แบบบันทึกการติดตามสนับสนุนโครงการ ครั้งที่ 2

รหัสโครงการ 57-01411
สัญญาเลขที่ 57-00-1089

ชื่อโครงการ ศูนย์เรียนรู้ป่าต้นน้ำ บ้านผังปาล์ม 4,5
รหัสโครงการ 57-01411 สัญญาเลขที่ 57-00-1089
ระยะเวลาตามสัญญา 27 กุมภาพันธ์ 2015 - 15 กุมภาพันธ์ 2016

ส่วนที่ 1 : ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม

1.1 ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 1 นางนภาภรณ์ แก้วเหมือน
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 2 -
วันที่ลงพื้นที่ติดตาม 22 กันยายน 2015
วันที่ส่งรายงานถึง สสส. 17 กุมภาพันธ์ 2016
1.2 ผู้ให้ข้อมูล
ลำดับชื่อ-สกุลผู้ให้ข้อมูลที่อยู่หมายเลขโทรศัพท์
1 นางณัฐณิชา ขำปราง หมู่ที่ 3 บ้านผังปาล์ม 4,5 ตำบลปาล์มพัฒนา อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล 0630618737
2 นางมนัสนันท์ โสกมล หมู่ที่ 3 บ้านผังปาล์ม 4,5 ตำบลปาล์มพัฒนา อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล 0630860527

ส่วนที่ 2 : ข้อมูลโครงการและความก้าวหน้าการดำเนินงาน

2.1 วัตถุประสงค์และตัวชี้วัดความสำเร็จโครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ตัวชี้วัดความสำเร็จ

1.

เพื่อบริหารจัดการและติดตามประเมินผลโครงการ

จำนวนครั้งที่เข้าร่วมกิจกรรมกับ สสส. และ สจ.รส.

2.

เพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ  นำไปสู่สุขภาวะที่สุขสมบูรณ์ของชุมชน

-จำนวนชาวบ้านในการมีส่วนร่วมทำกิจกรรมอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ อย่างน้อย 30 % ของประชากรทั้งหมดในชุมชน

-เกิดมาตรการในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติของชุมชน

-เกิดแผนชุมชนอย่างน้อย 1 ฉบับ

-ปริมาณต้นไม้ยืนต้นเพิ่มขึ้นกว่าเดิมจากภาพถ่ายเปรียบเทียบ

3.

เพื่อสร้างเยาวชนตาวิเศษในชุมชน

-เกิดเยาวชนตาวิเศษอย่างน้อยร้อยละ 10 ของเยาวชนในหมู่บ้าน

-ชุมชนเกิดแผนที่แหล่งเรียนรุ้ 1 ชุด

4.

เพื่อสร้างกลุ่มรักษ์ต้นไม้โดยผ่านสภาผู้นำชุมชน

-เกิดกลุ่มรักษ์ต้นไม้

-การประชุมสภาผู้นำเพื่อการขับเคลื่่อนกติกากลุ่ม 12 ครั้ง

2.2 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ
กลุ่มเป้าหมายงบประมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงปริมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพ/สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ
ที่ตั้งไว้(บาท)เกิดขึ้นจริง(บาท)จำนวนที่ตั้งไว้(คน)จำนวนเกิดขึ้นจริง(คน)

กิจกรรมหลัก : หนุนเสริมการทำงานในพื้นที่i

8,500.00 0 ผลผลิต

1.แกนนำ 2 คนสามารถเข้าร่วมประชุมได้ทุกครั้งที่ สจรส.มอ.หรือพี่เลี้ยงนัด

  1. แกนนำสามารถทำกิจกรรมและรายงานปิดโครงการได้ถูกต้องตามเวลา

ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

แกนนำมีความพึงพอใจและรู้สึกภาคภุมิใจในการทำกิจกรรมครั้งนี้ เห็นได้จากพูดคุยถอดบทเรียน หนึ่งในแกนนำพุดว่า ภาคภูมิใจที่ได้นำกิจกรรมดีๆมาสู่หมุ่บ้านเรา

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 6 ครั้ง

1.นางณัฐณิชา  ขำปราง

1,500.00 800.00 2 1 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

แนวทางการรายงาน  ผลการดำเนินงาน  การเงิน  และการทำบัญชี

นายสมพร  เกลี้ยงกลม นางณัฐณิชา  ขำปราง

500.00 500.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

มีความรู้ความเข้าในกาารลงปฏิทินและรายงานทางหน้าเวป

1.กลุ่มวัยเรียน20 คน 2.กลุ่มวัยรุ่น/เยาวชน20คน 3.กลุ่มวัยทำงาน30คน 4.ผู้สูงอายุ20คน 5.แกนนำ 10 คน

0.00 0.00 100 100 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.สรุปผลการจัดกิจกรรมครั้งที่แล้วที่ปลูกต้นไม้ยืนต้น ที่ปลูกครั้งที่ 2 คือ ริมถนนสายปาล์ม 5 ออก - คลองไทรมีจำนวนที่ปลูกต้นไม้ยืนต้น 92 ต้น จำนวนที่ปลูกต้นไม้ยืนต้นทดแทนต้นที่ตาย 5 ต้น ในครั้งที่ 1 สถานที่ปลูกครั้งต่อไป คือ สระนำ้ผู้ช่วยสมใจ

2.ในการเสนอสถานที่ปลูกต้นไม้ยืนต้น ชาวบ้านให้ความสนใจและให้ความร่วมมือเนื่องจากว่าชาวบ้านมีปัญหาเรื่องสระน้ำห้วยแขกชาวบ้านปาล์ม ๕ออกชาวบ้านผังปาล์ม ๕ ออก จำนวน๑๘ครัวเรือน ชาวบ้านได้รับความเดือดร้อนเนื่องจากผู้รับเหมาทำถนนลาดยางสายปาล์ม ๕ (ออก) – คลองไทรช่วงที่ฝนตกน้ำฝนได้พัดพาตะกอนดินลงในสระน้ำทำให้สระน้ำเกิดการตื้นเขินเครื่องสูบน้ำไม่สามารถสูบน้ำจากสระน้ำได้เพราะมีดินตะกอนจำนวนมากที่สระส่งผลให้เครื่องสูบน้ำเสียหายชาวบ้านขาดน้ำใช้ในครัวเรือนและได้ทำหนังสือเพื่อขอความช่วยเหลือจากองค์การบริหารส่วนตำบลปาล์มพัฒนาไปแล้วหลายเดือนชาวบ้านก็ได้แต่นั่งรอว่าเมื่อไหร่หน่วยงานจะเข้ามาช่วยเหลือ และพี่เลี้ยงจาก สสส. ก็ได้ร่วมแสดงความคิดเห็นเพื่อหาทางออกให้กับชาวบ้านชาวบ้านก็รู้สึกดีว่าอย่างน้อยก็มีคนรับฟังปัญหาของชาวบ้าน 3.เกิดการมีส่วนร่วมของชาวบ้านในการแสดงความคิดเห็น

นางณัฐณิชา ขำปราง

2,000.00 1,580.00 2 1 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จากการตรวจสอบความถูกต้องของเอกสารการเงินพบว่าต้องมีการแก้ไขและต้องใส่รายเอียดกิจกรรมที่หน้าเว๊ปไซต์ให้ชัดเจนและการเตรียมเอกสารการขอปิดงวด 1

นายสมพร เกลี้ยงกลม

นางณัฐณิชาขำปราง

500.00 500.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

นางนภาภรณ์แก้วเหมือน พี่เลี้ยงโครงการได้ให้คำแนะนำพูดคุยเรื่องเอกสารการเงินการรายงานหน้าเว๊ปไซต์และรอปิดงวดที่ 3โดยได้นัดแนะให้ไปที่สจรส.มอ. หาดใหญ่ในวันที่11 กุมภาพันธ์2559

ผู้ดำเนินโครงการมีความเข้าใจในเรื่องเอกสารมากขึ้นและขอบคุณพี่เลี้ยงที่ให้คำแนะนำในด้านต่าง ๆเพื่อนำข้อคิดดีมาพัฒนาชุมชน

คณะทำงาน 

4,000.00 2,080.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ตรวจเอกสารทางการเงิน และผลดำเนินโครงการ แะคืนเงินเปิดบัญชี 500 บาท

กิจกรรมหลัก : การล้างอัดขยายภาพi

1,000.00 0 ผลผลิต
  1. สามารถทำกิจกรรมได้ลุล่วง

  2. เอกสารการเงินเรียบร้อย

  3. รายงานเสร็จสมบูรณ์


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

ภาพชัดเจน และมีการติดประชาสัมพันธ์ในหมู่บ้าน และที่ว่าการอำเภอ

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

ชาวบ้านในชุมชนและผู้สนใจภาพถ่ายกิจกรรม

1,000.00 1,000.00 230 230 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ได้ล้างรูปภาพถ่ายการจัดกิจกรรมซึ่งเก็บไว้ในชุมชนเพื่อให้ชาวบ้านได้ดู

กิจกรรมหลัก : ประชุมสภาผู้นำi

2,900.00 20 ผลผลิต
  1. มีการประชุมแกนนำก่อนประชุมชาวบ้าน ทุกครั้งคิดเป็นร้อยละ 100

  2. มีการประชุมสภาผู้นำโดยแจ้งให้กับชาวบ้านทราบ จำนวน 6 ครั้ง 1-2 เดือนต่อครั้ง (เม.ย.2558 - พ.ค.2559)คิดเป็นร้อยละ 50

  3. จำนวนแกนนำสภาเข้าร่วมมากกว่า ร้อยละ 80 (16-20 คน)

4.ประชาชนเข้าร่วมประชุมตามเป้า 100 คน


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

การดำเนินโครงกาเกิดการขับเคลื่อนงานในชุมชนทำให้ประชาชนได้มาพูดคุยกันและเกิดแกนนำโดยธรรมชาติซึ่งสามารถหนุนเสริมแกนนำชุมชนตามโครงสร้างเดิมคือผู้ใหญ่บ้านและผุู้ช่วยผุ้ใหญ่บ้านได้ดี

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

  1. วัยเรียน 20คน
  2. วัยรุ่น/เยาวชน30คน
  3. วัยทำงาน20คน
  4. ผู้สูงอายุ20คน
  5. ผู้นำชุมชน10คน
2,900.00 2,500.00 100 100 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จากการประชุมสภาหมู่บ้านได้สรุปผลการดำเนินงานที่ผ่านมา ดังนี้

  1. เยาวชนแกนนำตาวิเศษจำนวน 20คนเป็นเยาวชนในชุมชนเรียนที่โรงเรียนผังปาล์ม 4 และโรงเรียนปาล์มพัฒนาวิทย์
  2. ต้นไม้ยืนต้นที่ปลูกไปแล้วทั้งหมดจำนวน 112ต้น
  3. แหล่งเรียนรู้ชุมชน 1 แห่ง คือสระน้ำสมใจ
  4. แผนที่ชุมชน 2 แบบ คือแผนที่ทำมือและแผนที่ภาพถ่ายดาวเทียม
  5. ชาวชุมชนมีจิตสำนึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติมากขึ้นเพราะมีเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจริงในทุกปี คือการประสบภัยธรรมชาติ แห้งแล้งในฤดูแล้งและดินสไลด์ในฤดูฝน

กิจกรรมหลัก : ปลุกไม้ยืนต้น 6 ครั้งi

23,500.00 130 ผลผลิต

1 จำนวนชาวบ้านให้ความร่วมมือดี มากกว่า 130 คน 2.เกิดพื้นที่สาธารณะในหมู่บ้าน และพื้นที่สี่เขียวข้างถนนเข้าหมู่บ้าน


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

ชาวบ้านจะเรียนพื้นที่ซึ่งเกิดขึั้นใหม่ว่า "กล้วยกำนัน"ชาวบ้านให้ความร่วมมือดีเห็นได้จากมีการเข้าร่วมประชุมทุกครั้งมากว่า 100 คนและมีการประชุมหมู่บ้านทุก 1 เดือน

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 6 ครั้ง

1.วัยเรียน  40  คน 2.วัยรุ่น/เยาวชน 30  คน 3.วัยทำงาน 30  คน 4.ผู้สูงอายุ 30  คน

7,250.00 7,250.00 130 130 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ชาวชุมชนได้ช่วยกันทำกิจกรรมดังนี้

-ขุดลอกแหล่งนำ้ รื้อตะกอนที่มาทับถมที่ตรงจุดปล่อยนำ้เพื่อเตรียมกักเก็บนำ้ใช้ ลดการตื้นเขินของเขื่อนการไหลของนำ้ก็ดี

-ปลูกไม้ยืนต้นจำนวน20 ต้นเพื่อรักษาความสมบูรณ์ทางธรรมชาติและระบบนิเวศน์

1.กลุ่มวัยเรียน  40  คน 2.กลุ่มวัยรุ่น/เยาวชน  30  คน 3.กลุ่มวัยทำงาน  30  คน 4.ผู้สูงอายุ  30 คน

3,250.00 3,250.00 130 130 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-การจัดกิจกรรมปลูกต้นไม้ในวันนี้  ได้ปักไม้ม็อบ  เพื่อผูกยึดลำต้น  ต้นไม้ไม่ให้ล้ม  โดยปลูกต้นซากุระเมืองไทย  จำนวน  92  ต้น  บริเวณที่ปลูกเป็นดินและหินขุดหลุมค่อยข้างลำบากต้องใช้แชรงในการขุด  รองพื้นด้วยดินอินทรีย์หรือดินมายา

-การจัดกิจกรรมในครั้งนี้เยาวชนให้ความสนใจและเป็นการปลูกจิตสำนักให้อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติให้คงอยู่

  1. วัยเรียน 40 คน
  2. วัยรุ่น/เยาวชน 30 คน
  3. วัยทำงาน 30 คน
  4. ผู้สูงอายุ 30 คน
3,250.00 3,250.00 130 130 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-การจัดกิจกรรมในวันนี้ได้ช่วยกันปักม็อบใส่ปุ๋ยชีวภาพ ( มูลสุกร) รองพื้นหลุมก่อนปลูกต้นมะพร้าวน้ำหอม จำนวน 30 ต้น และปลูกต้นกล้วย30ต้น สลับไปมาระหว่างต้นมะพร้าว เพื่อเป็นการใช้พื้นที่ที่เกิดประโยชน์

-การจัดกิจกรรมในครั้งนี้เยาวชนและชาวบ้านให้ความสนใจและเป็นการปลูกจิตสำนึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติให้คงอยู่ อีกทั้งยังเป็นส่วนหนึ่งในการสร้างรายได้กับชาวชุมชนเพื่อการพัฒนาต่อไปเมื่อได้รับผลผลิตจากมะพร้าวนำ้หอมและกล้วยเยาวชนยังได้รับความรู้ มีความเข้าใจในวิธีการปลูกต้นมะพร้าว

1.วัยเรียน  40  คน 2.วัยรุ่น/เยาวชน  30  คน 3.วัยทำงาน  30  คน 4.ผู้สูงอายุ  30  คน

3,250.00 3,250.00 130 130 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-การจัดกิจกรรมในวันนี้ได้ช่วยกันปักม็อบปลูกต้นซากุระเมืองไทย จำนวน 30 ต้น และต้นมะม่วงหิมพานจำนวน10ต้น

-การจัดกิจกรรมในครั้งนี้เยาวชนและชาวบ้านให้ความสนใจและเป็นการปลูกจิตสำนึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติให้คงอยู่ อีกทั้งสร้างความรักความสามัคคีภายในชุมชน

  1. วัยเรียน 40คน
  2. วัยรุ่น/เยาวชน 30คน
  3. วัยทำงาน30คน
  4. ผู้สูงอายุ30คน
3,250.00 3,250.00 130 130 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-การจัดกิจกรรมในวันนี้ได้ช่วยกันปักม็อบปลูกไม้พยูง  ตะเคียน จำนวน 10 ต้น

-การจัดกิจกรรมในครั้งนี้เยาวชนและชาวบ้านให้ความสนใจและเป็นการปลูกจิตสำนึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติให้คงอยู่ อีกทั้งสร้างความรักความสามัคคีภายในชุมชน

  • วัยเรียน40คน
  • วัยรุ่น/เยาวชน30 คน
  • วัยทำงาน30คน
  • ผู้สูงอายุ30คน
3,250.00 3,250.00 130 130 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-การจัดกิจกรรมในวันนี้ได้ช่วยกันปักม็อบ โดยปลูกต้นปลูกไม้พะยูงจำนวน 10 ต้น และต้นตะเคียน จำนวน10ต้น

-การจัดกิจกรรมในครั้งนี้เยาวชนและชาวบ้านให้ความสนใจและเป็นการปลูกจิตสำนึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติให้คงอยู่ อีกทั้งสร้างความรักความสามัคคีภายในชุมชน

2.3.1 นวัตกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ

(นวัตกรรมคือ การจัดการความคิด กระบวนการ ผลผลิต และ/หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสม มาใช้งานให้เกิดประสิทธิผล และ/หรือประสิทธิภาพมากกว่าเดิมอย่างชัดเจน)

ชื่อนวัตกรรมคุณลักษณะ/วิธีการทำให้เกิดนวัตกรรมผลของนวัตกรรม/การนำไปใช้ประโยชน์
2.3.2 โครงการเด่น (Best Practice)

(โครงการเดิ่น คือ โครงการสร้างเสริมสุขภาพให้สัมฤทธิ์ผลที่เป็นรูปธรรมแล้วขยายผลอย่างยั่งยืน โดยแนวคิดกระบวนการ และผลงาน สามารถเป็นตัวอย่างที่จะนำไปขยายผลในชุมชน (Setting) อื่น ๆ ได้ การดำเนินงานมีส่วนร่วมของภาคีที่หลากหลาย มีการบริหารจัดการที่ดี โปร่งใสและตรวจสอบได้)

ชื่อ Best Practiceวิธีการทำให้เกิด Best Practiceผลของ Best Practice / การนำไปใช้ประโยชน์
2.3.3 เกิดแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านการสร้างเสริมสุขภาพในประเด็นต่าง ๆ
ชื่อ-สกุลที่อยู่ติดต่อได้สะดวกคุณสมบัติแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลง
2.3.4 มีสภาพแวดล้อมและปัจจัยทางสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพ

เกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพในชุมชนพื้นที่โครงการดังนี้

สถานที่/พื้นที่ ที่เปลี่ยนแปลงรายละเอียดการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น

พื้นที่กล้วยกำนัน สองข้างทางถนนเข้าหมู่บ้านตลอดสาย

มีต้นไม้นานาชนิด เช่น ต้นกล้วย พบมากที่สุด จากการทำกิจกรรมของชุมชนในโครงการมีการปลูกต้นไม่และดูแลทุก 1-2 เดือนทำให้ได้ต้นไม้เห็นชัดเจนในพื้นที่ถนนทางเข้าหมู่บ้าน

ส่วนที่ 3 : ปัญหาและอุปสรรคสำคัญที่มีผลกระทบต่อการดำเนินงาน

3.1 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเด็นปัญหา/อุปสรรคการแก้ไขของผู้รับทุนข้อเสนอแนะ/การแก้ไขปัญหาและการเสริมพลังของผู้ติดตาม
3.2 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเภทความเสี่ยง / ปัจจัยเสี่ยงระดับความเสี่ยง
(จากมากไปหาน้อย)
ข้อมูล ข้อสังเกตุ และข้อคิดเห็นของผู้ติดตาม
3210
1. ความเสี่ยงด้านการดำเนินงาน (Operational Risks)
1.1 โครงสร้างการดำเนินงาน

มีการมอบหมายงานชัดเจนและผู้ใหญ่บ้านเป็นแกนนำในการทำกิจกรรม

1.2 ศักยภาพและทักษะการดำเนินงาน

มีการวางแผนการทำกิจกรรมและประชุมหมู่บ้านตามแผน 1-2 เดือน/คร้ังนำวาระของโครงการเข้าที่ประชุมทุกครั้ง

1.3 ผลลัพธ์และผลสำเร็จของการดำเนินงาน

ได้ตามตัวชี้วัด

2. ความเสี่ยงทางการเงิน (Financial Risks)
2.1 ระบบและกลไกการบริหารจัดการ

มีความล่าช้าในการดำเนินงานบ้าง ต้องคอยกระตุ้นติดตามอย่างต่อเนื่อง

2.2 การใช้จ่ายเงิน

มีการบันทึกการใช้จ่ายเงิน

2.3 หลักฐานการเงิน

หลักฐานไม่เรียบร้อย ไม่ครบถ้วนต้องแนะนำเพิ่มเติม

ผลรวม 0 0 2 0
ผลรวมทั้งหมด 2 ระดับความเสี่ยง : ???
เกณฑ์วัดระดับความเสี่ยง ???
สรุปการแก้ไขความเสี่ยง แก้ไขแล้ว ยังไม่ได้แก้ไข

ส่วนที่ 4 : สรุปความเห็นของผู้ติดตาม

ส่วนที่ 4สรุปความเห็นของผู้ติดตาม
4.1 กรณีเบิกเงินงวด/ติดตามเยี่ยมชม มีแนวโน้มสำเร็จตามเป้าหมายโครงการและติดตามปกติ
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

แกนนำในชุมชุมมีการประชุมทีม มีการนำปัญหาของหมู่บ้านเข้ามาพูดคุยในที่ประชุม ก่อนหน้าจะมีโครงการเข้ามาหมู่บ้านมีการประชุมปีละ 1-2 ครั้ง เมื่อได้รับโครงการเป็นสิ่งกระตุ้นให้เกิดการประชุมหมู่บ้านเพิ่มมากขึ้น และประชาชนให้ความร่วมมือดี

มีแนวโน้มเสี่ยง ต้องติดตามอย่างใกล้ชิด เนื่องจาก
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีความเสี่ยง ต้องยุติโครงการ เนื่องจาก
4.2 กรณีสรุปปิดโครงการ ดำเนินงานได้ตามแผนปฏิบัติการและสามารถปิดโครงการได้
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ไม่เป็นไปตามแผนปฏิบัติการ ให้ดำเนินการจัดระบบการเงิน ระบบรายงานให้ถูกต้องก่อนปิดโครงการ
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ส่วนที่ 5 : สรุปภาพรวมของการติดตามประจำงวด (ข้อสังเกต/สิ่งดีๆ ที่ค้นพบ/ข้อพึงระวัง/บทเรียนที่ได้)

ประชาชนให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมของหมู่บ้านเป็นส่วนที่ช่วยหนุนเสริมการทำงานในชุมชน และเป็นส่วนที่สำค้ญในการช่วยตรวจสอบความโปร่งใสในการทำกิจกรรมในโครงการ

สร้างรายงานโดย Yuttipong Kaewtong