directions_run

อาสาสมัครฝ่ายพลเรือน เฝ้าระวังเตือนภัยพิบัติเพื่อสุขภาพ

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ อาสาสมัครฝ่ายพลเรือน เฝ้าระวังเตือนภัยพิบัติเพื่อสุขภาพ
ภายใต้โครงการ สำนักงาน สช. จัดเวทีพัฒนานโยบายสาธารณะ ๑๔ จังหวัดภาคใต้
รหัสโครงการ 56-00549
วันที่อนุมัติ
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 กรกฎาคม 2556 - 31 กรกฎาคม 2557
งบประมาณ 213,000.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายสุทิน คงเอียด 082-8204966
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ สิบเอกประดิษฐ์ มูสิกะสงค์
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลเขาชัยสน
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 ก.ค. 2556 31 ส.ค. 2556 1 ก.ค. 2556 31 ส.ค. 2556 90,000.00
2 1 ก.ย. 2556 30 พ.ย. 2556 1 ก.ย. 2556 31 พ.ค. 2557 90,000.00
3 1 ธ.ค. 2556 31 ก.ค. 2557 33,000.00
รวมงบประมาณ 213,000.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้มีศูนย์เตือนภัยประจำหมู่บ้าน เฝ้าระวังเตือนภัยพิบัติและสมาชิก 30 คนอย่างน้อย 1 แห่งในหมู่บ้าน

เชิงปริมาณ

  1. มีอาสาสมัครเครือข่ายเฝ้าระวังเตือนภัยพิบัติพร้อมแจ้งเหตุและมีเครือข่ีายเฝ้าระวังเตือนภัยพิบัติจำนวน 30 คน
  2. มีหอสัญญาณเสียงเตือนภัย จำนวน 1 แห่ง
  3. มีข้อมูลภูมิปัญญาการป้องกันและเตือนภัยพิบัติ จำนวน 3 เรื่อง
  4. มีภาคีความร่วมมือสนับสนุนการทำงานเตือนภัยพิบัติ จำนวน 2 แห่ง
  5. มีสถานีแม่ข่ายในชุมชนเฝ้าระวังเตือนภัย จำนวน 1แห่ง
  6. มีสื่อป้ายบอกจุดเสี่ยงภัยพิบัติในตำบล จำนวน 3 แห่ง
2 เพื่อให้มีการฝึกอบรมสมาชิกให้มีความรู้ในการเตือนภัยพิบัติอย่างน้อย 30 คน

เชิงคุณภาพ

  1. จัดเฝ้าระวังเตือนภัยต้นน้ำ1 แห่ง อาสาสมัคร 3 คน
  2. ข้อมูลภูมิปัญญาป้องกันภัยพิบัติ
  3. สถานีวิทยุแม่ข่าย เฝ้าระวังเตือนภัยพิบัติจำนวน 1 แห่ง สื่อป้ายบอกจุดแจ้งเหตุภัยพิบัติ 1 จุด สมาชิกลูกข่าย 30 คน
3 เพื่อมีสถานีวิทยุแม่ข่ายวิทยุ ทีสามารถรับ-ส่งข่าว เหตุการณ์ภัยพิบัติให้กับสมาชิกและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้
  • มีศูนย์เตือนภัยพิบัติ ณ บริเวณบ่อน้ำร้อนเขาชัยสน
  • จัดให้มีแม่ข่ายในการรับแจ้งเหตุ และลูกข่ายเป็นสมาชิกในการแจ้งเหตุ 30 คน
  • มีสถานีวิทยุชุมชนเพื่อเตือนภัยพิบัติ fm 91.50 mhz.
4 เพื่อติดตามและประเมินผลการดำเนินงานโครงการ

 

stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
  1. สร้างความเข้าใจคณะทำงาน
  2. ศูนย์รับแจ้งเหตุเตือนภัยพิบัติ
  3. ให้ความรู้เรื่องภัยพิบัติ ทบทวนบทเรียนด้านความรู้และความพร้อมของสมาชิก
  4. สำรวจจุดเสี่ยงภัยพิบัติ
  5. จัดทำเครื่องหมายจุดเสี่ยงภัยพิบัติ
  6. ฝึกซ้อมการช่วยเหลือผู้บาดเจ็บจากภัยพิบัติ การจราจร
  7. จัดเวทีเผยแพร่กิจกรรมฟื้นฟูภัยพิบัติ
  8. สรุปบทเรียนปิดโครงการ
stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 14 ส.ค. 2556 13:03 น.