แบบบันทึกการติดตามสนับสนุนโครงการ ครั้งที่ 1

รหัสโครงการ 57-01411
สัญญาเลขที่ 57-00-1089

ชื่อโครงการ ศูนย์เรียนรู้ป่าต้นน้ำ บ้านผังปาล์ม 4,5
รหัสโครงการ 57-01411 สัญญาเลขที่ 57-00-1089
ระยะเวลาตามสัญญา 27 กุมภาพันธ์ 2015 - 15 กุมภาพันธ์ 2016

ส่วนที่ 1 : ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม

1.1 ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 1 นางนภาภรณ์ แก้วเหมือน
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 2
วันที่ลงพื้นที่ติดตาม 6 มิถุนายน 2015
วันที่ส่งรายงานถึง สสส. 8 กรกฎาคม 2015
1.2 ผู้ให้ข้อมูล
ลำดับชื่อ-สกุลผู้ให้ข้อมูลที่อยู่หมายเลขโทรศัพท์
1 นายรุ่งศักดิ์ จอสกุล รพ.สต.น้ำผุด อ.ละงู จ.สตุล 0849999394

ส่วนที่ 2 : ข้อมูลโครงการและความก้าวหน้าการดำเนินงาน

2.1 วัตถุประสงค์และตัวชี้วัดความสำเร็จโครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ตัวชี้วัดความสำเร็จ

1.

เพื่อบริหารจัดการและติดตามประเมินผลโครงการ

จำนวนครั้งที่เข้าร่วมกิจกรรมกับ สสส. และ สจ.รส.

2.

เพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ  นำไปสู่สุขภาวะที่สุขสมบูรณ์ของชุมชน

-จำนวนชาวบ้านในการมีส่วนร่วมทำกิจกรรมอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ อย่างน้อย 30 % ของประชากรทั้งหมดในชุมชน

-เกิดมาตรการในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติของชุมชน

-เกิดแผนชุมชนอย่างน้อย 1 ฉบับ

-ปริมาณต้นไม้ยืนต้นเพิ่มขึ้นกว่าเดิมจากภาพถ่ายเปรียบเทียบ

3.

เพื่อสร้างเยาวชนตาวิเศษในชุมชน

-เกิดเยาวชนตาวิเศษอย่างน้อยร้อยละ 10 ของเยาวชนในหมู่บ้าน

-ชุมชนเกิดแผนที่แหล่งเรียนรุ้ 1 ชุด

4.

เพื่อสร้างกลุ่มรักษ์ต้นไม้โดยผ่านสภาผู้นำชุมชน

-เกิดกลุ่มรักษ์ต้นไม้

-การประชุมสภาผู้นำเพื่อการขับเคลื่่อนกติกากลุ่ม 12 ครั้ง

2.2 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ
กลุ่มเป้าหมายงบประมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงปริมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพ/สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ
ที่ตั้งไว้(บาท)เกิดขึ้นจริง(บาท)จำนวนที่ตั้งไว้(คน)จำนวนเกิดขึ้นจริง(คน)

กิจกรรมหลัก : ปฐมนิเทศโครงการ และจัดทำป้ายเขตปลอดบุหรีi

2,500.00 2 ผลผลิต

ผู้เข้าร่วมประชุม 2 คน


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

สามารถปฏิบัติเข้าสู่หน้าเว๊ปไซต์เพื่อบันทึกกิจกรรมและรายงานผลการดำเนินกิจกรรม

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 2 ครั้ง

จำนวน 2 คน

1.นายสมพร  เกลี้ยงกลม

2.นางณัฐณิชา  ขำปราง

1,500.00 2,230.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เพื่อรับฟังการชี้แจงทำความเข้าใจในการดำเนินงานโครงการการเก็บหลักฐานเอกสารต่างๆ
ในดำเนินโครงการ รายละเอียดขั้นตอนกระบวนการ กิจกรรมปฏิบัติจริงการเข้าสู่หน้าเว๊ปไซต์
เพื่อบันทึกกิจกรรมและรายงานผลการดำเนินกิจกรรม

ประชาชนในชุมชน

1,000.00 1,000.00 230 230 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ประชาสัมพันธ์เพื่อรณรงค์ให้เลิกสูบบุหรี่และติดไว้ที่สถานที่ราชการได้แก่โรงเรียนผังปาล์ม 4 และศาลาเอนกประสงค์บ้านผังปาล์ม 4 ห้ามมีการสูบบุหรี่ในสถานที่ราชการ เพราะเป็นตัวอย่าง ที่ไม่ดีให้กับเยาวชนเห็นแล้วจะนำไปปฏิบัติตาม

กิจกรรมหลัก : ประชุมสภาผู้นำi

2,900.00 20 ผลผลิต

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 20 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

ผู้นำชุมชน 7 คน ทีมงาน13คน


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

มีการเสนอความคิดเห็นหลากหลาย และพึอพอใจต่อแผนการดำเนินงานของโครงการ

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

  1. วัยเรียน 20คน
  2. วัยรุ่น/เยาวชน30คน
  3. วัยทำงาน20คน
  4. ผู้สูงอายุ20คน
  5. ผู้นำชุมชน10คน
2,900.00 2,500.00 100 100 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จากการประชุมสภาหมู่บ้านได้สรุปผลการดำเนินงานที่ผ่านมา ดังนี้

  1. เยาวชนแกนนำตาวิเศษจำนวน 20คนเป็นเยาวชนในชุมชนเรียนที่โรงเรียนผังปาล์ม 4 และโรงเรียนปาล์มพัฒนาวิทย์
  2. ต้นไม้ยืนต้นที่ปลูกไปแล้วทั้งหมดจำนวน 112ต้น
  3. แหล่งเรียนรู้ชุมชน 1 แห่ง คือสระน้ำสมใจ
  4. แผนที่ชุมชน 2 แบบ คือแผนที่ทำมือและแผนที่ภาพถ่ายดาวเทียม
  5. ชาวชุมชนมีจิตสำนึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติมากขึ้นเพราะมีเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจริงในทุกปี คือการประสบภัยธรรมชาติ แห้งแล้งในฤดูแล้งและดินสไลด์ในฤดูฝน

กิจกรรมหลัก : กิจกรรมเปิดตัวโครงการi

3,000.00 100 ผลผลิต

จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 95 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

1.กลุ่มวัยเรียน 20 คน

2.กลุ่มวัยรุ่น/เยาวชน 35 คน

3.กลุ่มวัยทำงาน 20 คน

4.ผู้สูงอายุ 20 คน


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

ผู้เข้าร่วมประชุมทราบข้อมูลเกี่ยวกับโครงการความเป็นมาและรู้จักผู้รับผิดชอบโครงการ -ประกาศรายชื่อคณะทำงาน ที่ได้จากการคัดเลือกและการสมัครใจสมัคร จำนวน10คน ในการประชุมในครั้งนี้กลุ่มเป้าหมายให้ความสนใจในเรื่องทรัพยากรธรรมชาติในชุมชน และพร้อมที่จะให้ข้อมูลในการสำรวจณ์สถานการณ์ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาวะในชุมชน

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

1.กลุ่มวัยเรียน 20 คน

2.กลุ่มวัยรุ่น/เยาวชน 35 คน

3.กลุ่มวัยทำงาน 20 คน

4.ผู้สูงอายุ 20 คน

3,000.00 3,000.00 100 95 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้เข้าร่วมประชุมทราบข้อมูลเกี่ยวกับโครงการความเป็นมาและรู้จักผู้รับผิดชอบโครงการ -ประกาศรายชื่อคณะทำงาน ที่ได้จากการคัดเลือกและการสมัครใจสมัคร จำนวน10คน
ในการประชุมในครั้งนี้กลุ่มเป้าหมายให้ความสนใจในเรื่องทรัพยากรธรรมชาติในชุมชน และพร้อมที่จะให้ข้อมูลในการสำรวจณ์สถานการณ์ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาวะในชุมชน

กิจกรรมหลัก : กิจกรรมสำรวจสถานการณ์ทรัพยากรธรรมชาติi

10,000.00 100 ผลผลิต

ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 100 คน ได้แก่ กลุ่มวัยเรียน 20 คน กลุ่มวัยรุ่น/เยาวขน40 คน กลุ่มวัยทำงาน20คน กลุ่มผู้สูงอายุ20คน


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

ได้ข้อมูลดังนี้ ชาวบ้านที่มีความเดือดร้อนจำนวน 100ครัวเรือน ที่ดินที่ไม่มีเอกสารสิทธิ์จำนวน 150แปลงแต่ยังไม่ได้คุยถึงทรัพยากรที่เป็นของส่วนรวม

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

กลุ่มวัยเรียน  20  คน กลุ่มวัยรุ่น/เยาวชน 40  คน กลุ่มวัยทำงาน  20  คน กลุ่มผู้สูงอายุ  20  คน

10,000.00 5,000.00 100 100 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลการสำรวจทรัพยากรธรรมชาติใชชุมชน  โดยกรอกแบบสอบถาม จากชาวชุมชนในวันที่ 1  ได้ข้อมูลดังนี้

-ชาวบ้านที่มีความเดือดร้อนจำนวน 110  ครัวเรือน

-ที่ดินที่ไม่มีเอกสารสิทธิ์  จำนวน 120  แปลง

กิจกรรมหลัก : จัดเวทีชุมชน นำเสนอสถานการณ์ทรัพยากรธรรมชาติi

10,600.00 100 ผลผลิต

ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 100 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

1.กลุ่มวัยเรียน20คน

2.กลุ่มวัยรุ่น/เยาวชน 30คน

3.กลุ่มวัยทำงาน20คน

4.ผู้สูงอายุ30คน


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

ชาวชุมชนทราบแนวเขตแดนระหว่างเขตนิคมสร้างตนเองกับเขตรักษาพันธ์ุ หลังจากที่ได้สำรวจข้อมูลผู้ได้รับความเดือดร้อนเรื่องที่ดินทำกินและที่อยู่อาศัย ก็ได้สรุปผลดังนี้ -ครัวเรือนที่มาขึ้นทะเบียนแบบสำรวจผู้ได้รับความเดือดร้อนเรื่องที่ดินทำกินและที่อยู่อาศัย ทั้งหมดจำนวน210 ครัวเรือน หรือจำนวน 270 แปลง-แผนที่ทำมือแหล่งน้ำสาธารณะของชุมชนบ้านผังปาล์ม 4,5 มีจำนวน 4 แหล่ง ดังนี้ 1.ฝายชะลอน้ำแหล่งน้ำชาวชุมชนบ้านผังปาล์ม 4,5 ตก ใช้การได้ 2.สระน้ำสัญชัย 3.สระห้วยแขก แหล่งน้ำชาวชุมชนบ้านผังปาล์ม 5 ออกใช้การไม่ได้รอการขุดลอก 4.สระน้ำสมใจ

เกิดมาตรการชุมชนบ้านผังปาล์ม 4,5ดังนี้ พวกเราชาวชุมชนจะดูแลทรัพยากรทางธรรมชาติ ขุดลอกแหล่งน้ำสาธารณะและจะปลูกต้นไม้เพิ่มจัดการแข่งขันกีฬาเป็นประจำทุกปี

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

1.กลุ่มวัยเรียน  20  คน

2.กลุ่มวัยรุ่น/เยาวชน 30  คน

3.กลุ่มวัยทำงาน  20  คน

4.ผู้สูงอายุ  30  คน

10,600.00 10,600.00 100 100 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ชาวชุมชนทราบแนวเขตแดนระหว่างเขตนิคมสร้างตนเองกับเขตรักษาพันธ์ุ เพื่อลดการบุกรุกทำลายพื้นที่ป่าต่อไป

หลังจากที่ได้สำรวจข้อมูลผู้ได้รับความเดือดร้อนเรื่องที่ดินทำกินและที่อยู่อาศัย
ก็ได้สรุปผลดังนี้ -ครัวเรือนที่มาขึ้นทะเบียนแบบสำรวจผู้ได้รับความเดือดร้อนเรื่องที่ดินทำกินและที่อยู่อาศัย ทั้งหมดจำนวน210 ครัวเรือน หรือจำนวน 270 แปลง

-แผนที่ทำมือแหล่งน้ำสาธารณะของชุมชนบ้านผังปาล์ม 4,5 มีจำนวน 4 แหล่ง ดังนี้ 1.ฝายชะลอน้ำแหล่งน้ำชาวชุมชนบ้านผังปาล์ม 4,5 ตก ใช้การได้ 2.สระน้ำสัญชัย 3.สระห้วยแขก แหล่งน้ำชาวชุมชนบ้านผังปาล์ม 5 ออกใช้การไม่ได้รอการขุดลอก 4.สระน้ำสมใจ

-ได้มาตรการชุมชนบ้านผังปาล์ม 4,5ดังนี้ พวกเราชาวชุมชนจะดูแลทรัพยากรทางธรรมชาติ ขุดลอกแหล่งน้ำสาธารณะและจะปลูกต้นไม้เพิ่มจัดการแข่งขันกีฬาเป็นประจำทุกปี

กิจกรรมหลัก : ทีมเยาวชนแกนนำตาวิเศษi

4,800.00 50 ผลผลิต

ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 50 คน

รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม

1.สภาผู้นำชุมชน10คน 2.เยาวชน20คน 3.ชาวบ้าน20คน


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

เยาวชนตาวิเศษ

-นำข้อมูลที่ได้จากการสำรวจแหล่งนำ้สาธารณะในชุมชนมาทำแผนที่แหล่งน้ำธรรมชาติในชุมชน โดยการจัดทำแผนที่จำนวน 2 ชุด1.แผนที่จากภาพถ่ายดาวเทียม 2.แผนที่ทำมือ

-เยาวชนมีความสัมพันธ์ความรักความสามัคคีภายในกลุ่ม

-และมีความรู้เชิงนิเวศ

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

  1. แกนนำ  20  คน 2.เยาวชน  20  คน
4,800.00 4,800.00 40 40 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-สมาชิกกลุ่มรักษ์ต้นไม้  จำนวน 30 คน เข้าร่วมกิจกรรมร้อยละ 80 ในกิจกรรมปลูกต้นไม้

2.3.1 นวัตกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ

(นวัตกรรมคือ การจัดการความคิด กระบวนการ ผลผลิต และ/หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสม มาใช้งานให้เกิดประสิทธิผล และ/หรือประสิทธิภาพมากกว่าเดิมอย่างชัดเจน)

ชื่อนวัตกรรมคุณลักษณะ/วิธีการทำให้เกิดนวัตกรรมผลของนวัตกรรม/การนำไปใช้ประโยชน์
2.3.2 โครงการเด่น (Best Practice)

(โครงการเดิ่น คือ โครงการสร้างเสริมสุขภาพให้สัมฤทธิ์ผลที่เป็นรูปธรรมแล้วขยายผลอย่างยั่งยืน โดยแนวคิดกระบวนการ และผลงาน สามารถเป็นตัวอย่างที่จะนำไปขยายผลในชุมชน (Setting) อื่น ๆ ได้ การดำเนินงานมีส่วนร่วมของภาคีที่หลากหลาย มีการบริหารจัดการที่ดี โปร่งใสและตรวจสอบได้)

ชื่อ Best Practiceวิธีการทำให้เกิด Best Practiceผลของ Best Practice / การนำไปใช้ประโยชน์
2.3.3 เกิดแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านการสร้างเสริมสุขภาพในประเด็นต่าง ๆ
ชื่อ-สกุลที่อยู่ติดต่อได้สะดวกคุณสมบัติแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลง
2.3.4 มีสภาพแวดล้อมและปัจจัยทางสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพ

เกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพในชุมชนพื้นที่โครงการดังนี้

สถานที่/พื้นที่ ที่เปลี่ยนแปลงรายละเอียดการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น

ส่วนที่ 3 : ปัญหาและอุปสรรคสำคัญที่มีผลกระทบต่อการดำเนินงาน

3.1 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเด็นปัญหา/อุปสรรคการแก้ไขของผู้รับทุนข้อเสนอแนะ/การแก้ไขปัญหาและการเสริมพลังของผู้ติดตาม
3.2 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเภทความเสี่ยง / ปัจจัยเสี่ยงระดับความเสี่ยง
(จากมากไปหาน้อย)
ข้อมูล ข้อสังเกตุ และข้อคิดเห็นของผู้ติดตาม
3210
1. ความเสี่ยงด้านการดำเนินงาน (Operational Risks)
1.1 โครงสร้างการดำเนินงาน

ผุ้ใหญ่บ้านเป็นผู้นำที่ดีมาก ทำให้แกนนำเข้าร่วมทุกคน

1.2 ศักยภาพและทักษะการดำเนินงาน

ต้องกระตุ้นแกนนำในโครงการเพื่อให้แบ่งหน้าที่กันชัดเจน

1.3 ผลลัพธ์และผลสำเร็จของการดำเนินงาน

ทำได้ดี

2. ความเสี่ยงทางการเงิน (Financial Risks)
2.1 ระบบและกลไกการบริหารจัดการ

 

2.2 การใช้จ่ายเงิน

การใช้จ่ายเงินต้องช่วยดุแลในเบื้องต้น

2.3 หลักฐานการเงิน

การทำเอกสารยังไม่เรียบร้อยต้องให้คำแนะนำ

ผลรวม 0 0 0 0
ผลรวมทั้งหมด 0 ระดับความเสี่ยง : ???
เกณฑ์วัดระดับความเสี่ยง ???
สรุปการแก้ไขความเสี่ยง แก้ไขแล้ว ยังไม่ได้แก้ไข

ส่วนที่ 4 : สรุปความเห็นของผู้ติดตาม

ส่วนที่ 4สรุปความเห็นของผู้ติดตาม
4.1 กรณีเบิกเงินงวด/ติดตามเยี่ยมชม มีแนวโน้มสำเร็จตามเป้าหมายโครงการและติดตามปกติ
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

แกนนำเข้มแข็ง น่าจะดำเนินโครการได้ดี

มีแนวโน้มเสี่ยง ต้องติดตามอย่างใกล้ชิด เนื่องจาก
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีความเสี่ยง ต้องยุติโครงการ เนื่องจาก
4.2 กรณีสรุปปิดโครงการ ดำเนินงานได้ตามแผนปฏิบัติการและสามารถปิดโครงการได้
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ไม่เป็นไปตามแผนปฏิบัติการ ให้ดำเนินการจัดระบบการเงิน ระบบรายงานให้ถูกต้องก่อนปิดโครงการ
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ส่วนที่ 5 : สรุปภาพรวมของการติดตามประจำงวด (ข้อสังเกต/สิ่งดีๆ ที่ค้นพบ/ข้อพึงระวัง/บทเรียนที่ได้)

การมีส่วนร่วมมีความสำคัญมากเพื่อให้ชาวบ้านเกิดความรู้สึกเป็นเจ้าของ

สร้างรายงานโดย Yuttipong Kaewtong