แบบบันทึกการติดตามสนับสนุนโครงการ ครั้งที่ 3

รหัสโครงการ 57-01411
สัญญาเลขที่ 57-00-1089

ชื่อโครงการ ศูนย์เรียนรู้ป่าต้นน้ำ บ้านผังปาล์ม 4,5
รหัสโครงการ 57-01411 สัญญาเลขที่ 57-00-1089
ระยะเวลาตามสัญญา 27 กุมภาพันธ์ 2015 - 15 กุมภาพันธ์ 2016

ส่วนที่ 1 : ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม

1.1 ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 1 นางนภาภรณ์ แก้วเหมือน
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 2 -
วันที่ลงพื้นที่ติดตาม 8 กุมภาพันธ์ 2016
วันที่ส่งรายงานถึง สสส. 1 มีนาคม 2016
1.2 ผู้ให้ข้อมูล
ลำดับชื่อ-สกุลผู้ให้ข้อมูลที่อยู่หมายเลขโทรศัพท์
1 นางณัฐณิชา ขำปราง หมู่ที่ 3 บ้านผังปาล์ม 4,5 ตำบลปาล์มพัฒนา อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล 0807001108

ส่วนที่ 2 : ข้อมูลโครงการและความก้าวหน้าการดำเนินงาน

2.1 วัตถุประสงค์และตัวชี้วัดความสำเร็จโครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ตัวชี้วัดความสำเร็จ

1.

เพื่อบริหารจัดการและติดตามประเมินผลโครงการ

จำนวนครั้งที่เข้าร่วมกิจกรรมกับ สสส. และ สจ.รส.

2.

เพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ  นำไปสู่สุขภาวะที่สุขสมบูรณ์ของชุมชน

-จำนวนชาวบ้านในการมีส่วนร่วมทำกิจกรรมอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ อย่างน้อย 30 % ของประชากรทั้งหมดในชุมชน

-เกิดมาตรการในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติของชุมชน

-เกิดแผนชุมชนอย่างน้อย 1 ฉบับ

-ปริมาณต้นไม้ยืนต้นเพิ่มขึ้นกว่าเดิมจากภาพถ่ายเปรียบเทียบ

3.

เพื่อสร้างเยาวชนตาวิเศษในชุมชน

-เกิดเยาวชนตาวิเศษอย่างน้อยร้อยละ 10 ของเยาวชนในหมู่บ้าน

-ชุมชนเกิดแผนที่แหล่งเรียนรุ้ 1 ชุด

4.

เพื่อสร้างกลุ่มรักษ์ต้นไม้โดยผ่านสภาผู้นำชุมชน

-เกิดกลุ่มรักษ์ต้นไม้

-การประชุมสภาผู้นำเพื่อการขับเคลื่่อนกติกากลุ่ม 12 ครั้ง

2.2 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ
กลุ่มเป้าหมายงบประมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงปริมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพ/สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ
ที่ตั้งไว้(บาท)เกิดขึ้นจริง(บาท)จำนวนที่ตั้งไว้(คน)จำนวนเกิดขึ้นจริง(คน)

กิจกรรมหลัก : กำหนดแนวเขตป่า,เขื่อน,สระนำ้สาธารณะi

5,300.00 65 ผลผลิต

1.เกิดแผนที่กำหนดแนวป่า เขื่อน ทรัพยากรในหมู่บ้าน

  1. ชุมชนเป็นผู้รับทราบและร่วมสำรวจ

3.แผนที่กำหนดเขตมีการจัดเก็บแสดงไว้ชัดเจนที่บ้านผู้ใหญ่บ้าน


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

แผนที่ซึ่งทำเองโดยชาวบ้านได้รับการยอมรับและไม่เกิดความขัดแย้งในพื้นที่โดยการนำของผุ้นำได้แก่ กำนันและผุ้ใหญ่บ้าน

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

1.แกนนำ  20  คน 2.เยาวชน  20 คน

5,300.00 5,300.00 40 40 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-แบ่งกลุ่มทีมตาวิเศษออกเป็น 4 กลุ่มดังนี้ 1.กลุ่มสีแดง 2.กลุ่มสีฟ้า 3.กลุ่มสีม่วง 4.กลุ่มสีชมพู

-เพื่อกำหนดแนวเขตป่าที่ติดกับฝายชะลอน้ำ แหล่งน้ำสาธารณะ

-ทำเครื่องหมายที่ชัดเจนว่านี่คือที่สาธารณะ

-ลงมติที่ประชุมเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ของเยาวชนตาวิเศษมีสาระสำคัญดังนี้ 1.การมีจิตสำนึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ 2.ปฏิบัติหน้าที่เป็นตาสับปะรด 3.การร่วมกันปลูกต้นไม้ 4.การดูแลรักษาให้เติบใหญ่

กิจกรรมหลัก : เยาวชนแกนนำตาวิเศษi

31,000.00 50 ผลผลิต

1.เกิดเยาวชนแกนนำ 1 ชุดในหมู่บ้าน

  1. มีแกนนำเยาวชนซึ่งสามารถเป็นผุู้นำได้จำนวน 2- 3 คน

ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

เยาวชนแกนนำได้รับการยอมรับจากชุมชน ชุมชนให้ความร่วมมือและสนับสนุนการทำกิจกรรมโดยเฉพาะผู้ปกครอง บอกว่าทำให้ลูกใช้เวลาว่างที่เป็นประโยชน์

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

1.สภาผู้นำชุมชน  10  คน 2.เยาวชน  20  คน 3.ชาวบ้าน  20  คน

31,000.00 31,000.00 50 50 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เยาวชนตาวิเศษ

-นำข้อมูลที่ได้จากการสำรวจแหล่งนำ้สาธารณะในชุมชนมาทำแผนที่แหล่งน้ำธรรมชาติในชุมชน โดยการจัดทำแผนที่  จำนวน 2 ชุด  1.แผนที่จากภาพถ่ายดาวเทียม 2.แผนที่ทำมือ

-เยาวชนมีความสัมพันธ์ความรักความสามัคคีภายในกลุ่ม

-และมีความรู้เชิงนิเวศ

กิจกรรมหลัก : การดูแลและบำรุงรักษาต้นไม้(6 ครั้ง)i

8,300.00 42 ผลผลิต
  1. สมาชิกจำนวน 40 คน
  2. มีการดูแลต้นไม้และต้นไม้ที่รอด 150 ต้นขึ้นไปสามารถให้ผลผลิตได้ เช่น กล้วย

ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

สมาชิกจะผลัดเวียนกันมาดูแลต้นไม้

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 7 ครั้ง

1.วิทยากร  2  คน 2.สภาผู้นำ  10  คน 3.สมาชิกกลุ่ม  30  คน

1,384.00 1,884.00 42 42 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-สรุปต้นไม้ยืนต้นที่ปลูกในครั้งที่ 1  ณ ฝายชะลอนำ้  จำนวน 20 ต้น  ได้ลงพื้นที่สำรวจดูแลและบำรุงรักษาต้นไม้ โดยใส่ปุ๋ยอินทรีย์เพื่อเพิ่มการเจริญเติบโต ต้นไม้ที่ปลูกแข็งแรงขึ้น และมีต้นไม้ที่ตายทั้งหมด 5 ต้น  ก็ได้ทำการปลูกต้นไม้ยืนต้น(มะม่วงหิมพาน)ทดแทนต้นที่ตายทั้งหมด เพื่อรักษาความสมดุลทางระบบนิเวศ

1.สภาผู้นำ  10  คน 2.สมาชิกกลุ่ม  30  คน

1,384.00 1,384.00 40 40 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-สรุปต้นไม้ยืนต้นที่ปลูกในครั้งที่2ได้ลงพื้นที่สำรวจดูแลและบำรุงรักษาต้นไม้ณริมถนนสายปาล์ม 5 - คลองไทรใส่ปุ๋ยอินทรีย์เพิ่มการเจริญเติบโตต้นไม้ที่ปลูกแข็งแรงขึ้นและมีต้นไม้ที่ตายทั้งหมด10ต้นก็ได้ทำการปลูกทดแทนต้นที่ตายทั้งหมดเพื่อรักษาความสมดุลทางระบบนิเวศ

  1. สภาผู้นำชุมชน 10 คน
  2. สมาชิกกลุ่ม 12 คน
1,384.00 1,384.00 42 22 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-สรุปต้นไม้ยืนต้นที่ปลูกในครั้งที่3ได้ลงพื้นที่สำรวจดูแลและบำรุงรักษาต้นไม้ณสระนำ้สมใจใส่ปุ๋ยอินทรีย์เพิ่มการเจริญเติบโตต้นไม้ที่ปลูกแข็งแรงขึ้นและมีต้นไม้ที่ตายทั้งหมด5ต้นก็ได้ทำการปลูกทดแทนต้นที่ตายทั้งหมดเพื่อรักษาความสมดุลทางระบบนิเวศแต่เป็นช่วงที่ฝนขาดช่วงทำให้ปริมาณนำ้ฝนที่ตกน้อยและต้องคอยรดนำ้เพื่อช่วยให้มีความชุ่มชื้น

แกนนำหมู่บ้าน เยาวชนและประชาชนทั่วไปจำนวน 22 คน

0.00 0.00 40 22 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ได้มีการดำเนินกิจกรรมตามแผน แต่สมาชิกที่เข้าร่วมน้อยมาก แวะเวียนมาทีละ 2-3 คนไม่มีการรวมกลุ่มกัน จากการสอบถามผู้รัดผิดชอบโครงการแจ้งว่าจะมีการมารดน้ำ พรวนดินกันสัปดาห์ละครั้งอย่างไม่เป็นทางการ ดังน้้นวันนัดรวมกลุ่มคนก็เลยมาไม่มาก และโดยรวมต้นไม้ก็เติบโตดีมีต้นไม้ที่ตายทั้งหมด5ต้นก็ได้ทำการปลูกทดแทนต้นที่ตาย

  1. สภาผู้นำชุมชน10คน
  2. สมาชิกกลุ่ม30คน
1,384.00 1,384.00 40 40 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จากการลงพื้นที่ณสระนำ้สมใจต้นไม้ที่ปลูกยังตายเนื่องจากว่าฝนขาดช่วงและพื้นที่ที่เราปลูกเป็นที่สูงสลับที่ราบการรักษาค่อนข้างยาก และได้ช่วยกันรดนำ้ต้นไม้และหาแนวทางแก้ไขเพื่อให้ต้นไม้ได้รับนำ้

  • ผู้นำชุมชน10 คน
  • สมาชิกกลุ่ม30คน
1,384.00 1,384.00 40 40 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จากการดูแลแและบำรุงรักษาต้นไม้ครั้งที่ 5/6พบว่าพื้นดินที่ปลูกต้นไม้เริ่มแห้งแล้งเพราะกำลังจะเข้าสู่ฤดูแล้งและได้คิดหาวิธีการรดนำ้โดยการนำ้ขวดนำ้มาเจาะรูที่ฝาเพื่อให้นำ้ไหลลงทีละหยด เพิ่มความชุ่มชื้นให้กับต้นไม้ผู้เข้าร่วมโครงการให้ความร่วมมือเป็นอย่างดีและมีความสุขในการร่วมทำกิจกรรม

  • ผู้นำชุมชน10 คน
  • สมาชิกกลุ่ม30คน
1,380.00 1,384.00 40 40 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จากการดูแลแและบำรุงรักษาต้นไม้  ครั้งที่  6/6  พบว่าพื้นดินที่ปลูกต้นไม้เริ่มแห้งแล้งเพราะกำลังจะเข้าสู่ฤดูแล้งและได้คิดหาวิธีการรดนำ้โดยการนำ้ขวดนำ้มาเจาะรูที่ฝาเพื่อให้นำ้ไหลลงทีละหยด เพิ่มความชุ่มชื้นให้กับต้นไม้ผู้เข้าร่วมโครงการให้ความร่วมมือเป็นอย่างดีและมีความสุขในการร่วมทำกิจกรรม

กิจกรรมหลัก : สภาผู้ติดตามผลจากสมาชิกกลุ่มรักษ์ต้นไม้( 2 ครั้ง)i

26,000.00 40 ผลผลิต

1.มีการประชุมและติดตามในที่ประชุมสภาหมู่บ้านทุกเดือน

2.มีการทำงานเป็นทีมจากเดิมหมู่บ้านมีการประชุมปีละ 1 -2 ครั้งและไม่มีทีมงานในการทำงานหลังจากทำกิจกรรมผ่านไปทีมงานเข้มแข็งมีทีมงานชัดเจน จำนวน 10 คนและมาช่วยเป็นคร้ังคราว 20 คน


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

ทีมงานมีความสัมพันธ์ทีดีต่อกัน

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 2 ครั้ง

  1. วัยเรียน 20คน
  2. วัยรุ่น/เยาวชน40คน
  3. วัยทำงาน20คน
  4. ผู้สูงอายุ20คน
13,000.00 13,000.00 100 100 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-จากการประชุมสรุปถอดบทเรียนดังนี้

1.การดำเนินงานโดยการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนที่มีกติกากฎเกณฑ์และแบบแผนเดียวกันของชุมชน เพื่อจะนำไปสู่การพัฒนาการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติที่ยั่งยืนชาวชุมชนมีจิตสำนึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติมากขึ้นเพราะมีเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจริงในทุกปี คือการประสบภัยธรรมชาติ แห้งแล้งในฤดูแล้งและดินสไลด์ในฤดูฝน
2.ปัญหาอุปสรรคสภาพภาพพื้นที่ส่วนใหญ่มีลักษณะเป็นที่สูงสลับพื้นที่ราบลดหลั่นลงมาสลับกันสภาพพื้นดินเป็นดินลูกรังปนดินเหนียวและร่วนซุย ฤดูร้อนระยะเวลาประมาณ 5 เดือนการกักเก็บนำ้ไม่ค่อยดีพืชตายในช่วงฤดูแล้ง

3.สรุปผลการดำเนินงาน 6 เดือนดังนี้
1.เยาวชนแกนนำตาวิเศษจำนวน 20คนเป็นเยาวชนในชุมชนเรียนที่โรงเรียนผังปาล์ม 4 และโรงเรียนปาล์มพัฒนาวิทย์ 2.ต้นไม้ยืนต้นที่ปลูกไปแล้วทั้งหมดจำนวน 112ต้น
3.แหล่งเรียนรู้ชุมชน 1 แห่ง คือสระน้ำสมใจ 4.แผนที่ชุมชน 2 แบบ คือแผนที่ทำมือและแผนที่ภาพถ่ายดาวเทียม 5.ชาวชุมชนมีจิตสำนึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติมากขึ้นเพราะมีเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจริงในทุกปี คือการประสบภัยธรรมชาติ แห้งแล้งในฤดูแล้งและดินสไลด์ในฤดูฝน

  • กลุ่มวัยเรียนในโรงเรียน20คน
  • กลุ่มวัยรุ่นเยาวชน40คน
  • กลุ่มวัยทำงาน20คน
  • ผู้สูงอายุ20คน
13,000.00 13,000.00 100 100 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จากการประชุมสรุปถอดบทเรียนการดำเนินงานดังนี้

1.ปัญหาอุปสรรค -สภาพภาพพื้นที่ส่วนใหญ่มีลักษณะเป็นที่สูงสลับพื้นที่ราบลดหลั่นลงมาสลับกันสภาพพื้นดินเป็นดินลูกรังปนดินเหนียวและร่วนซุย ฤดูร้อนระยะเวลาประมาณ 5 เดือนการกักเก็บนำ้ไม่ค่อยดีพืชตายในช่วงฤดูแล้ง
-ชาวบ้านไม่มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ

  1. สรุปผลการดำเนินตลอดโครงการ

-สรุปผลการดำเนินงานของโครงการศูนย์เรียนรู้ป่าต้นน้ำบ้านผังปาล์ม 4,5ดังนี้

1.สิ่งที่ฝัน
1.1ชุมชนช่วยกันอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติอย่างจริงจัง
1.2การใช้กฎกติกาหมู่บ้านอย่างเคร่งครัดและไปในทิศทางเดียวกัน
1.3ชุมชนมีทีมเยาวชนตาวิเศษช่วยอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ

1.4การประชุมสภาชุมชนอย่างน้อยเดือนละครั้ง
1.5ทรัพยากรทางธรรมชาติมีความอุดมสมบูรณ์ขึ้น

1.6การเพิ่มจำนวนของต้นไม้อย่างน้อย80ต้น

2.สิ่งที่ทำได้จริง
2.1ชุมชนมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติเห็นคุณค่าของต้นไม้มากขึ้น เพราะพื้นที่ของชุมชนมีจุดที่เกิดดินสไลด์การขาดน้ำใช้อุปโภคบริโภคภายในครัวเรือนในฤดูแล้ง
2.2การปกครองของผู้นำชุมชนได้ยึดกฎกติกาหมู่บ้านอย่างเคร่งครัดในการตัดสินใจกรณีเกิดเหตุภายในชุมชน
2.3ชุมชนมีทีมเยาวชนตาวิเศษช่วยอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติซึ่งในชุมชนมีโรงเรียนบ้านผังปาล์ม 4,โรงเรียนปาล์มพัฒนวิทย์ ที่เป็นส่วนหนึ่งในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติแบบยั่งยืน

2.4มีการประชุมสภาชุมชนเดือนละครั้งเพื่อแจ้งข้อมูลข่าวสารให้กับชาวชุมชนได้รับทราบ

2.5การเพิ่มจำนวนของต้นไม้100ต้น

3.สิ่งที่เป็นปัญหา/อุปสรรค
3.1ต้นไม้ที่ปลูกต้องใช้ระยะเวลาหลายปีในการเจริญเติบโตเพราะเป็นดินลูกรังมีหินธาตุอาหารน้อย
3.2ระยะเวลาฤดูแล้งนานจึงทำให้ต้นไม้ที่ปลูกตาย

4.การเปลี่ยนแปลง
4.1ชุมชนมีความสนใจในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติมากขึ้นกว่าเดิมเห็นคุณค่าของต้นไม้มากขึ้น เพราะพื้นที่ของชุมชนมีจุดที่เกิดดินสไลด์การขาดน้ำใช้อุปโภคบริโภคภายในครัวเรือนในฤดูแล้งเป็นประจำทุกปีมาเป็นเวลานานกว่า 10ปี
4.2การใช้กฎกติกาหมู่บ้านอย่างเคร่งครัดและไปในทิศทางเดียวกันและมีการทำประชาคมทุกครั้งถ้าจะมีการแก้ไขเพิ่มเติมกฎกติกาหมู่บ้าน
4.3ชุมชนมีทีมเยาวชนตาวิเศษช่วยอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติเยาวชนมีความสนใจการอนุรักษ์ทรัพยากรมากขึ้น
4.4การประชุมสภาชุมชนสองเดือนครั้งและทางผู้นำชุมชนและชาวบ้านได้เห็นถึงประโยชน์ที่ได้รับการประชุมสภาชุมชนและมีการประชุมสภาเดือนละครั้งเป็นอย่างน้อย

4.5ชุมชนมีจำนวนของต้นไม้เพิ่ม100ต้นจากความร่วมมือของชาวชุมชนจึงทำให้มีต้นไม้เพิ่มขึ้น

3.แนวทางการพัฒนาศูนย์เรียนรู้ป่าต้นน้ำสร้างสุขภาวะที่สุขสมบูรณ์ของชุมชน

3.1ส่งเสริมให้มีการอนุรักษ์ธรรมชาติอย่างต่อเนื่อง

3.2ใช้กฎกติกาหมู่บ้านอย่างเคร่งครัดและไปในทิศทางเดียวกัน

3.3การประชุมสภาชุมชนอย่างน้อยเดือนละครั้ง

2.3.1 นวัตกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ

(นวัตกรรมคือ การจัดการความคิด กระบวนการ ผลผลิต และ/หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสม มาใช้งานให้เกิดประสิทธิผล และ/หรือประสิทธิภาพมากกว่าเดิมอย่างชัดเจน)

ชื่อนวัตกรรมคุณลักษณะ/วิธีการทำให้เกิดนวัตกรรมผลของนวัตกรรม/การนำไปใช้ประโยชน์
2.3.2 โครงการเด่น (Best Practice)

(โครงการเดิ่น คือ โครงการสร้างเสริมสุขภาพให้สัมฤทธิ์ผลที่เป็นรูปธรรมแล้วขยายผลอย่างยั่งยืน โดยแนวคิดกระบวนการ และผลงาน สามารถเป็นตัวอย่างที่จะนำไปขยายผลในชุมชน (Setting) อื่น ๆ ได้ การดำเนินงานมีส่วนร่วมของภาคีที่หลากหลาย มีการบริหารจัดการที่ดี โปร่งใสและตรวจสอบได้)

ชื่อ Best Practiceวิธีการทำให้เกิด Best Practiceผลของ Best Practice / การนำไปใช้ประโยชน์
สภาหมู่บ้านแก้ปัญหา

1.ประชุมหมู่บ้านทุกเดือน
2.นำปัญหาต่างๆมาพุดคุยกันและเชิญผุ้ที่เกี่ยวข้องเข้ามาร่วมประชุม 3.เลขาประสานผุู้เกี่ยวข้องและคอยกระตุ้นตลอด

สามารถแก้ปัญหาในหมู่บ้านได้ เช่น ปัญหาทะเลาะกันในหมู่บ้านลดลง

2.3.3 เกิดแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านการสร้างเสริมสุขภาพในประเด็นต่าง ๆ
ชื่อ-สกุลที่อยู่ติดต่อได้สะดวกคุณสมบัติแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลง
2.3.4 มีสภาพแวดล้อมและปัจจัยทางสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพ

เกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพในชุมชนพื้นที่โครงการดังนี้

สถานที่/พื้นที่ ที่เปลี่ยนแปลงรายละเอียดการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น

ส่วนที่ 3 : ปัญหาและอุปสรรคสำคัญที่มีผลกระทบต่อการดำเนินงาน

3.1 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเด็นปัญหา/อุปสรรคการแก้ไขของผู้รับทุนข้อเสนอแนะ/การแก้ไขปัญหาและการเสริมพลังของผู้ติดตาม
3.2 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเภทความเสี่ยง / ปัจจัยเสี่ยงระดับความเสี่ยง
(จากมากไปหาน้อย)
ข้อมูล ข้อสังเกตุ และข้อคิดเห็นของผู้ติดตาม
3210
1. ความเสี่ยงด้านการดำเนินงาน (Operational Risks)
1.1 โครงสร้างการดำเนินงาน

มีโครงการชัดเจนระบุผู้รับผิดชอบ และผุ้รับผิดชอบรับรู้เข้าร่วมโครงการให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรม

1.2 ศักยภาพและทักษะการดำเนินงาน

แกนนำมีทักษะเพิ่มมากขึ้นสามารถทำกิจกรรมได้เอง โดยพี่เลี้ยงเพียงเสริมพลังให้คำแนะนำเล็กๆน้อยๆ

1.3 ผลลัพธ์และผลสำเร็จของการดำเนินงาน

ผ่านเกณฑ์ที่วางไว้มากกว่าร้อยละ 80

2. ความเสี่ยงทางการเงิน (Financial Risks)
2.1 ระบบและกลไกการบริหารจัดการ

ชัดเจน แบ่งงานและผุ้รับผิดชอบอย่างมีลายลักษณ์อักษรสามารถทำกิจกรรมผ่านไปได้ไม่่เกิดความขัดแย้งในชุมชน

2.2 การใช้จ่ายเงิน

ใช้จ่ายเงินถูกต้องตามเกณฑ์

2.3 หลักฐานการเงิน

หลักฐานการเงินเรียบร้อยดี ให้คำแนะนำเพิ่มเติมเล็กน้อยก็สามาถปิดโครงการได้

ผลรวม 0 0 0 0
ผลรวมทั้งหมด 0 ระดับความเสี่ยง : ???
เกณฑ์วัดระดับความเสี่ยง ???
สรุปการแก้ไขความเสี่ยง แก้ไขแล้ว ยังไม่ได้แก้ไข

ส่วนที่ 4 : สรุปความเห็นของผู้ติดตาม

ส่วนที่ 4สรุปความเห็นของผู้ติดตาม
4.1 กรณีเบิกเงินงวด/ติดตามเยี่ยมชม มีแนวโน้มสำเร็จตามเป้าหมายโครงการและติดตามปกติ
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีแนวโน้มเสี่ยง ต้องติดตามอย่างใกล้ชิด เนื่องจาก
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีความเสี่ยง ต้องยุติโครงการ เนื่องจาก
4.2 กรณีสรุปปิดโครงการ ดำเนินงานได้ตามแผนปฏิบัติการและสามารถปิดโครงการได้
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

ดำเนินงานได้ตามแผนของโครงการ สามารถปิดงวดได้ตามปกติ เป็นโครงการที่ดีเกิดผลลัพธ์ตามตัวชี้วัด

ไม่เป็นไปตามแผนปฏิบัติการ ให้ดำเนินการจัดระบบการเงิน ระบบรายงานให้ถูกต้องก่อนปิดโครงการ
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ส่วนที่ 5 : สรุปภาพรวมของการติดตามประจำงวด (ข้อสังเกต/สิ่งดีๆ ที่ค้นพบ/ข้อพึงระวัง/บทเรียนที่ได้)

โครงการที่มีความตั้งใจสูง ผุ้นำเห็นความสำคัญโดยเฉพาะผู้ใหญ่บ้านและนายอำเภอเห็นชอบจะทำให้เกิดการแก้ปัญหาในชุมชนได้ดี ไม่เกิดความขัดแย้ง แต่ในบางครั้งถ้าผุู้นำขาดทักษะในการพูด หรือทักษะโน้มน้าวใจประชาชน อาจต้องมีทีมงานช่วยหนุนเสริม

สร้างรายงานโดย Yuttipong Kaewtong