการกำหนดมาตรฐานของสินค้าเกษตรที่นำมาจำหน่าย ต้องผ่านเกณฑ์การผลิตจากคณะทำงาน ว่ามีความปลอดภัยจากสารเคมีในการบริโภค

เป็นแหล่งที่ผู้ผลิตอาหารปลอดภัยในชุมชนได้นำผลผลิตมาจำหน่าย และเป็นแหล่งที่ผู้บริโภคสามารถเลือกซื้ออาหารที่ปลอดภัยใช้บริโภค เป็นทางเลือกที่จัดขึ้นในชุมชน

2.3.2 โครงการเด่น (Best Practice)

(โครงการเดิ่น คือ โครงการสร้างเสริมสุขภาพให้สัมฤทธิ์ผลที่เป็นรูปธรรมแล้วขยายผลอย่างยั่งยืน โดยแนวคิดกระบวนการ และผลงาน สามารถเป็นตัวอย่างที่จะนำไปขยายผลในชุมชน (Setting) อื่น ๆ ได้ การดำเนินงานมีส่วนร่วมของภาคีที่หลากหลาย มีการบริหารจัดการที่ดี โปร่งใสและตรวจสอบได้)

ชื่อ Best Practiceวิธีการทำให้เกิด Best Practiceผลของ Best Practice / การนำไปใช้ประโยชน์
2.3.3 เกิดแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านการสร้างเสริมสุขภาพในประเด็นต่าง ๆ
ชื่อ-สกุลที่อยู่ติดต่อได้สะดวกคุณสมบัติแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลง
นางบุญเรือน แสงจันทร์

วิทยากรกระบวนการเรื่องการเลี้ยงผึ้ง มีความรู้และความเข้าใจในกระบวนการเลี้ยงผึ้งเป็นอย่างดี และสามารถถ่ายทอดองค์ความรู้ได้อย่างเป็นกระบวนการ

2.3.4 มีสภาพแวดล้อมและปัจจัยทางสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพ

เกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพในชุมชนพื้นที่โครงการดังนี้

สถานที่/พื้นที่ ที่เปลี่ยนแปลงรายละเอียดการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น

ลานวัฒนธรรมริมคลองนาท่อม

เป็นสถานที่ที่เอื้อในการจัดกิจกรรมด้านสุขภาวะทั้งกายภาพ สุขภาพจิดและสังคม เป็นสถานที่ที่จัดกิจกรรมตลาดเขียวหมู่บ้าน ลานเด็กและเยาวชน(นาท่อมยิ้ม)

ส่วนที่ 3 : ปัญหาและอุปสรรคสำคัญที่มีผลกระทบต่อการดำเนินงาน

3.1 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเด็นปัญหา/อุปสรรคการแก้ไขของผู้รับทุนข้อเสนอแนะ/การแก้ไขปัญหาและการเสริมพลังของผู้ติดตาม
3.2 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเภทความเสี่ยง / ปัจจัยเสี่ยงระดับความเสี่ยง
(จากมากไปหาน้อย)
ข้อมูล ข้อสังเกตุ และข้อคิดเห็นของผู้ติดตาม
3210
1. ความเสี่ยงด้านการดำเนินงาน (Operational Risks)
1.1 โครงสร้างการดำเนินงาน

 

1.2 ศักยภาพและทักษะการดำเนินงาน

 

1.3 ผลลัพธ์และผลสำเร็จของการดำเนินงาน

 

2. ความเสี่ยงทางการเงิน (Financial Risks)
2.1 ระบบและกลไกการบริหารจัดการ

 

2.2 การใช้จ่ายเงิน

 

2.3 หลักฐานการเงิน
  1. ใบลงทะเบียนไม่ระบุชื่อกิจกรรมที่จัด
  2. ใบสำคัญรับเงินไม่ระบุเลขที่สัญญา ไม่ระบุรายละเอียดค่าใช้จ่าย
  3. บางกิจกรรมใบสำคัญรับเงิน ผู้รับเงิน/ผู้จ่ายเงินไม่ลงนามให้เรียบร้อย
ผลรวม 0 0 1 0
ผลรวมทั้งหมด 1 ระดับความเสี่ยง : ???
เกณฑ์วัดระดับความเสี่ยง ???
สรุปการแก้ไขความเสี่ยง แก้ไขแล้ว ยังไม่ได้แก้ไข

ส่วนที่ 4 : สรุปความเห็นของผู้ติดตาม

ส่วนที่ 4สรุปความเห็นของผู้ติดตาม
4.1 กรณีเบิกเงินงวด/ติดตามเยี่ยมชม มีแนวโน้มสำเร็จตามเป้าหมายโครงการและติดตามปกติ
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

สามารถดำเนินงานได้ตรงและทันตามี่กำหนดไว้ในโครงการ มีตัวชี้วัดตรงตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้ การบริหารจัดการการเงินทำได้ถูกต้อง การรายงานผลทำได้ดี

มีแนวโน้มเสี่ยง ต้องติดตามอย่างใกล้ชิด เนื่องจาก
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีความเสี่ยง ต้องยุติโครงการ เนื่องจาก
4.2 กรณีสรุปปิดโครงการ ดำเนินงานได้ตามแผนปฏิบัติการและสามารถปิดโครงการได้
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ไม่เป็นไปตามแผนปฏิบัติการ ให้ดำเนินการจัดระบบการเงิน ระบบรายงานให้ถูกต้องก่อนปิดโครงการ
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ส่วนที่ 5 : สรุปภาพรวมของการติดตามประจำงวด (ข้อสังเกต/สิ่งดีๆ ที่ค้นพบ/ข้อพึงระวัง/บทเรียนที่ได้)

การดำเนินงานในงวดที่ 2 ของพื้นที่นี้สามารถดำเนินงานได้ตรงและทันตามที่กำหนดไว้ในโครงการ แสดงให้เห็นถึงศักยภาพในการบริหารจัดการแผนของคณะทำงาน สามารถดำเนินงานได้ผลผลิตและคุณภาพของงานได้ตรงตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้ในโครงการ การบริหารจัดการงบประมาณและการจัดทำรายงานการเงินและหลักฐานในการใช้จ่ายถูกต้องชัดเจน การรายงานผลทางเว็บไซส์สามารถทำได้ดีแม้จะไม่ค่อยจะละเอียดในบางด้าน ในภาพรวมแสดงให้เห็นถึงศักยภาพในการบริหารจัดการโครงการของคณะทำงานอยู่ในเกณฑ์ดี

สร้างรายงานโดย Churee