assignment
บันทึกกิจกรรม
คืนเงินเปิดบัญชีธนาคาร28 มิถุนายน 2015
28
มิถุนายน 2015รายงานจากพื้นที่ โดย Yuttipong Kaewtong
circle
วัตถุประสงค์
  • เพื่อคืนเงินเปิดบัญชีธนาคาร
circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  • คืนเงินเปิดบัญชีธนาคาร 500 บาท
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • คืนเงินเปิดบัญชีธนาคาร500บาท
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 3 คน จากที่ตั้งไว้ 3 คน
ประกอบด้วย
  • ผุ้รับผิดชอบโครงการ
circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

จัดทำเอกสารเพื่อปิดโครงการ8 มิถุนายน 2015
8
มิถุนายน 2015รายงานจากพื้นที่ โดย ศักดิ์ชาย เรืองศรี
circle
วัตถุประสงค์
  • เพื่อสรุปปิดโครงการ
circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. ผู้รับผิดชอบโครงการชีแจ้งรายละเอียดโครงการแก่คณะทำงานโครงการ
  2. รวบรวมเอกสารโครงการเพื่อให้คณะทำงานได้ตรวจสอบความถูกต้อง
  3. จัดส่งเอกสารเพื่อให้ผู้ทำเอกสารสรุปปิดโครงการเพื่อจัดส่ง สจรส.ต่อไป
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. เอกสารได้รับการตรวจสอบได้ถูกต้องครบถ้วน
  2. มีการรวบรวมเพื่อจัดส่ง สสส
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 6 คน จากที่ตั้งไว้ 6 คน
ประกอบด้วย
  1. คณะทำงานโครงการ 5 คน
  2. ผู้จัดทำเอกสารสรุปปิดโครงการ 1 คน
circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
ศักดิ์ชาย เรืองศรี
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่
ประชุมปิดโครงการงวดที่24 พฤษภาคม 2015
4
พฤษภาคม 2015รายงานจากพี่เลี้ยง โดย ศักดิ์ชาย เรืองศรี
circle
วัตถุประสงค์

ประชุมคณะทำงานเพื่อสรุปและปิดโครงการ

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

09.00-10.30 น. : นายศรเทพ  บุญมี ผู้รับผิดชอบโครงการ เปิดประชุมและรายงานผลสรุปโครงการตามวัตถุประสงค์

10.30-11.00 น. : นางอรุณลดาพร ศรีแสง  ผู้รับผิดชอบดูแลกิจกรรม ได้สรุปและรายงานผลงานแต่ละกิจกรรม พร้อมประสานให้นายจรุวัฒน์ เจริญสมัย เก็บรวบรวมภาพถ่ายกิจกรรมเพื่อตรวจสอบและรายงานพื้นที่

11.00-12.00 น. : นายกิตติภูมิ  พิชัยกุลชน  ผู้ดูแลรับผิดชอบการเงินและการบัญชีโครงการ สรุปรายงานการใช้เงินในโครงการตามกิจกรรม

12.00-13.00 น. : รับประทานอาหารกลางวันร่วมกัน

13.00-14.00 น. : นายศาสนะ หะสะเล็ม หัวหน้าหน่วยอุทยานฯ น้ำตกสวนใหม่เข้าร่วมประชุม

14.00-15.30 น. : นายศักดิ์ชาย เรืองศรี พี่เลี้ยงพื้นที่

15.30 น.          : นายศรเทพ บุญมี ผู้รับผิดชอบโครงการกล่าวขอบคุณคณะทำงาน พี่เลี้ยงและผู้ที่เกี่ยวข้อง พร้อมกล่าวปิดโครงการ

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

สามารถสรุปผลงานโครงการแต่ละกิจกรรม เพื่อทำรายงานสรุปผลโครงการได้

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 11 คน จากที่ตั้งไว้ 10 คน
ประกอบด้วย

คณะทำงานโครงการ พี่เลี้ยงโครงการ

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

ประชุมปิดโครงการงวดที่24 พฤษภาคม 2015
4
พฤษภาคม 2015รายงานจากพื้นที่ โดย จรุวัฒน์
circle
วัตถุประสงค์

ประชุมคณะทำงานเพื่อสรุปและปิดโครงการ

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

09.00-10.30 น. : นายศรเทพบุญมี ผู้รับผิดชอบโครงการ เปิดประชุมและรายงานผลสรุปโครงการตามวัตถุประสงค์

10.30-11.00 น. : นางอรุณลดาพร ศรีแสงผู้รับผิดชอบดูแลกิจกรรม ได้สรุปและรายงานผลงานแต่ละกิจกรรม พร้อมประสานให้นายจรุวัฒน์ เจริญสมัย เก็บรวบรวมภาพถ่ายกิจกรรมเพื่อตรวจสอบและรายงานพื้นที่

11.00-12.00 น. : นายกิตติภูมิพิชัยกุลชนผู้ดูแลรับผิดชอบการเงินและการบัญชีโครงการ สรุปรายงานการใช้เงินในโครงการตามกิจกรรม

12.00-13.00 น. : รับประทานอาหารกลางวันร่วมกัน

13.00-14.00 น. : นายศาสนะ หะสะเล็ม หัวหน้าหน่วยอุทยานฯ น้ำตกสวนใหม่เข้าร่วมประชุม

14.00-15.30 น. : นายศักดิ์ชาย เรืองศรี พี่เลี้ยงพื้นที่

15.30 น.: นายศรเทพ บุญมี ผู้รับผิดชอบโครงการกล่าวขอบคุณคณะทำงาน พี่เลี้ยงและผู้ที่เกี่ยวข้อง พร้อมกล่าวปิดโครงการ

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

นายศรเทพ  บุญมี ผู้รับผิดชอบโครงการ เปิดประชุมและรายงานผลสรุปโครงการตามวัตถุประสงค์ โดยได้นำเอาผลสรุปกิจกรรมและรายงานผลในวันที่ 30 เมษายน 2558 ที่ผ่านมาเข้าในวาระประชุมของคณะทำงานเพื่อได้ร่วมกันรับฟังวิเคราะห์และประเมินผลหลังเสร็จสิ้นโครงการว่า เมื่อเสร็จสิ้นโครงการแล้วหมู่บ้าน/ชุมชน จะร่วมกันพัฒนาต่อยอดกิจกรรมอะไรบ้างอย่างไร

นางอรุณลดาพร ศรีแสง  ผู้รับผิดชอบดูแลกิจกรรม ได้สรุปและรายงานผลงานแต่ละกิจกรรม พร้อมประสานให้นายจรุวัฒน์ เจริญสมัย เก็บรวบรวมภาพถ่ายกิจกรรมเพื่อตรวจสอบ รายงานพื้นที่ และประสานพี่เลี้ยงโครงการช่วยตรวจสอบความถูกต้องในบางกิจกรรมยังขาดภาพถ่ายที่สมบูรณ์  เพราะการจัดเก็บที่ไม่ดี จำเป็นต้องรวบรวมภาพถ่ายกิจกรรมของแต่ละคนให้ครบทุกกิจกรรม

นายกิตติภูมิ  พิชัยกุลชน  ผู้ดูแลรับผิดชอบการเงินและการบัญชีโครงการ สรุปรายงานการใช้เงินในโครงการตามกิจกรรมให้คณะทำงานได้รับทราบและตรวจสอบความถูกต้อง เก็บรวบรวมหลักฐานการเงิน ทำบัญชีและทำหลักฐานรายงานผลโครงการ

นายศาสนะ หะสะเล็ม หัวหน้าหน่วยอุทยานฯ น้ำตกสวนใหม่เข้าร่วมประชุมเพื่อรับฟังการสรุปปิดโครงการ พร้อมเสนอตัวเข้าร่วมกิจกรรมการพัฒนาหมู่บ้าน  ส่งเสริมแหล่งท่องเที่ยวในชุมชนโดยเฉพาะน้ำตกสวนใหม่ให้เป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงให้จงได้  และได้ขอบคุณคณะทำงานพร้อมชาวบ้านสวนใหม่ทุกคนที่ได้ร่วมกันพัฒนาเส้นทางน้ำตกสวนใหม่ ปรับปรุงห้องน้ำพร้อมทั้งจัดทำป้ายสำหรับถ่ายภาพที่ระลึกบริเวณหน้าน้ำตกเรียบร้อยแล้ว และตอนนี้ได้มีการพัฒนาเส้นทางส้รางถนนคอนกรีตจนถึงน้ำตก  และทางอุทยานฯ ได้เพาะกล้ากิ่งโกศลไว้ปลูกซ่อมใหม่ตลอดแนว พร้อมทั้งมีแผนที่จะสร้างศาลาที่พักสำหรับนักท่องเที่ยวต่อไป

นายศักดิ์ชาย เรืองศรี พี่เลี้ยงพื้นที่ได้ร่วมรับฟังการสรุปโครงการ ติดตามตรวจสอบ และเสนอแนะข้อคิดเห็นในการพัฒนาต่อยอดกิจกรรมในชุมชนให้เกิดความต่อเนื่องและยั่งยืน ให้รีบสรุปและจัดทำรายงานให้เรียบร้อยก่อนถึงช่วงฤดูเก็บเกี่ยวผลไม้เพราะทุกคนจะไม่ว่าง  และพร้อมจัดส่งเอกสารหลักฐานในเดือนกรกฏาคม 2558 ต่อไป

นายศรเทพ บุญมี ผู้รับผิดชอบโครงการกล่าวขอบคุณคณะทำงาน พี่เลี้ยงและผู้ที่เกี่ยวข้อง พร้อมกล่าวปิดโครงการ

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 11 คน จากที่ตั้งไว้ 10 คน
ประกอบด้วย

คณะทำงานโครงการ และพี่เลี้ยงติดตาม จำนวน 11 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ไม่มี

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นายศักดิ์ชาย เรืองศรี
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

จัดกิจกรรมสรุปและรายงานผลโครงการ30 เมษายน 2015
30
เมษายน 2015รายงานจากพื้นที่ โดย จรุวัฒน์
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อสรุปรายงานผลความก้าวหน้าโครงการ

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  • เวลา 09.00-10.30 น. : นายศรเทพ  บุญมี  ผู้รับผิดชอบโครงการนัดคณะทำงานเพื่อประชุมหาเตรียมความพร้อมสรุปและรายงานผลโครงการ
  • เวลา 10.30-12.00 น. : นายศรเทพ บุญมี นัดประชุมคณะกรรมการและตัวแทนครัวเรือน เพื่อสรุปและรายงานผลการดำเนินงานโครงการ
  • เวลา 12.00-13.00 น. : รับประทานอาหารกลางวันร่วมกัน
  • เวลา 13.00-14.30 น. : ประชุมต่อ พร้อมรวบรวมเอกสาร ภาพถ่ายและจัดทำรายงาน
  • เวลา 14.30-15.00 น. : นายศักดิ์ชาย เรืองศรี พี่เลี้ยงโครงการได้พบปะและให้ข้อเสนอแนะ
  • เวลา 15.30 น. : นายศรเทพ  บุญมี ปิดประชุม
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

คณะทำงานโครงการและตัวแทนครัวเรือนได้มีการชีแจงและรับฟังรายละเอียดการดำเนินกิจกรรมโครงการมีการสรุปตรวจสอบและประเมินผลร่วมกันดังนี้

จากการดำเนินงานโครงการฯ ในระยะเวลาประมาณ 1 ปีที่ผ่านตอนนี้ได้ดำเนินการครบทุกกิจกรรมแล้ว จึงขอสรุปและรายงานผลการดำเนินงานในทุกกิจกรรมตามตารางปฏิทินโครงการและบอร์ดภาพกิจกรรมสรุปโครงการโดยให้ผู้ที่เกี่ยวข้องได้ช่วยเสริมในแต่ละกิจกรรม และพี่เลี้ยงได้ช่วยสรุปให้ตรงตามวัตุประสงค์โครงการ คือ

วัตถุประสงค์ที่ 1 เพื่อให้เกิดความรัก ความสามัคคีและการมีส่วนร่วมขึ้นในชุมชน

  • ตัวชี้วัดที่ 1.1 มีกิจกรรมการพัฒนาในชุมชนอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง พบว่ามีกิจกรรมการพัฒนาในชุมชนเกิดขึ้นทุกเดิือน ซึ่งโดยปกติก่อนดำเนินโครงการก็จะมีเฉพาะวันสำคัญ หรือเฉพาะบ้านใครบ้านมันยังขาดการรวมตัวที่จะช่วยกันพัฒนาในสถานที่สาธารณะหลังจากเริ่มทำโครงการมีการรวมกลุ่มกันพัฒนาเส้นทางสาธารณะในหมู่บ้านโดยการตัดหญ้าสองข้างทางในถนนทุกสายสลับกันไปแต่ละเดือน มีการปลูกต้นโกศลในถนนสายหลัก บริเวณหน้าโรงเรียนบ้านสวนใหม่ บริเวฯเส้นทางท่องเที่ยวอุทยานน้ำตกสวนใหม่มีการพัฒนาเส้นทางท่องเที่ยวร่วมกับอุทยานฯมีการพัฒนาศาลาหมู่บ้าน ทำสถานที่ประกอบพิธีทางศาสนาปรับปรุงห้องน้ำ ทำรั้วกั้นบริเวณศาลา
  • ตัวชี้วัดที่ 1.2 จำนวนประชาชนที่เข้าร่วมกิจกรรมในชุมชนเพิ่มขึ้นร้อยละ 20 พบว่าก่อนดำเนินโครงการคนในชุมชนยังไม่ค่อยได้มารวมกลุ่มกันจัดกิจกรรมในหมู่บ้าน เพราะยังขาดผู้ริเริ่มไม่มีแกนนำไม่มีสถานที่ และบรรยากาศไม่เอื้อหลังจากมีโครงการเริ่มมีคนที่เข้ามาร่วมทำกิจกรรมทุกหลังคาเรือนเพราะเห็นดีด้วยได้มีโอกาสมาร่วมกิจกรรมการพัฒนา กิจกรรมทางศาสนาที่ศาลาได้ทำบุญตักบาตรร่วมกันทานข้าวร่วมกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในวันสำคัญ เช่น วันปลูกข้าวไร่วันเกี่ยวข้าววันสวดมนต์ข้ามปีสงท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่และวันสงกรานต์ที่ได้ร่วมกันทำบุญตักบาตรสรงน้ำพระและรดน้ำขอพรผู้สูงอายุได้รับพรจากผู้สูงอายุให้อยู่เย็นเป็นสุขทุกคนที่มาร่วมมีความเห็นร่วมกันว่าเป็นกิจกรรมที่ดีและจะร่วมกันทำต่อไปทุกปีถึงแม้ว่าจะไม่มีโครงการนี้แล้วบางคนรู้สึกดีที่ได้มาเล่นน้ำและขอขมาและได้ให้อภัยกันในวันนี้เพราะที่ผ่านมาอาจจะมีการล่วงละเมิดกันได้ทั้งด้านกาย วาจา และใจทำให้ลดความตึงเครียดและข้อขัดแย้งลงได้

วัตถุประสงค์ที่ 2 เพื่อให้ชุมชนได้น้อมนำเอาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้เป็นแนวทางในการดำเนินชีวิต

  • ตัวชี้วัดที่ 2.1 ครัวเรือนสามารถจัดทำบัญชีครัวเรือนได้จำนวน 30 ครัวเรือน จากการอบรมเรื่องหลักเศรษฐกิจพอเพียงพบว่าทุกครัวเรือนได้มีการฝึกทำบัญชีครัวเรือนได้ แต่จากการติดตามและประเมินภายหลังในช่วงท้ายโครงการพบว่ายังขาดความต่อเนื่องและยั่งยืนได้ทำเฉพาะบางวัน หรือ บางเดือนหรือเลิกทำไปเลยแต่ได้มีครอบครัวตัวอย่าง คือ คุณยายมณีสมหมายซึ่งได้เป็นแบบอย่างที่ดี มีการจดบันทึกทุกวันทำให้เห็นถึงรายรับรายจ่ายและสถานการเงินในครัวเรียนที่จะเป็นตัวอย่างที่ดีในชุมชนได้
  • ตัวชี้วัดที่ 2.2 ลดรายจ่ายเพิ่มรายได้ในครัวเรือน อย่างน้อย 30 ครัวเรือน จากการทำบัญชีครัวเรือนทำให้ทุกครัวเรือนได้รับรู้สถานการณ์ทางการเงินในครัวเรือนรู้ที่มาและที่ไปของเงินมีการวางแผนการใช้จ่ายและมีการออม ทำให้รู้จักการประหยัดใช้จ่ายที่จำเป็นรวมทั้งมีกิจกรรมการส่งเสริมการปลูกผักในครัวเรือนจากการแจกกล้าผักในครัวเรือนและแก่ผู้สูงอายุถึงแม้ว่าจะไม่ได้จำหน่ายออกมาเป็นตัวเงินแต่ก็ไม่ได้ซื้อกินก็เป็นการช่วยลดรายจ่ายในครัวเรือนได้อย่างดี
  • ตัวชี้วัดที่ 2.3 จำนวนครัวเรือนที่ใช้ปุ๋ยจากกลุ่มอย่างน้อย 30 ครัวเรือน จากกิจกรรมการทำปุ๋ยหมัก และปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพทำให้ครัวเรือนรู้จักการนำเศษอาหารและขยะมาทำปุ๋ย หรือบางครัวเรือนมีความรู้แล้วแต่ก็ได้รับอุปกรณ์ไปจัดทำมีการทำปุ๋ยหมักและแจกทุกครัวเรือนมากบ้างน้อยบ้างตามความต้องการและเวลาที่เข้ามาร่วมกิจกรรมทำให้ได้ลดรายจ่ายการซื้อปุ๋ยเคมีถึงแม้ว่าจะมีประสิทธิภาพได้ไม่เต็มที่เนื่องจากในช่วงที่ทำปุ๋ยประสบกับภัยแล้งการย่อยสลายของปุ๋ยไม่สมบูรณ์เนื่องจากขาดน้ำเติมในกระบวนการย่อยสลาย
  • ตัวชี้วัดที่ 2.4 เกิดวิสาหกิจชุมชนอย่างน้อย 1 แห่ง จากกิจกรรมการทำปุ๋ยหมักและน้ำหมักชีวภาพทำให้เกิดเป็นศูนย์การเรียนรู้ที่บ้านอาจารย์ชินวุฒจันทร์แจ่มซึ่งแต่เดิมก็มีกิจกรรมอยู่แล้วแต่ยังขาดการรวมตัวเป็นกลุ่มหลังจากจัดกิจกรรมได้มีนักเรียนโรงเรียนบ้านสวนใหม่พื้นที่หมู่บ้านใกล้เคียง และกลุ่มอาจารย์และนักศึกษา กศน. มาร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อนำไปให้ในพื้นที่ตนเองหลังจากเสร็จสิ้นโครงการได้มีแผนที่จะทำกิจกรรมนี้ต่อโดยกลุ่มและเสนอแผนขอสนับสนุนงบประมาณในการซื้อวัสดุมาจัดทำปุ๋ยจากเครือข่ายองค์กรในพื้นที่

วัตถุประสงค์ที่ 3 เพื่อปลุกพลังสังคมโดยใช้ศาสนา ประเพณี และวัฒนธรรมดั้งเดิม

  • ตัวชี้วัดที่ 3.1 ทุกครัวเรือนมีการร่วมกิจกรรมทางศาสนา อย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง จากเดิมชุมชนสวนใหม่ในเกาะเป็นพื้นที่ไกลวัดเป็นส่วนหนึ่งของวัดบ้านเตรียมต้องเดินทางประมาณ 5 กิโลเมตรหลังจากมีโครงการได้ปลุกกระแสสังคมให้เข้าใกล้พระพุทธศาสนามากยิ่งขึ้นโดยได้เอาวัดเข้ามาในหมู่บ้านมีการพัฒนาศาลากลางบ้านให้เป็นศาลาธรรมมีกิจกรรมทางศาสนาในทุกเดือนนอกเหนือจากการไปร่วมในวันสำคัญที่วัดบ้านเตรียมแล้วซึ่งได้รับการดูแลและช่วยเหลือเป็นอย่างดีจากพระครูสุนทรธรรมพินิจ เจ้าคณะตำบลคุระ และเจ้าอาวาสวัดบ้านเตรียมในการจัดพระสงฆ์มาร่วมพิธีกรรมทางพระพุทธศาสนาและมอบพระพุทธรูปมาไว้ประจำในศาลากลางบ้าน เพื่อให้คนในชุมชนได้กราบไหว้และประกอบพิธีกรรมทางศาสนาเพื่อเป็นศิริมงคลแก่ชุมชน
  • ตัวชี้วัดที่ 3.2 ชุมชนและโรงเรียนมีการจัดกิจกรรมสืบสานประเพณีท้องถิ่นจำนวน 5 ครั้ง ชุมชนและโรงเรียนได้มีการจัดกิจกรรมและสืบสานประเพณีท้องถิ่นอันดีงามเช่น ปลูกข้าวไร่ในวันแม่ "ปลูกวันแม่เกี่ยววันพ่อสานต่อพระราชปนิธานสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่นอยู่กินอย่างไทย" เป็นประเพณีวัฒนธรรมดั้งของคนสวนใหม่สมัยมาบุกเบิกที่ดินทำกินปัจจุบันเหลือไว้แต่ความทรงจำเด็กๆไม่ได้เห็นถ้าปู่ย่ายตายายไม่ได้ทำให้ดูต่อไปก็มีแต่สูญหายกิจกรรมส่งท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่กิจกรรมวันผู้สูงอายุและวันสงกรานต์ซึ่งทุกคนเห็นสมควรมีการจัดเป็นประเพณีประจำทุกปี
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 45 คน จากที่ตั้งไว้ 50 คน
ประกอบด้วย
  • คณะทำงานโครงการ
  • ตัวแทนครัวเรือน
  • พี่เลี้ยงโครงการ
  • เจ้าหน้าที่อุทยานฯ

จำนวน 45 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข
  • ตัวแทนครัวเรือนไม่สามารถนั่งฟังการสรุปการประชุมได้ตลอดวันเพราะมีภาระกิจที่บ้านและในสวน  จึงให้มีการสนับหมุนเวียนกัน และให้มีการบอกต่อในและติดตามสอบถามในหัวข้อประเด็นที่ขาด
circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นายศักด์ชาย เรืองศรี
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

ประชุมคณะกรรมการครั้งที่ 1022 เมษายน 2015
22
เมษายน 2015รายงานจากพี่เลี้ยง โดย ศักดิ์ชาย เรืองศรี
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อให้เกิดความรัก ความสามัคคี และการมีส่วนร่วมขึ้นในชุมชน

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  • 09.00-10.30 น. นายศรเทพ บุญมี ผู้รับผิดชอบโครงการเปิดการประชุม พร้อมทั้งได้ชี้แจงผลการดำเนินงานโครงการตั้งแต่ต้นและจะสรุปผลการดำเนินงานเพื่อปิดโครงการ
  • 10.30-12.00 น. นายกิตติภูมิ พิชัยกุลชน ผู้รับผิดชอบการเงินและจัดทำบัญชี ได้ชี้แจงรายละเอียดค่าใช้จ่ายในโครงการ สรุปงบประมาณ
  • 12.00-13.00 น. รับประทานอาหารกลางวันร่วมกัน
  • 13.00-14.00 น. นางอรุณลดาพร ศรีแสง และนางสสิฐญา บุญทองช่วย ผู้รับผิดชอบกิจกรรมสำรวจข้อมูลการทำบัญชีครัวเรือนได้สรุปผลการสำรวจการข้อมูลครัวเรือนหลังเสร็จสิ้นโครงการ
  • 14.00-15.00 น. นายศักดิ์ชาย เรืองศรี พี่เลี้ยงโครงการได้พบปะพูดคุยและเสนอแนะในการจัดทำเอกสารสรุปโครงการและการรายงานผลต่อ สสส.
  • 15.30 น. ปิดการประชุม
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ได้ชี้แจงผลการดำเนินงานโครงการตั้งแต่ต้นและสรุปผลการดำเนินงานเพื่อปิดโครงการ

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 10 คน จากที่ตั้งไว้ 10 คน
ประกอบด้วย

คณะทำงานโครงการ 10 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

ประชุมคณะกรรมการ ครั้งที่ 1022 เมษายน 2015
22
เมษายน 2015รายงานจากพี่เลี้ยง โดย ศักดิ์ชาย เรืองศรี
circle
วัตถุประสงค์

 

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

(0)

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข
circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ
circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่
ประชุมคณะกรรมการและประเมินผล ครั้งที่ 10และสรุปปิดโครงการ22 เมษายน 2015
22
เมษายน 2015รายงานจากพื้นที่ โดย จรุวัฒน์
circle
วัตถุประสงค์
  • เพื่อชี้แจงรายละเอียดกิจกรรมและวางแผนการทำงาน -สรุปจัดทำรายงานปิดโครงการ
circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  • 09.00-10.30 น. นายศรเทพ บุญมี ผู้รับผิดชอบโครงการเปิดการประชุม พร้อมทั้งได้ชี้แจงผลการดำเนินงานโครงการตั้งแต่ต้นและจะสรุปผลการดำเนินงานเพื่อปิดโครงการ
  • 10.30-12.00 น. นายกิตติภูมิ พิชัยกุลชน ผู้รับผิดชอบการเงินและจัดทำบัญชี ได้ชี้แจงรายละเอียดค่าใช้จ่ายในโครงการ สรุปงบประมาณ
  • 12.00-13.00 น. รับประทานอาหารกลางวันร่วมกัน
  • 13.00-14.00 น. นางอรุณลดาพร ศรีแสง และนางสสิฐญา บุญทองช่วย ผู้รับผิดชอบกิจกรรมสำรวจข้อมูลการทำบัญชีครัวเรือนได้สรุปผลการสำรวจการข้อมูลครัวเรือนหลังเสร็จสิ้นโครงการ
  • 14.00-15.00 น. นายศักดิ์ชาย เรืองศรี พี่เลี้ยงโครงการได้พบปะพูดคุยและเสนอแนะในการจัดทำเอกสารสรุปโครงการและการรายงานผลต่อ สสส.
  • 15.30 น. ปิดการประชุม
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. นายศรเทพ บุญมี ผู้รับผิดชอบโครงการได้ชี้แจงผลการดำเนินงานโครงการ
  2. นายกิตติภูมิ พิชัยกุลชน ผู้รับผิดชอบการเงินและจัดทำบัญชี ได้ชี้แจงรายละเอียดค่าใช้จ่ายในโครงการ สรุปงบประมาณ พร้อมทั้งยอดเงินคืน สสส.ที่ไม่สามารถเบิกจ่ายได้เนื่องจากตั้งงบประมาณค่าอาหารไว้เกิน
  3. นางอรุณลดาพร ศรีแสง และนางสสิฐญา บุญทองช่วย ผู้รับผิดชอบกิจกรรมสำรวจข้อมูลการทำบัญชีครัวเรือนได้สรุปผลการสำรวจการข้อมูลครัวเรือนหลังเสร็จสินโครงการ พบว่า ครัวเรือนส่วนใหญ่มีการจัดทำบัญชีครัวเรือนแต่ยังขาดความต่อเนื่อง มักจะทำในช่วงเดือนแรกๆ หลังจากนั้นมีการบันทึกบ้างไม่บันทึกบ้าง มีเพียง 5 หลังคาเรือนที่ยังคงมีการจัดทำบันทึกเป็นปัจจุบัน และมีบ้านที่เป็นตัวอย่างในชุมชนได้ คือ บ้านคุณยายมณี สมหมาย ครัวเรือนส่วนใหญ่มีการปลูกผักมีผักสวนครัว มีการนำปุ๋ยหมักและน้ำหมักชีวภาพไปใช้แต่มีปัญหาในช่วงแล้งที่ผ่านมาขาดน้ำรด ครัวเรือนมีการประหยัดค่าใช้จ่ายจากการใช้ปุ๋ยและปลูกผักไว้กินเอง และมีครัวเรือนที่สนใจที่จะปลูกข้าวไร่ในปีถัดไปโดยการเก็บเมล็ดพันธุ์ไว้ เด็กและเยาวชนได้มีการฝึกการสวดมนต์ไหว้พระก่อนนอน
  4. นายศักดิ์ชาย เรืองศรี พี่เลี้ยงโครงการได้พบปะพูดคุยและเสนอแนะในการจัดทำเอกสารสรุปโครงการและการรายงานผลต่อ สสส.
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 10 คน จากที่ตั้งไว้ 10 คน
ประกอบด้วย
  • คณะทำงานโครงการ 10 คน
circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

คณะทำงานยังขาดประสบการณืในการจัดทำเอกสารและหลักฐานการเงิน จึงต้องมีการแก้ไขปรับปรุงอยู่ตลอด พร้อมปรึกษาพี่เลี้ยงและพื้นที่โครงการใกล้เคียง

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นายศักดิ์ชาย เรืองศรี
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี

เก็บข้อมูลบัญชีครัวเรือน20 เมษายน 2015
20
เมษายน 2015รายงานจากพื้นที่ โดย จรุวัฒน์
circle
วัตถุประสงค์
  • เพื่อสรุปรายงานผลความก้าวหน้าโครงการ
circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. คณะทำงานและแกนนำสุขภาพ อสม.เยี่ยมบ้านเพื่อสำรวจข้อมูลครัวเรือน
  2. จัดเก็บรวบรวมแบบสำรวจส่งคืนผู้รับผิดชอบ
  3. นำแบบสำรวจมารวบรวมและวิเคราะห์เพื่อคืนข้อมูลสู่ชุมชน
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.มีการนำข้อมูลครัวเรือนมาวิเคราะห์ความเปลี่ยนแปลงของภาวะเศรษฐกิจและความเป็นอยู่ในครัวเรือน

  • มีการปลูกผักสวนครัว มีแปลงผักประจำบ้านหรือผักพื้นบ้าน เช่น ผักเหมียง ผักหวาน มะเขือ
  • มีการใช้ปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพ หรือ ปุ๋ยหมักสำหรับแปลงผัก หรือไม้ดอกไม้ประดับในครัวเรือน
  • มีการจัดทำบัญชีครัวเรือน รายรับ-รายจ่าย ทำให้เห็นถึงสภาพเศรษฐกิจในครัวเรือน มีการออมของเด็กนักเรียน
  • มีสนับสนุนให้เด็กและเยาวชนไหว้พระสวดมนต์ก่อนนอน

2.มีการคืนข้อมูลสู่ครัวเรือน

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 30 คน จากที่ตั้งไว้ 30 คน
ประกอบด้วย
  1. คณะทำงานโครงการ
  2. แกนนำสุขภาพ อสม.
  3. ตัวแทนครัวเรือน

    จำนวน 30 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข
  • การทำบัญชีครัวเรือนยังขาดความยั่นยืนและต่อเนื่อง จึงต้องคัดเลือกครัวเรือนต้นแบบ เพื่อเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ชุมชนแล้วค่อยขยายผลต่อ
circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นายศักดิ์ชาย เรืองศรี
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-ไม่มี

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ไม่มี-

จัดกิจกรรมเทศกาลสงกรานต์และวันผู้สูงอายุ15 เมษายน 2015
15
เมษายน 2015รายงานจากพี่เลี้ยง โดย ศักดิ์ชาย เรืองศรี
circle
วัตถุประสงค์

ครัวเรือนมีการร่วมกิจกรรมงานประเพณี

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

จัดกิจกรรมวันผู้สูงอายุประจำปีที่ศาลาหมู่บ้าน จำนวน 120 คน

  • ไหว้พระสวดมนต์ ตักบาตร สรงน้ำพระ
  • รดน้ำขอพรผู้สูงอายุ
  • ประกวดผู้สูงอายุต้นแบบ จำนวน 5 คน
  • มอบเงินสวัสดิการแก่ผู้สูงอายุ
  • เล่นน้ำสงกรานต์เพื่อความรักสามัคคี-ผูกข้อมือลูกหลานที่กลับมาอยู่ในหมู่บ้านเพื่อเป็นศิริมงคลและขวัญกำลังใจ
  • ให้อภัยแก่กันโดยการขอขมากรรมซึ่งกันและกัน
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

สมาชิกในครัวเรือนได้มีกิจกรรมทางประเพณวัฒนธรรมร่วมกัน เกิดกระแสการอนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณี  ผู้สูงอายุมีความสุข มีการรดน้ำอวยพรให้กับลูกหลาน แต่ละคนได้ผูกข้อมือและขออภัยที่อาจจะมีสิ่งที่ผิดอกผิดใจที่ผ่านมา

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 120 คน จากที่ตั้งไว้ 1 คน
ประกอบด้วย
  • กลุ่มเด็กและเยาวชน
  • ผู้สูงอายุ
  • ประชาชนทั่วไป
circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

สมาชิกแต่ละคน แต่ละครัวอาจจะไม่สามารถอยู่ได้ตลอดกิจกรรม เพราะติดธุระ หรืออาจจะมีกิจกรรมครอบครัวที่บ้าน

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

จัดกิจกรรมวันผู้สูงอายุประจำปีที่ศาลาหมู่บ้าน15 เมษายน 2015
15
เมษายน 2015รายงานจากพื้นที่ โดย จรุวัฒน์
circle
วัตถุประสงค์
  • ครัวเรือนมีการร่วมกิจกรรมงานประเพณี
circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

จัดกิจกรรมวันผู้สูงอายุประจำปีที่ศาลาหมู่บ้าน จำนวน 120 คน

  • ไหว้พระสวดมนต์ ตักบาตร สรงน้ำพระ
  • รดน้ำขอพรผู้สูงอายุ
  • ประกวดผู้สูงอายุต้นแบบ จำนวน 5 คน
  • มอบเงินสวัสดิการแก่ผู้สูงอายุ
  • เล่นน้ำสงกรานต์เพื่อความรักสามัคคี-ผูกข้อมือลูกหลานที่กลับมาอยู่ในหมู่บ้านเพื่อเป็นศิริมงคลและขวัญกำลังใจ
  • ให้อภัยแก่กันโดยการขอขมากรรมซึ่งกันและกัน
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 120 คน จากที่ตั้งไว้ 120 คน
ประกอบด้วย
  • กลุ่มเด็กและเยาวชน
  • ผู้สูงอายุ
  • ประชาชนทั่วไป
circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

เนื่องจากอยู่ในช่วงเทศกาลและวันแห่งครอบครัว มีกิจกรรมพบญาติ จึงมีกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรมบางคนอยู่ได้ไม่ตลอดทั้งวัน แต่ก็ขอความร่วมมือให้สลับผลัดเปลี่ยนกันไปร่วมกิจกรรมกับครอบครัวบ้าง ที่ศาลาหมู่บ้านบ้าง

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นายศักดิ์ชาย เรืองศรี
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

พัฒนาเส้นทางท่องเที่ยวน้ำตกสวนใหม่21 มีนาคม 2015
21
มีนาคม 2015รายงานจากพี่เลี้ยง โดย ศักดิ์ชาย เรืองศรี
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อให้เกิดความรัก ความสามัคคี และการมีส่วนร่วมขึ้นในชุมชน

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ขั้นเตรียมการ 1.ติดต่อประสานงานเจ้าหน้าที่อุทยานแห่งชาติศรีพังงา (หน่วยน้ำตกสวนใหม่) - เตรียมสถานที่ สำรวจเส้นทางน้ำตกสวนใหม่  กำหนดจุด - เตรียมวัสดุ อุปกรณ์ ต้นกล้าไม้ - เตรียมอาหารอาหารว่าง
- เตรียมกิจกรรมให้เด็ก และผู้เข้าร่วมกิจกรรม 2.กิจกรรมวันพัฒนา
เวลา 09.00 น. นัดพบจุดรวมพลอุทยานแห่งชาติศรีพังงา (น้ำตกสวนใหม่) เวลา 09.00-10.00 น. นายศาสนะ หะสะเล็ม หัวหน้าหัวกล่าวเปิดงาน แนะนำสถานที่ท่องเที่ยวบริเวณน้ำตกสวนใหม่  ปลูกต้นไม้ในบริเวณอุทยานและเส้นทางท่องเที่ยว  จำนวน 100 คน เวลา 10.00-12.00 น. พัฒนาเส้นทางท่องเที่ยวจากบริเวณที่ทำการถึงน้ำตกสวนใหม่ระยะทาง 300 เมตร
- กวาดหญ้า ใบไม้กิ่งไม้ เก็บกวาดก้อนหิน โดยเด็กและเยาวชน  ผู้หญิง และผู้สูงอายุในชุมชน - ทำขั้นบันได และรั้วด้วยเชือกและไม้ บริเวณเส้นทางที่ลาดชัน
เวลา 12.00-13.00 น. ร่วมรับประทานอาหารกลางวัน เวลา 13.00-16.00 น. พัฒนาเส้นทางต่อ เวลา 16.00-16.30 น. รวมพลและนัดหมายที่จะร่วมกันพัฒนาโดยการทำเส้นทางเดินป่า

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.เกิดความรักความสามัคคีและความร่วมมือขึ้นในชุมชน  เด็กและเยาวชน ผู้สูงอายุ  หน่วยงาน องค์กร และเครือข่ายในชุมชนเข้าร่วมกิจกรรม  เช่น  ผู้ใหญ๋สุรชัย รักไทรทอง และผช.เชษฐ์  มีเพียร  สอ.บต.ประสิทธิ์  เจ๊ะหวาง  นำชาวบ้านและนักเรียนโรงเรียนบ้านสวนใหม่  นางกานดา  เรืองศรี นำ อสม.รพ.สต.เตรียม เข้าร่วมกิจกรรม  นางสาวอุสนา เจ๊ะแว นำเยาวชน "ต้นกล้า อสม." เข้้าร่วมกิจกรรม  นายศาสนะ หะสะเล็ม นำทีมเจ้าหน้าที่อุทยานฯ จากหน่วยอื่นเข้าร่วม
2.เกิดความรักและหวงแหนสถานที่สาธารณะสมบัติของหมู่บ้าน  จากที่ทุกคนได้ร่วมกันพัฒนาเส้นทางทำให้เกิดความรู้สึกเป็นเจ้าของ  บางคนไม่เคยมาเที่ยวทั้งที่บ้านอยู่ใกล้แต่ไปเที่ยวที่อื่น  จึงมีแนวคิดว่าจะร่วมกันพัฒนาน้ำตกสวนใหม่ให้เป็นที่รู้จักของคนในชุมชนและหมู่บ้านใกล้เคียงจะได้ไม่ต้องไปเที่ยวไกล

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 1 คน จากที่ตั้งไว้ 1 คน
ประกอบด้วย

พี่เลี้ยงติดตามโครงการ

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

พัฒนาหมู่บ้านครั้งที่ 7 เส้นทางท่องเที่ยวน้ำตกสวนใหม่21 มีนาคม 2015
21
มีนาคม 2015รายงานจากพื้นที่ โดย จรุวัฒน์
circle
วัตถุประสงค์
  • เพื่อสร้างความรักความสามัคคีในชุมชน
circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ขั้นเตรียมการ

1.ติดต่อประสานงานเจ้าหน้าที่อุทยานแห่งชาติศรีพังงา (หน่วยน้ำตกสวนใหม่)

  • เตรียมสถานที่ สำรวจเส้นทางน้ำตกสวนใหม่  กำหนดจุด
  • เตรียมวัสดุ อุปกรณ์ ต้นกล้าไม้
  • เตรียมอาหารอาหารว่าง
  • เตรียมกิจกรรมให้เด็ก และผู้เข้าร่วมกิจกรรม

2.กิจกรรมวันพัฒนา

  • เวลา 09.00 น. นัดพบจุดรวมพลอุทยานแห่งชาติศรีพังงา(น้ำตกสวนใหม่)
  • เวลา 09.00-10.00 น. นายศาสนะ หะสะเล็ม หัวหน้าหัวกล่าวเปิดงาน แนะนำสถานที่ท่องเที่ยวบริเวณน้ำตกสวนใหม่  ปลูกต้นไม้ในบริเวณอุทยานและเส้นทางท่องเที่ยว  จำนวน 100 คน
  • เวลา 10.00-12.00 น. พัฒนาเส้นทางท่องเที่ยวจากบริเวณที่ทำการถึงน้ำตกสวนใหม่ระยะทาง 300 เมตร

    • กวาดหญ้า ใบไม้กิ่งไม้ เก็บกวาดก้อนหิน โดยเด็กและเยาวชน  ผู้หญิง และผู้สูงอายุในชุมชน
    • ทำขั้นบันได และรั้วด้วยเชือกและไม้ บริเวณเส้นทางที่ลาดชัน
  • เวลา 12.00-13.00 น. ร่วมรับประทานอาหารกลางวัน

  • เวลา 13.00-16.00 น. พัฒนาเส้นทางต่อ
  • เวลา 16.00-16.30 น. รวมพลและนัดหมายที่จะร่วมกันพัฒนาโดยการทำเส้นทางเดินป่า
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.เกิดความรักความสามัคคีและความร่วมมือขึ้นในชุมชน  เด็กและเยาวชน ผู้สูงอายุ  หน่วยงาน องค์กร และเครือข่ายในชุมชนเข้าร่วมกิจกรรม  เช่น  ผู้ใหญ๋สุรชัย รักไทรทอง และผช.เชษฐ์  มีเพียร  สอ.บต.ประสิทธิ์  เจ๊ะหวาง  นำชาวบ้านและนักเรียนโรงเรียนบ้านสวนใหม่  นางกานดา  เรืองศรี นำ อสม.รพ.สต.เตรียม เข้าร่วมกิจกรรม  นางสาวอุสนา เจ๊ะแว นำเยาวชน "ต้นกล้า อสม." เข้้าร่วมกิจกรรม  นายศาสนะ หะสะเล็ม นำทีมเจ้าหน้าที่อุทยานฯ จากหน่วยอื่นเข้าร่วม
2.เกิดความรักและหวงแหนสถานที่สาธารณะสมบัติของหมู่บ้าน  จากที่ทุกคนได้ร่วมกันพัฒนาเส้นทางทำให้เกิดความรู้สึกเป็นเจ้าของ  บางคนไม่เคยมาเที่ยวทั้งที่บ้านอยู่ใกล้แต่ไปเที่ยวที่อื่น  จึงมีแนวคิดว่าจะร่วมกันพัฒนาน้ำตกสวนใหม่ให้เป็นที่รู้จักของคนในชุมชนและหมู่บ้านใกล้เคียงจะได้ไม่ต้องไปเที่ยวไกล

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 60 คน จากที่ตั้งไว้ 50 คน
ประกอบด้วย
  1. แกนนำครัวเรือน
  2. แกนนำชุมชน อสม.
  3. เด็กและเยาวชน ผู้สูงอายุ
  4. ประชาชนทั่วไป
  5. เจ้าหน้าที่อุทยานแห่งชาติศรีพังงา
circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

1.เด็กและเยาวชนเข้าร่วมกิจกรรมน้อยจึงจำเป็นต้องเลื่อนมาจัดในช่วงวันหยุด หรือปิดภาคเรียนภาคเรียน

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นายศักดิ์ชาย เรืองศรี
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

ประชุมคณะกรรมการและประเมินผล ครั้งที่ 91 มีนาคม 2015
1
มีนาคม 2015รายงานจากพื้นที่ โดย จรุวัฒน์
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อสรุปรายงานผลความก้าวหน้าโครงการ

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

นายศรเทพ  บุญมี ผู้รับผิดชอบโครงการ รายงานความก้าวหน้าโครงการ

1.ปุ๋ยหมักมีปัญหาเกี่ยวกับการเติมน้ำและเติมอากาศ เนื่องจากไม่มีน้ำต้องรอฝน หรือหานำจากแหล่งอื่นมาช่วย

2.กำหนดวันพัฒนาเส้นทางชมธรรมชาติน้ำตกสวนใหม่ในวันที่ 21 มีนาคม 58 ขอให้นายภิญโญ  ศรีแสง รับผิดชอบในการประสานกับหัวหน้าอุทยานแห่งชาติศรีพังงา เพื่อกำหนดจุดและรายละเอียดกิจกรรม

3.นายศาสน หะสะเล็ม หัวหน้าอุทยานฯ หน่วยน้ำตกสวนใหม่ ได้เป็นตัวแทนเจ้าหน้าที่อุทยานในการประสานงานและเตรียมความพร้อมจัดกิจกรรม โดยได้เชิญผู้บริหารและแกนนำชุมชน เด็กและเยาวชนในบริเวณหมู่บ้านใกล้เคียงเข้าร่วมด้วย พร้อมได้เสนอกำหนดกิจกรรมและเส้นทางเพื่อให้ผู้เข้ามาเที่ยวน้ำตกได้มีความสะดวก  ปลอดภัย และช่วยประชาสัมพันธ์แหล่งท่องเที่ยวในหมู่บ้าน

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

มีการติดตามความก้าวหน้าของโครงการในเดือนที่ผ่านมาและ กำหนดแผนงานกิจกรรมในช่วงเดือนมีนาคมนี้ โดยได้เชิญเครือข่ายและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องมาร่วมกำหนดวางแผนด้วย

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 11 คน จากที่ตั้งไว้ 10 คน
ประกอบด้วย

คณะทำงานโครงการ และพี่เลี้ยงติดตาม จำนวน 11 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

งบประมาณงวดที่สองล่าช้า 

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
ศักดิ์ชาย เรืองศรี อุไรวรรณ ตันฑอาริยะ
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

พัฒนาหมู่บ้านครั้งที่ 6 ออกติดตามเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุ14 กุมภาพันธ์ 2015
14
กุมภาพันธ์ 2015รายงานจากพี่เลี้ยง โดย ศักดิ์ชาย เรืองศรี
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อให้เกิดความรัก ความสามัคคี และการมีส่วนร่วมขึ้นในชุมชน

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ขั้นเตรียมการ 1.จัดทีมงานออกเยี่ยมบ้านผ้สูงอายุ ซึ่งประกอบด้วย แกนนำ อสม. คณะทำงานโครงการ ตัวแทนเด็กและเยาวชนในพื้นที่
2.จัดเตรียมของเยี่ยม คือ ข้าวกล้องที่ได้จากแปลงข้าวที่ปลูกในกิจกรรมปลูกวันแม่เกี่ยววันพ่อฯ  เพื่อมอบให้ผู้สูงอายุในวันแห่งความรัก  จำนวน 15 ถุง
3.ประสานขอรถสามล้อพ่วงข้างจาก รพ.สต.เตรียม  พร้อมกระเป๋าเยี่ยมบ้าน ออกเยี่ยม 09.00-09.30 น. : นำเด็กและเยาวชนพัฒนาปัดกวาดศาลาหมู่บ้าน 09.30-12.00 น. : ออกเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุ โดยได้มอบของเยี่ยม เป็นข้าวกล้อง ข้าวใหม่กิจกรรม "ปลูกวันแม่เกี่ยววันพ่อสานต่อพระราชปนิธานสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่นอยู่กินอย่างไทย" ให้แก่ผู้สูงอายุ  พร้อมทั้งได้ติดตามแปลงผักที่ได้มอบกล้าผักปลูกที่บ้านผู้สูงอายุ และขอให้ผู้สูงอายุเล่านิทาน หรือ ประวัติศาสตร์ชุมชน ความเป็นมาของบ้านสวนใหม่แก่เด็กและทีมงานที่ออกเยี่ยม  แกนนำ อสม. ได้ให้บริการตรวจวัดความดันและแนะนำเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพในผู้สูงอายุ

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.เด็กและเยาวชนได้มีกิจกรรมพัฒนาหมู่บ้านและสถานที่สาธารณะ 2.สร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างเด็กและผู้สูงอายุ ในวันแห่งความรัก ผู้สูงอายุไม่เหงา 3.เด็กได้ทราบประวัติศาสตร์ชุมชน

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 1 คน จากที่ตั้งไว้ 1 คน
ประกอบด้วย

พี่เลี้ยงติดตามโครงการ

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

พัฒนาหมู่บ้านครั้งที่ 6 และติดตามเยี่ยมผู้สูงอายุ14 กุมภาพันธ์ 2015
14
กุมภาพันธ์ 2015รายงานจากพื้นที่ โดย จรุวัฒน์
circle
วัตถุประสงค์

1.เพื่อให้เกิดความรักความสามัคคีและการมีส่วนร่วมของชุมชน

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ขั้นเตรียมการ

1.จัดทีมงานออกเยี่ยมบ้านผ้สูงอายุ ซึ่งประกอบด้วย แกนนำ อสม. คณะทำงานโครงการ ตัวแทนเด็กและเยาวชนในพื้นที่
2.จัดเตรียมของเยี่ยม คือ ข้าวกล้องที่ได้จากแปลงข้าวที่ปลูกในกิจกรรมปลูกวันแม่เกี่ยววันพ่อฯ  เพื่อมอบให้ผู้สูงอายุในวันแห่งความรัก  จำนวน 15 ถุง
3.ประสานขอรถสามล้อพ่วงข้างจาก รพ.สต.เตรียม  พร้อมกระเป๋าเยี่ยมบ้านออกเยี่ยม

09.00-09.30 น. : นำเด็กและเยาวชนพัฒนาปัดกวาดศาลาหมู่บ้าน

09.30-16.00 น. : ออกเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุ โดยได้มอบของเยี่ยม เป็นข้าวกล้อง ข้าวใหม่กิจกรรม "ปลูกวันแม่เกี่ยววันพ่อสานต่อพระราชปนิธานสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่นอยู่กินอย่างไทย" ให้แก่ผู้สูงอายุ  พร้อมทั้งได้ติดตามแปลงผักที่ได้มอบกล้าผักปลูกที่บ้านผู้สูงอายุ และขอให้ผู้สูงอายุเล่านิทาน หรือ ประวัติศาสตร์ชุมชน ความเป็นมาของบ้านสวนใหม่แก่เด็กและทีมงานที่ออกเยี่ยม  แกนนำ อสม. ได้ให้บริการตรวจวัดความดันและแนะนำเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพในผู้สูงอายุ

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.เด็กและเยาวชนได้มีกิจกรรมพัฒนาหมู่บ้านและสถานที่สาธารณะ

2.สร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างเด็กและผู้สูงอายุ ในวันแห่งความรัก ผู้สูงอายุไม่เหงา

3.เด็กได้ทราบประวัติศาสตร์ชุมชน

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 59 คน จากที่ตั้งไว้ 50 คน
ประกอบด้วย

1.เด็กและเยาวชน

2.ผู้สูงอายุ

3.คณะทำงานโครงการ

4.แกนนำครัวเรือน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นายศักดิ์ชาย เรืองศรี
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

ประชุมคณะกรรมการและประเมินผล ครั้งที่ 81 กุมภาพันธ์ 2015
1
กุมภาพันธ์ 2015รายงานจากพื้นที่ โดย จรุวัฒน์
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อสรุปรายงานผลความก้าวหน้าโครงการ

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

นายศรเทพ  บุญมี ผู้รับผิดชอบโครงการ ประชุมชี้แจงรายละเอียด

1.ผู้รับผิดชอบโครงการชี้แจงความก้าวหน้าโครงการในเดือนมกราคม 2558 โดยมีกิจกรรมการทำบุญตักบาตรวันปีใหม่ โดยตัวแทนครัวเรือนได้ร่วมนำข้าวใหม่มาร่วมทำบุญตักบาตรที่วัดบ้านเตรียม โดยมีผู้ร่วมกิจกรรมจากบ้านสวนใหม่ประมาณ 10 คน

2.รายงานผลการพัฒนาศาลาหมู่บ้าน โดยได้ประสานกับช่างในหมู่บ้านเพื่อออกแบบและประมาณการจัดหาวัสดุอุปกรณ์ โดยให้นายกิตติภูมิ  พิชัยกุลชน เป็นแกนนำในการรวมรวมช่างและออกแบบทำรั้วศาลา พร้อมทั้งขอสนับสนุนบริจาคเงินจากผู้มาร่วมกิจกรรมทำบุญที่ศาลา

3.กิจกรรมพัฒนาเส้นทางท่องเที่ยวน้ำตกสวนใหม่ร่วมกับอุทยานแห่งชาติศรีพังงา  โดยให้นายภิญโญ  ศรีแสง เป็นผู้รับผิดชอบประสานหัวหน้าอุทยานฯ หน่วยน้ำตกสวนใหม่ในการกำหนดจุดและเส้นทางในการพัฒนา

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

คณะทำงานได้รับทราบความก้าวหน้าของโครงการ

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 11 คน จากที่ตั้งไว้ 10 คน
ประกอบด้วย

คณะทำงานโครงการ และพี่เลี้ยงติดตาม จำนวน 11 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ได้รับการโดนเงินงบประมาณงวดที่สองล่าช้า จึงให้มีการสำรองจ่ายไปก่อน 

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นายศักดิ์ชาย เรืองศรี
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

พัฒนาศาลาหมู่บ้าน ครั้งที่ 5 ทำรั้วศาลา ปรับภูมิทัศน์ภายในและนอกศาลา ตัดหญ้าข้างถนนสองข้างทาง19 มกราคม 2015
19
มกราคม 2015รายงานจากพี่เลี้ยง โดย ศักดิ์ชาย เรืองศรี
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อให้เกิดความรัก ความสามัคคี และการมีส่วนร่วมขึ้นในชุมชน

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ประชาสัมพันธ์นัดชาวบ้านเพื่อร่วมพัฒนาศาลาและเส้นทางสาธารณะในหมู่บ้าน 1.ชุดที่หนึ่ง : เป็นช่างและผู้ชายร่วมกันพัฒนาบริเวณศาลาหมู่บ้าน โดยการปรับปรุงภูมิทัศน์บริเวณภายในและนอกศาลา ทำความสะอาดปัดกวาด จัดทำรั้วบริเวณศาลาโดยการก่ออิฐ และทำประตูเหล็กเพื่อป้องกันสัตว์เข้ามาเล่นในบริเวณศาลา ปรับปรุงห้องนำ และเปลี่ยนกระเบื้องหลังคา 2.ชุดที่สอง : เป็นเด็กและเยาวชน ผู้สูงอายุ และประชาชนทั่วไป ช่วยทำความสะอาดบริเวณแนวถนนและหน้าบ้านตนเอง เส้นทางถนนหมู่บ้าน

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.แต่ละครัวครอบ ได้ส่งตัวแทนเข้าร่วมกิจกรรมแต่ไม่ครบทุกครอบครัว เนื่องจากบางครอบครัวติดภาระกิจ  และบางครอบครัวก็มาร่วมมากกว่า 1 คน 2.คุณครูได้นำเด็กนักเรียนโรงเรียนบ้านสวนใหม่ออกร่วมด้วยโดยเฉพาะบริเวณถนนใกล้โรงเรียน เนื่องจากเป็นวันเปิดเรียน 3.ต้นไม้หน้าบ้านและต้นโกศลส่วนหนึ่งเสียหายเนื่องจากปีนี้ฝนแล้งทิ้งช่วงนานมาก  และก็จะปลูกซ่อมในช่วงต้นฝน 4.ได้เริ่มก่ออิฐทำกำแพงรั้วบริเวณศาลา แต่ต้องใช้เวลาหลายวัน เนื่องจากมีที่ต้องปรับปรุงหลายจุด ทั้งหลังคา และห้องนำ

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 1 คน จากที่ตั้งไว้ 1 คน
ประกอบด้วย
circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

พัฒนาศาลาหมู่บ้านครั้งที่ 519 มกราคม 2015
19
มกราคม 2015รายงานจากพื้นที่ โดย จรุวัฒน์
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อให้เกิดความรักความสามัคคีและการมีส่วนร่วมขึ้นในชุมชน

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ประชาสัมพันธ์นัดชาวบ้านเพื่อร่วมพัฒนาศาลาและเส้นทางสาธารณะในหมู่บ้าน

1.ชุดที่หนึ่ง : เป็นช่างและผู้ชายร่วมกันพัฒนาบริเวณศาลาหมู่บ้าน โดยการปรับปรุงภูมิทัศน์บริเวณภายในและนอกศาลา ทำความสะอาดปัดกวาด จัดทำรั้วบริเวณศาลาโดยการก่ออิฐ และทำประตูเหล็กเพื่อป้องกันสัตว์เข้ามาเล่นในบริเวณศาลา ปรับปรุงห้องนำ และเปลี่ยนกระเบื้องหลังคา

2.ชุดที่สอง : เป็นเด็กและเยาวชน ผู้สูงอายุ และประชาชนทั่วไป ช่วยทำความสะอาดบริเวณแนวถนนและหน้าบ้านตนเอง เส้นทางถนนหมู่บ้าน

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.แต่ละครัวครอบ ได้ส่งตัวแทนเข้าร่วมกิจกรรมแต่ไม่ครบทุกครอบครัว เนื่องจากบางครอบครัวติดภาระกิจ  และบางครอบครัวก็มาร่วมมากกว่า 1 คน

2.คุณครูได้นำเด็กนักเรียนโรงเรียนบ้านสวนใหม่ออกร่วมด้วยโดยเฉพาะบริเวณถนนใกล้โรงเรียน เนื่องจากเป็นวันเปิดเรียน

3.ต้นไม้หน้าบ้านและต้นโกศลส่วนหนึ่งเสียหายเนื่องจากปีนี้ฝนแล้งทิ้งช่วงนานมาก  และก็จะปลูกซ่อมในช่วงต้นฝน

4.ได้เริ่มก่ออิฐทำกำแพงรั้วบริเวณศาลา แต่ต้องใช้เวลาหลายวัน เนื่องจากมีที่ต้องปรับปรุงหลายจุด ทั้งหลังคา และห้องนำ

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 60 คน จากที่ตั้งไว้ 50 คน
ประกอบด้วย

1.แกนนำครัวเรือน

2.แกนนำชุมชน อสม.

3.ผู้สูงอายุ เด็กและเยาวชน

5.ประชาชนทั่วไป

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

1.บางครอบครัวไม่ได้เข้าร่วมกิจกรรมเนื่องจากไม่อยู่ในพื้นที่และติดธุระ จึงได้นัดในโอกาสต่อไป

2.การทำรั้วที่ศาลาต้องอาศัยช่างในหมู่บ้านที่มีฝีมือ แต่มีเพียงไม่กี่คน จึงได้แก้ปัญหาต้องสะสมทำไปที่และจุด และนัดมาในช่วงที่ว่างงาน หรือกลางคืน

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นายศักดิ์ชาย เรืองศรี
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

ประชุมคณะกรรมการและประเมินผล ครั้งที่ึ 715 มกราคม 2015
15
มกราคม 2015รายงานจากพื้นที่ โดย จรุวัฒน์
circle
วัตถุประสงค์
  • เพื่อให้เกิดความรัก ความสามัคคีและการมีส่วนร่วมในชุมชน
circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  • ประชุมคณะกรรมการโครงการ เพื่อรายงาผลความก้าวหน้าโครงการ ติดตามตรวจสอบและประเมินผลโครงการ
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จากการประชุมคณะทำงาน สามารถสรุปผลการประชุมได้ดังนี้

1.นายศรเทพ บุญมี ผู้รับผิดชอบโครงการ เปิดการประชุมพร้อมชี้แจงผลการดำเนินงานจัดอบรมการทำปุ๋ยหมักและน้ำหมักชีวภาพได้ผลเป็นที่น่าพอใจ แต่ขอให้ทุกคนได้เข้าไปมีส่วนร่วมในการติดตามดูแลและรับผิดชอบในการเติมอากาศในกองปุ๋ยหมัก 2 วัน ต่อครั้ง ขอให้ช่วยหมุนเวียนสับเปลี่ยนกันไปโดยมีนายภิญโญ ศรีแสง และนายกิตติภูมิ พิชัยกุลชน เป็นผู้รับผิดชอบหลัก สำหรับปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพได้แบ่งแยกถังไว้ตามกลุ่มบ้าน คือ

  • จุดที่ 1 ณ บ้าน อ.ชินวุฒิ จันทร์แจ่ม เพื่อเป็นศูนย์สาธิตและศูนย์การเรียนรู้ในชุมชน 1 ใบ
  • จุดที่ 2 บ้านนายศรเทพ บุญมี 1 ใบ
  • จุดที่ 3 บ้านนายนิพนธ์ศรีแสง 1 ใบ
  • จุดที่ 4 บ้านนางเรียมจันทร์ลอย1 ใบ
  • และจุดที่ 5 บริเวณโรงอาหารโรงเรียนบ้านสวนใหม่ 1 ใบ โดยให้เจ้าของบ้านรับผิดชอบดูแลร่วมกลุ่มบ้านใกล้เคียง

2.นายกิตติภูมิ พิชัยกุลชน เสนอให้ปรับเลื่อนกิจกรรมพัฒนาหมู่บ้านบริเวณศาลาหมู่บ้าน ให้เป็นกิจกรรมพัฒนาแปลงผักให้กับโรงเรียนบ้านสวนใหม่ เนื่องจากหลังจากการอบรมทำปุ๋ยหมัก เด็กนักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมตื่นเต้นอยากจะทำน้ำหมักที่โรงเรียน และต้องการนำน้ำหมักมาใช้กับแปลงผักที่โรงเรียนที่ประชุมเห็นด้วยจึงได้กำหนดวันพัฒนาหมู่บ้านเป็นการทำแปลงผักที่โรงเรียนบ้านสวนใหม่ในวันที่ 29 มกราคม 2558 โดยขอความร่วมมือจากชาวบ้านอย่างน้อยหลังคาเรือนละ 1 คน และขอเลื่อนกิจกรรมพัฒนาที่ศาลาหมู่บ้านเป็นเดือนกุมภาพันธ์ 2558

3.นายภิญโญศรีแสงเสนอว่าปีนี้น่าจะแห้งแล้งมากเนื่องจากฝนหยุดตกทิ้งช่วงนานต้นโกศลที่ปลูกซ่อมอาจจะตายได้ขอความร่วมมือให้ช่วยดูแลกันหน่อย

4.นายกิตติภูมิ พิชัยกุลชน เสนอให้ใช้เงินที่ได้รับบริจาคในการพัฒนาศาลาและเงินที่เหลือจากการทำบุญประจำเดือนที่ศาลาหมู่บ้านสำรองจ่ายเพื่อทำกิจกรรมไปก่อนเนื่องจากเงินโครงการงวดที่ 2 ยังล่าช้าที่ประชุมเห็นด้วย และเสนอว่าวัสดุอุปกรณ์บางอย่างสามารถเครดิตที่ร้านได้

5.นางอรุณลดาพร ศรีแสง แจ้งรายงานผลการปลูกข้าวไร่ โดยได้แบ่งข้าวออกเป็น 3 ส่วน คือ

  • ส่วนที่ 1 ได้เก็บไว้ทำพันธุ์ในปีหน้า จำนวน 1 กระสอบ
  • ส่วนที่ 2 ได้นำมาตำเพื่อทำบุญตักบาตรในวันปีใหม่จำนวน 1 กระสอบ
  • และส่วนที่ 3 ได้นำไปสีเพื่อเป็นข้าวกล้องได้ จำนวน 125 กิโลกรัม โดยจะขอแบ่งให้กับทุกครัวเรือน จำนวน 30 ครัวเรือนๆ ละ 3 กิโลกรัม ส่วนที่เหลือเก็บไว้กองกลางสำหรับกิจกรรมที่ศาลา

6.นายสมรักษ์ อุปการดี ครู กศน.ตำบลคุระ นำครู กศน.อำเภอคุระุบุรี และ กศน.เมืองพังงา มาเยี่ยมชมกิจกรรมศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงเกี่ยวกับการทำปุ๋ยหมักและน้ำหมักชีวภาพ จำนวน 10 คน

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 12 คน จากที่ตั้งไว้ 10 คน
ประกอบด้วย
  • คณะกรรมการและทีมงาน พี่เลี้ยงโครงการ
  • คณะศึกษาดูงานจาก กศน.อำเภอเมืองพังงา และ กศน.คุระบุรี
circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นายศักดิ์ชาย เรืองศรี
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

การอบรมทำปุ๋ยหมักและน้ำหมักชีวภาพ13 มกราคม 2015
13
มกราคม 2015รายงานจากพี่เลี้ยง โดย ศักดิ์ชาย เรืองศรี
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อให้ชุมชนได้น้อมนำเอาหลักปรั๙ญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้เป็นแนวทางในการดำเนินชีวิต

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. ผู้รับผิดชอบโครงการติดต่อประสานงานและจัดหาวัสดุอุปกรณ์ในการทำปุ๋ยหมักและปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพ
  2. จัดเตรียมสถานที่โดยใช้ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง  บ้าน อ.ชินวุฒิ  จันทร์แจ่ม เป็นสถานที่สาธิตและแหล่งเรียนรู้  จัดเตรียมอุปกรณ์ในการทำปุ๋ยหมัก  อาหารกลางวันและอาหารว่างโดยกลุ่มแม่บ้าน
  3. ประสานผู้บริหารและคุณครูอนามัยโรงเรียนบ้านสวนใหม่เพื่อนำเด็กนักเรียนเข้ามาร่วมกิจกรรมเรียนรู้
  4. เริ่มสาธิตการทำปุ๋ยหมักโดย อ.ชินวุฒิ  จันทร์แจ่ม  ได้แจกเอกสารคู่มือการทำปุ๋ยหมกและน้ำหมักชีวภาพแก่นักเรียนและตัวแทนครัวเรือนที่เข้าร่วมกิจกรรม  พร้อมทั้งได้อธิบายขั้นตอนการทำโดยละเอียด
  5. การแบ่งหน้าที่การรับผิดชอบ  อ.ชินวุฒิ  จันทร์แจ่ม  เสนอให้มีผู้รับผิดชอบมาเปิดเครื่องเติมอากาศให้กับกองปุ๋ยหมักทุก 2 วัน  โดยมีนายกิตติภูมิ  พิชัยกุลชน และนายภิญโญ  ศรีแสง เป็นผู้รับผิดชอบสลับสับเปลี่ยนกัน
  6. การทำปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพ  ได้แบ่งถังที่เหลือไปทำที่บ้านสมาชิกเป็นรายกลุ่มบ้าน และที่โรงเรียนบ้านสวนใหม่ 1 จุด เพื่อเด็กนักเรียนได้นำเอาเศษอาหารที่เหลือจากโรงอาหารมาทำปุ๋ยน้ำหมักไว้ใช้ในโรงเรียน  โดยคุณครูได้แบ่งหน้าที่ให้เด็กนักเรียนรับผิดชอบและเสนอแนะให้ทำแปลงผักไว้ในบริเวณโรงเรียน
  7. การแบ่งปุ๋ยที่ได้จากการทำปุ๋ยหมัก
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.ผู้รับผิดชอบโครงการติดต่อประสานงานและจัดหาวัสดุอุปกรณ์ในการทำปุ๋ยหมักและปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพ

  • ปุุ๋ยหมัก : ได้ติดต่อเพื่อสั่งซื้อขี้เลื่อยมาเป็นวัสดุทำปุ๋ยหมักเนื่องจากเป็นวัสดุที่ย่อยสลายได้ง่ายได้ผลดี  และเปลี่ยนวัสดุจากขี้วัวเป็นขี้ไก่เนื่องจาก อ.ชินวุฒ  จันทร์แจ่ม เสนอแนะว่าเป็นวัสดุที่ได้ผลมากกว่าแต่ราคาแพงกว่า  และขอสนับสนุน พด.1  จากสำนักงานพัฒนาที่ดิน อ.ท้ายเหมือง จ.พังงา
  • ปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพ : ได้ติดต่อเพื่อสั่งซื้อถัง 200 ลิตร  จำนวน 5 ใบ  กากน้ำตาล และขอสนับสนุน พด.2  จากสำนักงานพัฒนาที่ดิน อ.ท้ายเหมือง  ติดต่อขอเศษอาหารจากงานศพบริเวณหมู่บ้านใกล้เคียงเพื่อนำมาใช้เป็นวัสดุแทนเศษอาหารในครัวเรือนซึ่งมีจำนวนน้อย

2.จัดเตรียมสถานที่โดยใช้ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง  บ้าน อ.ชินวุฒิ  จันทร์แจ่ม เป็นสถานที่สาธิตและแหล่งเรียนรู้  จัดเตรียมอุปกรณ์ในการทำปุ๋ยหมัก  อาหารกลางวันและอาหารว่างโดยกลุ่มแม่บ้าน 3.ประสานผู้บริหารและคุณครูอนามัยโรงเรียนบ้านสวนใหม่เพื่อนำเด็กนักเรียนเข้ามาร่วมกิจกรรมเรียนรู้ 4.เริ่มสาธิตการทำปุ๋ยหมักโดย อ.ชินวุฒิ  จันทร์แจ่ม  ได้แจกเอกสารคู่มือการทำปุ๋ยหมกและน้ำหมักชีวภาพแก่นักเรียนและตัวแทนครัวเรือนที่เข้าร่วมกิจกรรม  พร้อมทั้งได้อธิบายขั้นตอนการทำโดยละเอียด

  • การทำปุ๋ยหมัก  : เริ่มจากการนำขี้เลื่อย และขี้ไก่ มากองรวมไว้ในบริเวณสถานที่ทำปุ๋ยหมัก ตามอัตราส่วน คือ ขี้เลื่อย 1,000 กิโลกรัม ต่อ ขี้ไก่ 400-500 กิโลกรัม คลุกเคล้าให้เข้ากันใส่ปุ๋ยยูเรีย 2 กิโลกรัม และ พด.1 ละลาย จำนวน 1 ซอง ละลายน้ำประมาณ  10 ลิตร  ทิ้งไว้  5 นาที  รดลงบนกองปุ๋ยหมักและคลุกเคล้าให้เข้ากันก่อนที่จะนำไปกองไว้บนท่อพีวีซีเติมอากาศทุก 2 วัน  ใช้เวลา 3 เดือน ก็จะได้ปุ๋ยหมักที่ผ่านการย่อยสลายของเชื้อจุลินทรีย์สามารถนำไปใช้กับแปลงผักและผลไม้ได้เลย
  • การทำปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพ : เริ่มจากการเตรียมอุปกรณ์ คือถัง 200 ลิตร  ใส่วัสดุเศษอาหารในครัวเรือน  เศษปลา  เศษผัก หรืออาจจะนำหน่อกล้วยมาหันเป็นชิ้นเล็กๆ  ประมาณ 50 กิโลกรัม  เติมกากน้ำตาล  10 กิโลกรัม  หัวเชื้ออีเอ็ม หรือ พด.2  จำนวน 1 ซอง ละลายน้ำประมาณ 10 ลิตร  ทิ้งไว้ประมาณ 5 นาที แล้วน้ำไปใส่รวมกันในถังคลุกเคล้าให้เข้ากัน  ปิดฝาป้องกันแมลงวันและสัตว์ลงไป  หมั่นคนทุก 2-3 วัน  ประมาณ 20-30 วัน ก็จะได้ปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพพร้อมที่จะไปใช้กับแปลงผักสวนครัวหรือไม้ผลได้อย่างดี  แต่อัตราการใช้ต่างกัน  ถ้าเป็นผักใช้ปริมาณ  1 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร  ไม้ผลใช้ปริมาณ 3-5 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร  การใช้ปริมาณเข้มข้นเกินไปจะทำให้เฉาหรืออาจจะทำให้ต้นไม้ตายได้

5.การแบ่งหน้าที่การรับผิดชอบ  อ.ชินวุฒิ  จันทร์แจ่ม  เสนอให้มีผู้รับผิดชอบมาเปิดเครื่องเติมอากาศให้กับกองปุ๋ยหมักทุก 2 วัน  โดยมีนายกิตติภูมิ  พิชัยกุลชน และนายภิญโญ  ศรีแสง เป็นผู้รับผิดชอบสลับสับเปลี่ยนกัน

6.การทำปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพ  ได้แบ่งถังที่เหลือไปทำที่บ้านสมาชิกเป็นรายกลุ่มบ้าน และที่โรงเรียนบ้านสวนใหม่ 1 จุด เพื่อเด็กนักเรียนได้นำเอาเศษอาหารที่เหลือจากโรงอาหารมาทำปุ๋ยน้ำหมักไว้ใช้ในโรงเรียน  โดยคุณครูได้แบ่งหน้าที่ให้เด็กนักเรียนรับผิดชอบและเสนอแนะให้ทำแปลงผักไว้ในบริเวณโรงเรียน

7.การแบ่งปุ๋ยที่ได้จากการทำปุ๋ยหมัก  โดยมีมติว่า  จะแบ่งออกเป็น  3 ส่วน  ส่วนที่ 1 แบ่งให้กับทุกครัวเรือนเท่าๆกัน  จำนวน 30 ครัวเรือน  ส่วนที่ 2 แบ่งตามความรับผิดชอบและหน้าที่  คนที่มาร่วมทำมากได้มาก  ส่วนที่ 3 แบ่งไว้สำหรับเป็นกองกลางเพื่อใช้ในชุมชนหมู่บ้าน

  • ผลจากการอบรมทำให้ตัวแทนครัวเรือนมีความรู้เกี่ยวกับประโยชน์ของการทำปุ๋ยหมักและน้ำหมักชีวภาพ  เข้าใจวิธีการทำและการนำไปใช้ในครัวเรือนทำให้ช่วยลดต้นทุนในการซื้อปุ๋ยเคมี  ลดรายจ่ายในครัวเรือน  เพิ่มรายได้หากมีการทำเพื่อจำหน่าย และที่สำคัญได้บริโภคพืชผลที่ปลอดจากสารเคมี ทำให้เกิดการรวมกลุ่มกันทำกิจกรรมแบบมีส่วนร่วม  ช่วยกันทำแบ่งกันใช้  แบ่งปันกันไปตามหน้าที่  ทำมากได้มากทำน้อยได้น้อย  เกิดกลุ่มใหม่ เช่น กลุ่มเด็กนักเรียนที่ต้องการทำปุ๋ยน้ำเพื่อใช้กับแปลงผักที่โรงเรียน จนเกิดกระแสการตื่นตัวที่จะทำปุ๋ยหมักและปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพ  มีกลุ่มองค์กรนอกพื้นที่เริ่มสนใจที่จะเข้ามาศึกษาดูงานและเรียนรู้  เช่น  แกนนำชุมชนจาก หมู่ที 10 บ้านบางหละเข้ามาร่วมสังเกตุการณ์  และมูลนิธิศุภนิมิตรฯ  ขอเชิญไปเป็นวิทยากรอบรมให้กับพื้นที่อื่น และจะมีการพัฒนาต่อยอด  ตอนนี้ได้มีการเสนอให้การสนับสนุนงบประมาณจากส่วนราชการในการทำปุ๋ยหมัก
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 1 คน จากที่ตั้งไว้ 1 คน
ประกอบด้วย

พี่เลี้ยงติดตามในพื้นที่

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

ทำปุ๋ยหมักและปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพ13 มกราคม 2015
13
มกราคม 2015รายงานจากพื้นที่ โดย จรุวัฒน์
circle
วัตถุประสงค์
  • ครัวเรือนมีการน้อมนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้อย่างน้อย 30 ครัวเรือน
circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. ผู้รับผิดชอบโครงการติดต่อประสานงานและจัดหาวัสดุอุปกรณ์ในการทำปุ๋ยหมักและปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพ
  2. จัดเตรียมสถานที่โดยใช้ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง  บ้าน อ.ชินวุฒิ  จันทร์แจ่ม เป็นสถานที่สาธิตและแหล่งเรียนรู้  จัดเตรียมอุปกรณ์ในการทำปุ๋ยหมัก  อาหารกลางวันและอาหารว่างโดยกลุ่มแม่บ้าน
  3. ประสานผู้บริหารและคุณครูอนามัยโรงเรียนบ้านสวนใหม่เพื่อนำเด็กนักเรียนเข้ามาร่วมกิจกรรมเรียนรู้
  4. เริ่มสาธิตการทำปุ๋ยหมักโดย อ.ชินวุฒิ  จันทร์แจ่ม  ได้แจกเอกสารคู่มือการทำปุ๋ยหมกและน้ำหมักชีวภาพแก่นักเรียนและตัวแทนครัวเรือนที่เข้าร่วมกิจกรรม  พร้อมทั้งได้อธิบายขั้นตอนการทำโดยละเอียด
  5. การแบ่งหน้าที่การรับผิดชอบ  อ.ชินวุฒิ  จันทร์แจ่ม  เสนอให้มีผู้รับผิดชอบมาเปิดเครื่องเติมอากาศให้กับกองปุ๋ยหมักทุก 2 วัน  โดยมีนายกิตติภูมิ  พิชัยกุลชน และนายภิญโญ  ศรีแสง เป็นผู้รับผิดชอบสลับสับเปลี่ยนกัน
  6. การทำปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพ  ได้แบ่งถังที่เหลือไปทำที่บ้านสมาชิกเป็นรายกลุ่มบ้าน และที่โรงเรียนบ้านสวนใหม่ 1 จุด เพื่อเด็กนักเรียนได้นำเอาเศษอาหารที่เหลือจากโรงอาหารมาทำปุ๋ยน้ำหมักไว้ใช้ในโรงเรียน  โดยคุณครูได้แบ่งหน้าที่ให้เด็กนักเรียนรับผิดชอบและเสนอแนะให้ทำแปลงผักไว้ในบริเวณโรงเรียน
  7. การแบ่งปุ๋ยที่ได้จากการทำปุ๋ยหมัก
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.ผู้รับผิดชอบโครงการติดต่อประสานงานและจัดหาวัสดุอุปกรณ์ในการทำปุ๋ยหมักและปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพ

  • ปุุ๋ยหมัก : ได้ติดต่อเพื่อสั่งซื้อขี้เลื่อยมาเป็นวัสดุทำปุ๋ยหมักเนื่องจากเป็นวัสดุที่ย่อยสลายได้ง่ายได้ผลดี  และเปลี่ยนวัสดุจากขี้วัวเป็นขี้ไก่เนื่องจาก อ.ชินวุฒ  จันทร์แจ่ม เสนอแนะว่าเป็นวัสดุที่ได้ผลมากกว่าแต่ราคาแพงกว่า  และขอสนับสนุน พด.1  จากสำนักงานพัฒนาที่ดิน อ.ท้ายเหมือง จ.พังงา
  • ปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพ : ได้ติดต่อเพื่อสั่งซื้อถัง 200 ลิตร  จำนวน 5 ใบ  กากน้ำตาล และขอสนับสนุน พด.2  จากสำนักงานพัฒนาที่ดิน อ.ท้ายเหมือง  ติดต่อขอเศษอาหารจากงานศพบริเวณหมู่บ้านใกล้เคียงเพื่อนำมาใช้เป็นวัสดุแทนเศษอาหารในครัวเรือนซึ่งมีจำนวนน้อย

2.จัดเตรียมสถานที่โดยใช้ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง  บ้าน อ.ชินวุฒิ  จันทร์แจ่ม เป็นสถานที่สาธิตและแหล่งเรียนรู้  จัดเตรียมอุปกรณ์ในการทำปุ๋ยหมัก  อาหารกลางวันและอาหารว่างโดยกลุ่มแม่บ้าน 3.ประสานผู้บริหารและคุณครูอนามัยโรงเรียนบ้านสวนใหม่เพื่อนำเด็กนักเรียนเข้ามาร่วมกิจกรรมเรียนรู้ 4.เริ่มสาธิตการทำปุ๋ยหมักโดย อ.ชินวุฒิ  จันทร์แจ่ม  ได้แจกเอกสารคู่มือการทำปุ๋ยหมกและน้ำหมักชีวภาพแก่นักเรียนและตัวแทนครัวเรือนที่เข้าร่วมกิจกรรม  พร้อมทั้งได้อธิบายขั้นตอนการทำโดยละเอียด

  • การทำปุ๋ยหมัก  : เริ่มจากการนำขี้เลื่อย และขี้ไก่ มากองรวมไว้ในบริเวณสถานที่ทำปุ๋ยหมัก ตามอัตราส่วน คือ ขี้เลื่อย 1,000 กิโลกรัม ต่อ ขี้ไก่ 400-500 กิโลกรัม คลุกเคล้าให้เข้ากันใส่ปุ๋ยยูเรีย 2 กิโลกรัม และ พด.1 ละลาย จำนวน 1 ซอง ละลายน้ำประมาณ  10 ลิตร  ทิ้งไว้  5 นาที  รดลงบนกองปุ๋ยหมักและคลุกเคล้าให้เข้ากันก่อนที่จะนำไปกองไว้บนท่อพีวีซีเติมอากาศทุก 2 วัน  ใช้เวลา 3 เดือน ก็จะได้ปุ๋ยหมักที่ผ่านการย่อยสลายของเชื้อจุลินทรีย์สามารถนำไปใช้กับแปลงผักและผลไม้ได้เลย
  • การทำปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพ : เริ่มจากการเตรียมอุปกรณ์ คือถัง 200 ลิตร  ใส่วัสดุเศษอาหารในครัวเรือน  เศษปลา  เศษผัก หรืออาจจะนำหน่อกล้วยมาหันเป็นชิ้นเล็กๆ  ประมาณ 50 กิโลกรัม  เติมกากน้ำตาล  10 กิโลกรัม  หัวเชื้ออีเอ็ม หรือ พด.2  จำนวน 1 ซอง ละลายน้ำประมาณ 10 ลิตร  ทิ้งไว้ประมาณ 5 นาที แล้วน้ำไปใส่รวมกันในถังคลุกเคล้าให้เข้ากัน  ปิดฝาป้องกันแมลงวันและสัตว์ลงไป  หมั่นคนทุก 2-3 วัน  ประมาณ 20-30 วัน ก็จะได้ปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพพร้อมที่จะไปใช้กับแปลงผักสวนครัวหรือไม้ผลได้อย่างดี  แต่อัตราการใช้ต่างกัน  ถ้าเป็นผักใช้ปริมาณ  1 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร  ไม้ผลใช้ปริมาณ 3-5 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร  การใช้ปริมาณเข้มข้นเกินไปจะทำให้เฉาหรืออาจจะทำให้ต้นไม้ตายได้

5.การแบ่งหน้าที่การรับผิดชอบ  อ.ชินวุฒิ  จันทร์แจ่ม  เสนอให้มีผู้รับผิดชอบมาเปิดเครื่องเติมอากาศให้กับกองปุ๋ยหมักทุก 2 วัน  โดยมีนายกิตติภูมิ  พิชัยกุลชน และนายภิญโญ  ศรีแสง เป็นผู้รับผิดชอบสลับสับเปลี่ยนกัน

6.การทำปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพ  ได้แบ่งถังที่เหลือไปทำที่บ้านสมาชิกเป็นรายกลุ่มบ้าน และที่โรงเรียนบ้านสวนใหม่ 1 จุด เพื่อเด็กนักเรียนได้นำเอาเศษอาหารที่เหลือจากโรงอาหารมาทำปุ๋ยน้ำหมักไว้ใช้ในโรงเรียน  โดยคุณครูได้แบ่งหน้าที่ให้เด็กนักเรียนรับผิดชอบและเสนอแนะให้ทำแปลงผักไว้ในบริเวณโรงเรียน

7.การแบ่งปุ๋ยที่ได้จากการทำปุ๋ยหมัก  โดยมีมติว่า  จะแบ่งออกเป็น  3 ส่วน  ส่วนที่ 1 แบ่งให้กับทุกครัวเรือนเท่าๆกัน  จำนวน 30 ครัวเรือน  ส่วนที่ 2 แบ่งตามความรับผิดชอบและหน้าที่  คนที่มาร่วมทำมากได้มาก  ส่วนที่ 3 แบ่งไว้สำหรับเป็นกองกลางเพื่อใช้ในชุมชนหมู่บ้าน

  • ผลจากการอบรมทำให้ตัวแทนครัวเรือนมีความรู้เกี่ยวกับประโยชน์ของการทำปุ๋ยหมักและน้ำหมักชีวภาพ  เข้าใจวิธีการทำและการนำไปใช้ในครัวเรือนทำให้ช่วยลดต้นทุนในการซื้อปุ๋ยเคมี  ลดรายจ่ายในครัวเรือน  เพิ่มรายได้หากมีการทำเพื่อจำหน่าย และที่สำคัญได้บริโภคพืชผลที่ปลอดจากสารเคมี ทำให้เกิดการรวมกลุ่มกันทำกิจกรรมแบบมีส่วนร่วม  ช่วยกันทำแบ่งกันใช้  แบ่งปันกันไปตามหน้าที่  ทำมากได้มากทำน้อยได้น้อย  เกิดกลุ่มใหม่ เช่น กลุ่มเด็กนักเรียนที่ต้องการทำปุ๋ยน้ำเพื่อใช้กับแปลงผักที่โรงเรียน จนเกิดกระแสการตื่นตัวที่จะทำปุ๋ยหมักและปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพ  มีกลุ่มองค์กรนอกพื้นที่เริ่มสนใจที่จะเข้ามาศึกษาดูงานและเรียนรู้  เช่น  แกนนำชุมชนจาก หมู่ที 10 บ้านบางหละเข้ามาร่วมสังเกตุการณ์  และมูลนิธิศุภนิมิตรฯ  ขอเชิญไปเป็นวิทยากรอบรมให้กับพื้นที่อื่น และจะมีการพัฒนาต่อยอด  ตอนนี้ได้มีการเสนอให้การสนับสนุนงบประมาณจากส่วนราชการในการทำปุ๋ยหมัก
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 76 คน จากที่ตั้งไว้ 75 คน
ประกอบด้วย

  ผู้รับผิดชอบโครงการ  ปราชญ์ชุมชน ตัวแทนครัวเรือน  และเด็กนักเรียนโรงเรียนบ้านสวนใหม่  จำนวน 76 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข
  1. วัสดุการทำปุ๋ยหมัก คือ ขี้เลื่อยหาได้ยาก  เนื่องจากต้องใช้ในปริมาณมากและในพื้นที่ไม่มีโรงเลื่อยขนาดใหญ่จึงจะต้องไปหาไกลทำให้ราคาแพงและต้องรอคิว  ถ้าจะใช้วัสดุที่มีในพื้นที่ คือ ซังปาล์มน้ำมันราคาถูกแต่การย่อยสลายไม่ดีต้องใช้เวลานานมากหลายเดือน  ทางคณะทำงานจึงลงมติให้มีการปรับเลื่อนเวลาการทำปุ๋ยล่าช้าจากแผนเดิมที่วางไว้ในปฏิทินพื้นที่  และมีการปรับเปลี่ยนวัสดุให้เหมาะสมและได้ประสิทธิภาพสูงสุดโดยใช้ในวงเงินงบประมาณที่ได้กำหนดไว้เดิม
  2. กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรมไม่ครบ 30 ครัวเรือน เนื่องจากบางครัวเรือนมีความจำเป็นไม่สามารถเข้าร่วมกิจกรรมได้  จึงได้แก้ไขโดยการเชิญกลุ่มเด็กนักเรียนเข้าร่วมแทนเพื่อจะได้ไปขยายผลต่อในกลุ่มผู้ปกครองที่บ้าน และเกิดการเรียนรู้ในเด็กและเยาวชน
  3. ปรับค่าใช้จ่ายในโครงการเนื่องจากงบประมาณในการอบรมและทำปุ๋ยหมักไม่พอ  จึงได้ใช้งบประมาณส่วนที่เหลือจากการจัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  จำนวน 7500 บาท มาใช้
circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นายศักดิ์ชาย เรืองศรี
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

ทำบุญตักบาตรวันปีใหม่1 มกราคม 2015
1
มกราคม 2015รายงานจากพื้นที่ โดย จรุวัฒน์
circle
วัตถุประสงค์
  • เพื่อให้ทุกครัวเรือนมีร่วมกิจกรรมงานประเพณี
circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  • คนในชุมชนร่วมทำบุญตักบาตรด้วย "ข้าวใหม่"  ข้าวไร่ที่ได้ร่วมกันตำในคืนวันที่ 31 ธันวาคม 2557 ที่วัดบ้านเตรียม
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. คณะทำงานได้จัดเตรียมข้าวไร่ที่ตำในคืนวันส่งท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่ วันที่ 31 ธันวาคม 2557  หุงเพื่อนำไปร่วมทำบุญตักบาตรในตอนเช้า
  2. เวลา 09.00 น. ผู้สูงอายุ ตัวแทนครัวเรือน และคณะทำงานโครงการ ไปพร้อมกันที่บริเวณศาลาธรรมวัดบ้านเตรียม  โดยได้นำปิ่นโตมาร่วมทำบุญถวายพระในช่วงพระฉันท์อาหารเพล  เนื่องจากตอนเช้าพระสงฆ์ทั้งอำเภอต้องไปพร้อมกันรับบิณฑบาตรที่หน้าที่ว่าการอำเภอคุระบุรี
  3. เริ่มพิธีไหว้พระสวดมนต์ ตักบาตรและถวายภัตตาหารแก่พระสงฆ์ โดยมีนางเรียม จันทร์ลอย  นายศักดิ์ชาย  เรืองศรี และตัวแทนร่วมตักบาตรด้วยข้าวใหม่เพื่อเป็นศิริมงคล
  4. พระครูสุนทรธรรมพินิจ  เจ้าอาวาสวัดบ้านเตรียม เจ้าคณะตำบลคุระ ได้กล่าวว่ากิจกรรมในหมู่บ้านสวนใหม่เป็นกิจกรรมที่ดีสมควรทำสืบต่อกันไปตลอดทุกปี  ซึ่งทางวัดบ้านเตรียมได้ให้พระสงฆ์ไปร่วมกิจกรรมมาโดยตลอดพร้อมทั้งได้มอบพระพุทธรูปเพื่อไว้สำหรับประกอบพิธีกรรมทางศาสนาและเป็นศิริมงคลแก่หมู่บ้านแล้ว
  5. แม่ชีหวง  วิเชียรครุฑ  ได้กล่าวขอให้เก็บเมล็ดพันธุ์ข้าวไร่ไว้เพื่อจะลองปลูกที่บ้านด้วยในปีหน้า
  • จากการจัดกิจกรรม ทำให้เกิดการการรวมกลุ่มจัดกิจกรรมทางศาสนาอย่างต่อเนื่อง ถึงแม้ว่าจะเป็นเพียงแค่ส่วนหนึ่งของคนส่วนใหม่ที่เข้ามาร่วมได้เฉพาะบางคนบางกิจกรรมเพราะเป็นวันหยุดเทศกาล ยังมีคนชอบสนุกสนานกับญาติพี่น้องกันบ้าง  แต่ส่วนใหญ่ก็มาร่วมกิจกรรมทางประเพณีและศาสนา  สิ่งที่ได้รับคือความสุขทางใจ  ทุกคนเห็นด้วยว่าเป็นกิจกรรมที่ดีและสมควรมีเป็นประจำทุกปี
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 25 คน จากที่ตั้งไว้ 30 คน
ประกอบด้วย
  1. ผู้สูงอายุ  11 คน
  2. แกนนำครัวเรือน  9 คน
  3. คณะทำงานโครงการ 5 คน
circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข
  1. เนื่องจากตรงกับช่วงวันเทศกาลกลุ่มเป้าหมายส่วนหนึ่งเดินทางออกนอกพื้นที่ ส่วนหนึ่งก็มีกิจกรรมรวมญาติกับครอบครัวที่บ้าน จึงทำให้กลุ่มเป้าหมายมาร่วมกิจกรรมไม่ครบ
  2. ไม่สามารถจะนิมนต์พระมาจัดกิจกรรมในหมู่บ้านได้ เนื่องจากพระที่วัดบ้านเตรียมมีนอ้ยและติดกิจนิมนต์จึงจำเป็นต้องไปร่วมทำบุญตักบาตรพร้อมกันที่วัดบ้านเตรียม
circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นายศักดิ์ชาย เรืองศรี
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

จัดงานเทศกาลส่งท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่31 ธันวาคม 2014
31
ธันวาคม 2014รายงานจากพี่เลี้ยง โดย ศักดิ์ชาย เรืองศรี
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อปลุกพลังสังคมโดยใช้ศาสนา ประเพณีวัฒนธรรมดั้งเดิม

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. คณะทำงานได้เตรียมงานพร้อมประสานทุกครัวเรือนโดยได้จัดทำเป็นเอกสารหนังสือแจ้งประชาสัมพันธ์กำหนดการณ์กิจกรรมล่วงหน้าประมาณ 5 วัน
  2. แกนนำชุมชน เด้กและเยาวชน เจ้าหน้าที่อุทยานแห่งชาติศรีพังงามาร่วมกันจัดเตรียมความพร้อมของสถานที่ ศาลาหมู่บ้าน ติดป้ายแถบสี เด็กและเยาวชนมาเป่าลูกโป่งเพื่อประดับประดาบริเวณงานส่งท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่
  3. ร่วมรับประทานอาหารเที่ยงที่บริเวณงาน
  4. ช่วงบ่ายจัดเตรียมห่อของขวัญปีใหม่ให้กับเด็กและเยาวชนที่เข้ามาร่วมงาน
  5. จัดสาธิตและสอนการตำ "ข้าวเม่า" ให้เด็กและเยาวชน
  6. ตำข้าวใหม่ "ข้าวซ้อมมือ" โดยผุ้สูงอายุและปราชญ์ชาวบ้านได้นำข้าวใหม่ที่เตรียมไว้เมื่อวันที่ 24 ธ.ค.57
  7. หยิบรางวัลของขวัญปีใหม่ที่ได้เตรียมไว้คนละ 1 ชิ้น ก่อนจะกลับบ้าน
  8. ร่วมรับประทานอาหารเย็นที่กลุ่มแม่บ้านได้จัดเตรียมไว้ส่วนหนึ่ง และบางส่วนต้องนำกลับไปทานที่บ้านเนื่องจากมีญาติพี่น้องมาเยี่ยมที่บ้าน
  9. ทีมงานพิธีกรรมทางศาสนานำโดยคุณตาเยื้อง ศรีแสง และคุณตาเจริญ  จิตมุ่ง  จัดเตรียมบริเวณศาลาให้เป็นสถานที่ไหว้พระสวดมสต์ทำวัตรเย็น ในตอนเวลา  1 ทุ่มตรง
  10. เริ่มพิธีไหว้พระสวดมนต์และทำวัตรเย็น
  11. เสร็จจากไหว้พระสวดมนต์ทำวัตรเย็นทุกคนได้พักผ่อนพูดคุยกัน
  12. ได้เวลา 23.00 น. ทุกคนมาพร้อมกันบริเวณศาลาอีกครั้ง  เพื่อเริ่มพิธีไหว้พระสวดมนต์ข้ามปี
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. คณะทำงานได้เตรียมงานพร้อมประสานทุกครัวเรือนโดยได้จัดทำเป็นเอกสารหนังสือแจ้งประชาสัมพันธ์กำหนดการณ์กิจกรรมล่วงหน้าประมาณ 5 วัน
  2. แกนนำชุมชน เด็กและเยาวชน เจ้าหน้าที่อุทยานแห่งชาติศรีพังงามาร่วมกันจัดเตรียมความพร้อมของสถานที่ ศาลาหมู่บ้าน ติดป้ายแถบสี เด็กและเยาวชนมาเป่าลูกโป่งเพื่อประดับประดาบริเวณงานส่งท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่
  3. ร่วมรับประทานอาหารเที่ยงที่บริเวณงาน
  4. ช่วงบ่ายจัดเตรียมห่อของขวัญปีใหม่ให้กับเด็กและเยาวชนที่เข้ามาร่วมงาน
  5. จัดสาธิตและสอนการตำ "ข้าวเม่า" ให้เด็กและเยาวชน
  6. ตำข้าวใหม่ "ข้าวซ้อมมือ" โดยผุ้สูงอายุและปราชญ์ชาวบ้านได้นำข้าวใหม่ที่เตรียมไว้เมื่อวันที่ 24 ธ.ค.57  ผ่านกรรมวิธีขั้นตอนการนวดเป็นเมล็ดข้าวเปลือก นำไปตากแดด 12 วัน  และนำมาตำด้วยครกไม้ 2 ครั้ง ครั้งแรกทำแบบข้าวกล้อง  ครั้งที่สองหลังจากที่ใช้กระด้ง "ฝัด" คัดแยกเปลือก "แกลบ" เมล็ดข้าวสารกับข้าวเปลือกเสร็จแล้วนำส่วนที่เป็นข้าวเปลือกมาตำซ้ำอีกครั้ง  แล้วจึงนำมา "ฝัด"และให้เด็กๆช่วยกันเลือกเมล็ดข้าวเปลือกที่เหลือปนออกก็เป็นอันเสร็จพิธี  สามรถเก็บไว้หุ้งในวันปีใหม่ได้เลย
  7. หลังจากที่เด็กๆสนุกและเหนื่อยกับการคัดแยกข้าวเปลือกออกจากข้าวสารก็ให้กำลังใจโดยการใช้หยิบรางวัลของขวัญปีใหม่ที่ได้เตรียมไว้คนละ 1 ชิ้น ก่อนจะกลับบ้าน เพราะเด็กนักเรียนสวนใหม่ส่วนใหญ่จะเป็นเด็กมุสลิม ไม่สามารถอยู่ร่วมกิจกรรมทางศาสนาในช่วงตอนกลางคืนได้
  8. ร่วมรับประทานอาหารเย็นที่กลุ่มแม่บ้านได้จัดเตรียมไว้ส่วนหนึ่ง และบางส่วนต้องนำกลับไปทานที่บ้านเนื่องจากมีญาติพี่น้องมาเยี่ยมที่บ้าน
  9. ทีมงานพิธีกรรมทางศาสนานำโดยคุณตาเยื้อง ศรีแสง และคุณตาเจริญ  จิตมุ่ง  จัดเตรียมบริเวณศาลาให้เป็นสถานที่ไหว้พระสวดมสต์ทำวัตรเย็น ในตอนเวลา  1 ทุ่มตรง
  10. เริ่มพิธีไหว้พระสวดมนต์และทำวัตรเย็นโดยนิมนต์พระคุณเจ้าจากวัดบ้านเตรียม  จำนวน 2 รูป ในเวลา 19.30 น.  ต้องล่าช้าเนื่องจากทางวัดบ้านเตรียมต้องทำกิจกรรมที่วัดให้เสร็จจึงมาร่วมกิจกรรมได้  มีผุู้มาร่วมกิจกรรมในช่วงสวดมนต์ จำนวน 85 คน เพราะส่วนหนึ่งกลับบ้านและมีกิจกรรมปีใหม่ในชุมชนจึงไม่ได้ออกมาร่วม  ส่วนใหญ่จะเป็นผู้สูงอายุ แม่บ้านและเด็ก
  11. ประกวดสวดมนต์ โดยมีเด็กเข้าร่วม จำนวน 4 คน คือ เด็กชายรัญชน์  เรืองศรี อายุ 7 ปี  เด็กชายศดานนท์ น้อยราช อายุ 11 ปี เด็กชายปฏิภาณ ผิวนิล 11 ปี และเด็กหญิงทิราพร ปลอดจินดา อายุ 10 ปี  ซึ่งได้รับการชื่นชมจากพระคุณเจ้าและผู้สูงอายุ  โดยได้รับรางวัลพิเศษจากผู้รับผิดชอบโครงการ พร้อมให้ฝึกซ้อมต่อเพื่อแสดงในวันสงกรานต์ 12.เสร็จจากไหว้พระสวดมนต์ทำวัตรเย็นทุกคนได้พักผ่อนพูดคุยกัน  ส่วนหนึ่งได้กลับบ้านเพื่อไปร่วมกิจกรรมกับญาติๆที่บ้าน  อีกส่วนหนึ่งอยู่รอจนเที่ยงคืน  โดยมีกลุ่มเด็กและเยาวชนกลุ่มเล็กได้นำเครื่องดนตรีมาเล่นฆ่าเวลา
  12. ได้เวลา 23.00 น. ทุกคนมาพร้อมกันบริเวณศาลาอีกครั้ง  เพื่อเริ่มพิธีไหว้พระสวดมนต์ข้ามปี  โดยมีนายศักดิ์ชาย  เรืองศรี เป็นผู้นำสวดมนต์แทนพระคุณเจ้าซึ่งกลับไปทำพิธีที่วัดบ้านเตรียม  บทสวดมนต์ที่ใช้เป็นบทสวดมนต์ง่ายๆที่ส่วนใหญ่จะสวดได้กันบ้างแล้ว เช่น บทสวดบูชาพระรัตนตรัย ถวายพรพร กรวดน้ำ คำแผ่เมตตา นมัสการพระอรหันต์ 8 ทิศ คาถาบูชาพระพุทธสิหิงค์ และพระคาถาชินบัญชร  จนถึงเวลา 01.00 น. ทุกคนได้ร่วมกันฉลองปีใหม่ด้วยการจุดพรุและกล่าวสวัสดีปีใหม่กัน พร้อมทั้งนัดกันไปตักบาตรทำบุญปีใหม่ที่วัดบ้านเตรียมในตอนเช้า
  • ผู้คนในชุมชนและหมู่บ้านใกล้เคียงได้มาร่วมกันจัดกิจกรรมประเพณีส่งท้ายปีเก่าและต้อนรับปีใหม่ในรูปแบบใหม่แทนที่จะสังสรรค์ดื่มกินกันที่บ้าน  เกิดปัญหาเมาเหล้าทะเลาะวิวาท์  และเสียเงินเสียทองฟุ้มเฟือย  มีการส่งเสริมการอนุรักษ์กิจกรรมประเพณีเก่าๆ  สร้างบรรยากาศที่เป็นมิตรทุกคนได้มีส่วนร่วมได้เห็นรอยยิ้ม  ได้เห็นคนที่ไม่เคยไปวัดไหว้พระสวดมนต์มาร่วมทั้งไหว้พระ  ไม่มีคนเมาในงาน  ไม่มีคนสูบบุหรี่บริเวณงาน  ผู้สูงอายุได้นำไหว้พระสวดมนต์  เด็กได้ฝึกสวดมนต์  ทุกคนลงความเห็นให้มีกิจกรรมดีๆแบบนี้ให้เป็นประจำทุกปี
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 1 คน จากที่ตั้งไว้ 1 คน
ประกอบด้วย

พี่เลี้ยงติดตามในพื้นที่

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

จัดกิจกรรมวันส่งท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่ที่ศาลาหมู่บ้าน31 ธันวาคม 2014
31
ธันวาคม 2014รายงานจากพื้นที่ โดย จรุวัฒน์
circle
วัตถุประสงค์
  • เพื่อให้ครัวเรือนมีการร่วมกิจกรรมงานประเพณี
circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. คณะทำงานได้เตรียมงานพร้อมประสานทุกครัวเรือนโดยได้จัดทำเป็นเอกสารหนังสือแจ้งประชาสัมพันธ์กำหนดการณ์กิจกรรมล่วงหน้าประมาณ 5 วัน
  2. แกนนำชุมชน เด้กและเยาวชน เจ้าหน้าที่อุทยานแห่งชาติศรีพังงามาร่วมกันจัดเตรียมความพร้อมของสถานที่ ศาลาหมู่บ้าน ติดป้ายแถบสี เด็กและเยาวชนมาเป่าลูกโป่งเพื่อประดับประดาบริเวณงานส่งท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่
  3. ร่วมรับประทานอาหารเที่ยงที่บริเวณงาน
  4. ช่วงบ่ายจัดเตรียมห่อของขวัญปีใหม่ให้กับเด็กและเยาวชนที่เข้ามาร่วมงาน
  5. จัดสาธิตและสอนการตำ "ข้าวเม่า" ให้เด็กและเยาวชน
  6. ตำข้าวใหม่ "ข้าวซ้อมมือ" โดยผุ้สูงอายุและปราชญ์ชาวบ้านได้นำข้าวใหม่ที่เตรียมไว้เมื่อวันที่ 24 ธ.ค.57
  7. หยิบรางวัลของขวัญปีใหม่ที่ได้เตรียมไว้คนละ 1 ชิ้น ก่อนจะกลับบ้าน
  8. ร่วมรับประทานอาหารเย็นที่กลุ่มแม่บ้านได้จัดเตรียมไว้ส่วนหนึ่ง และบางส่วนต้องนำกลับไปทานที่บ้านเนื่องจากมีญาติพี่น้องมาเยี่ยมที่บ้าน
  9. ทีมงานพิธีกรรมทางศาสนานำโดยคุณตาเยื้อง ศรีแสง และคุณตาเจริญ  จิตมุ่ง  จัดเตรียมบริเวณศาลาให้เป็นสถานที่ไหว้พระสวดมสต์ทำวัตรเย็น ในตอนเวลา  1 ทุ่มตรง
  10. เริ่มพิธีไหว้พระสวดมนต์และทำวัตรเย็น
  11. เสร็จจากไหว้พระสวดมนต์ทำวัตรเย็นทุกคนได้พักผ่อนพูดคุยกัน
  12. ได้เวลา 23.00 น. ทุกคนมาพร้อมกันบริเวณศาลาอีกครั้ง  เพื่อเริ่มพิธีไหว้พระสวดมนต์ข้ามปี
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. คณะทำงานได้เตรียมงานพร้อมประสานทุกครัวเรือนโดยได้จัดทำเป็นเอกสารหนังสือแจ้งประชาสัมพันธ์กำหนดการณ์กิจกรรมล่วงหน้าประมาณ 5 วัน
  2. แกนนำชุมชน เด้กและเยาวชน เจ้าหน้าที่อุทยานแห่งชาติศรีพังงามาร่วมกันจัดเตรียมความพร้อมของสถานที่ ศาลาหมู่บ้าน ติดป้ายแถบสี เด็กและเยาวชนมาเป่าลูกโป่งเพื่อประดับประดาบริเวณงานส่งท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่
  3. ร่วมรับประทานอาหารเที่ยงที่บริเวณงาน
  4. ช่วงบ่ายจัดเตรียมห่อของขวัญปีใหม่ให้กับเด็กและเยาวชนที่เข้ามาร่วมงาน
  5. จัดสาธิตและสอนการตำ "ข้าวเม่า" ให้เด็กและเยาวชน
  6. ตำข้าวใหม่ "ข้าวซ้อมมือ" โดยผุ้สูงอายุและปราชญ์ชาวบ้านได้นำข้าวใหม่ที่เตรียมไว้เมื่อวันที่ 24 ธ.ค.57  ผ่านกรรมวิธีขั้นตอนการนวดเป็นเมล็ดข้าวเปลือก นำไปตากแดด 12 วัน  และนำมาตำด้วยครกไม้ 2 ครั้ง ครั้งแรกทำแบบข้าวกล้อง  ครั้งที่สองหลังจากที่ใช้กระด้ง "ฝัด" คัดแยกเปลือก "แกลบ" เมล็ดข้าวสารกับข้าวเปลือกเสร็จแล้วนำส่วนที่เป็นข้าวเปลือกมาตำซ้ำอีกครั้ง  แล้วจึงนำมา "ฝัด"และให้เด็กๆช่วยกันเลือกเมล็ดข้าวเปลือกที่เหลือปนออกก็เป็นอันเสร็จพิธี  สามรถเก็บไว้หุ้งในวันปีใหม่ได้เลย
  7. หลังจากที่เด็กๆสนุกและเหนื่อยกับการคัดแยกข้าวเปลือกออกจากข้าวสารก็ให้กำลังใจโดยการใช้หยิบรางวัลของขวัญปีใหม่ที่ได้เตรียมไว้คนละ 1 ชิ้น ก่อนจะกลับบ้าน เพราะเด็กนักเรียนสวนใหม่ส่วนใหญ่จะเป็นเด็กมุสลิม ไม่สามารถอยู่ร่วมกิจกรรมทางศาสนาในช่วงตอนกลางคืนได้
  8. ร่วมรับประทานอาหารเย็นที่กลุ่มแม่บ้านได้จัดเตรียมไว้ส่วนหนึ่ง และบางส่วนต้องนำกลับไปทานที่บ้านเนื่องจากมีญาติพี่น้องมาเยี่ยมที่บ้าน
  9. ทีมงานพิธีกรรมทางศาสนานำโดยคุณตาเยื้อง ศรีแสง และคุณตาเจริญ  จิตมุ่ง  จัดเตรียมบริเวณศาลาให้เป็นสถานที่ไหว้พระสวดมสต์ทำวัตรเย็น ในตอนเวลา  1 ทุ่มตรง
  10. เริ่มพิธีไหว้พระสวดมนต์และทำวัตรเย็นโดยนิมนต์พระคุณเจ้าจากวัดบ้านเตรียม  จำนวน 2 รูป ในเวลา 19.30 น.  ต้องล่าช้าเนื่องจากทางวัดบ้านเตรียมต้องทำกิจกรรมที่วัดให้เสร็จจึงมาร่วมกิจกรรมได้  มีผุู้มาร่วมกิจกรรมในช่วงสวดมนต์ จำนวน 85 คน เพราะส่วนหนึ่งกลับบ้านและมีกิจกรรมปีใหม่ในชุมชนจึงไม่ได้ออกมาร่วม  ส่วนใหญ่จะเป็นผู้สูงอายุ แม่บ้านและเด็ก
  11. ประกวดสวดมนต์ โดยมีเด็กเข้าร่วม จำนวน 4 คน คือ เด็กชายรัญชน์  เรืองศรี อายุ 7 ปี  เด็กชายศดานนท์ น้อยราช อายุ 11 ปี เด็กชายปฏิภาณ ผิวนิล 11 ปี และเด็กหญิงทิราพร ปลอดจินดา อายุ 10 ปี  ซึ่งได้รับการชื่นชมจากพระคุณเจ้าและผู้สูงอายุ  โดยได้รับรางวัลพิเศษจากผู้รับผิดชอบโครงการ พร้อมให้ฝึกซ้อมต่อเพื่อแสดงในวันสงกรานต์ 12.เสร็จจากไหว้พระสวดมนต์ทำวัตรเย็นทุกคนได้พักผ่อนพูดคุยกัน  ส่วนหนึ่งได้กลับบ้านเพื่อไปร่วมกิจกรรมกับญาติๆที่บ้าน  อีกส่วนหนึ่งอยู่รอจนเที่ยงคืน  โดยมีกลุ่มเด็กและเยาวชนกลุ่มเล็กได้นำเครื่องดนตรีมาเล่นฆ่าเวลา
  12. ได้เวลา 23.00 น. ทุกคนมาพร้อมกันบริเวณศาลาอีกครั้ง  เพื่อเริ่มพิธีไหว้พระสวดมนต์ข้ามปี  โดยมีนายศักดิ์ชาย  เรืองศรี เป็นผู้นำสวดมนต์แทนพระคุณเจ้าซึ่งกลับไปทำพิธีที่วัดบ้านเตรียม  บทสวดมนต์ที่ใช้เป็นบทสวดมนต์ง่ายๆที่ส่วนใหญ่จะสวดได้กันบ้างแล้ว เช่น บทสวดบูชาพระรัตนตรัย ถวายพรพร กรวดน้ำ คำแผ่เมตตา นมัสการพระอรหันต์ 8 ทิศ คาถาบูชาพระพุทธสิหิงค์ และพระคาถาชินบัญชร  จนถึงเวลา 01.00 น. ทุกคนได้ร่วมกันฉลองปีใหม่ด้วยการจุดพรุและกล่าวสวัสดีปีใหม่กัน พร้อมทั้งนัดกันไปตักบาตรทำบุญปีใหม่ที่วัดบ้านเตรียมในตอนเช้า
  • ผู้คนในชุมชนและหมู่บ้านใกล้เคียงได้มาร่วมกันจัดกิจกรรมประเพณีส่งท้ายปีเก่าและต้อนรับปีใหม่ในรูปแบบใหม่แทนที่จะสังสรรค์ดื่มกินกันที่บ้าน  เกิดปัญหาเมาเหล้าทะเลาะวิวาท์  และเสียเงินเสียทองฟุ้มเฟือย  มีการส่งเสริมการอนุรักษ์กิจกรรมประเพณีเก่าๆ  สร้างบรรยากาศที่เป็นมิตรทุกคนได้มีส่วนร่วมได้เห็นรอยยิ้ม  ได้เห็นคนที่ไม่เคยไปวัดไหว้พระสวดมนต์มาร่วมทั้งไหว้พระ  ไม่มีคนเมาในงาน  ไม่มีคนสูบบุหรี่บริเวณงาน  ผู้สูงอายุได้นำไหว้พระสวดมนต์  เด็กได้ฝึกสวดมนต์  ทุกคนลงความเห็นให้มีกิจกรรมดีๆแบบนี้ให้เป็นประจำทุกปี
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 120 คน จากที่ตั้งไว้ 120 คน
ประกอบด้วย
  1. ผู้รับผิดชอบโครงการและคณะทำงาน
  2. สมาชิกในครอบครัว
  3. เด็กนักเรียนและคุณครูโรงเรียนบ้านสวนใหม่
  4. แกนนำ อสม. รพ.สต.เตรียม
  5. ชาวบ้านในหมู่บ้านใกล้เคียง
circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข
  • เนื่องจากกลุ่มเป้าหมายคนในพื้นที่มีน้อยและส่วนหนึ่งจะต้องออกไปร่วมกิจกรรมกับญาติพี่น้อง หรือเดินทางไปท่องเที่ยวนอกพื้นที่ทำให้ผู้ที่เข้าร่วมกิจกรรมไม่ได้ไปตามเป้าหมายท่วางไว้จึงมีความจำเป็นต้องประชาสัมพันธ์ทำหนังสือแจ้งกำหนดการล่วงหน้าส่วนหนึ่งอาจจะมาร่วมได้ในบางช่วงกิจกรรมและจำเป็นต้องเชิญเด็กนักเรียนและคุณครูบ้านสวนใหม่มาร่วมด้วยในกิจกรรมช่วงกลางวัน
  • กิจกรรมในช่วงกลางคืนตอนสวดมนต์ข้ามปีมีผู้สูงอายุและบางคนที่ทนง่วงไมไหวจำเป็นต้องกลับไปพักผ่อน หรือบางคนก็จะขอสวดมนต์ที่บ้านแทน
  • ค่าจัดทำป้ายปีใหม่ได้ขอปรับเป็นซื้อวัสดุ อุปกรณ์และป้ายสวัสดีปีใหม่แบบสำเร็จรูปแทน ในวงเงินเท่าเดิม คือ 500 บาท
circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นายศักดิ์ชาย เรืองศรี
circle
ข้อเสนอแนะต่อ
  • เนื่องจากเป็นพื้นที่ใหม่ยังไม่มีประสบการณ์ในการทำงานโครงการ โดยเฉพาะโครงการ สสส. อาจจะมีการไม่เข้าใจและจัดการที่ผิดพลาดบ้าง  อยากให้พี่เลี้ยงทุกระดับให้คำปรึกษาดุแลใกล้ชิด
circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่
  • ให้พี่เลี้ยงติดตามช่วยเหลืออย่างใกล้ชิด
พัฒนาเส้นทางถนนซอยและปลูกซ่อมต้นโกศลริมทาง30 ธันวาคม 2014
30
ธันวาคม 2014รายงานจากพี่เลี้ยง โดย ศักดิ์ชาย เรืองศรี
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อให้เกิดความรัก ความสามัคคี และการมีส่วนร่วมขึ้นในชุมชน

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  • เวลา 09.00-10.00 น. : ผู้รับผิดชอบโครงการและแกนนำครอบครัวได้ติดต่อหากิ่งต้นโกศลในหมู่บ้านมาเตรียมความพร้อมเพื่อปลูก
  • เวลว 10.00-12.00 น. : นายกิตติภูมิ พิชัยกุลชน ผู้รับผิดชอบโครงการได้เข้าไปประสานกับผู้บริหารและครูอนามัยโรงเรียนเพื่อขออนุญาตินำเด็กนักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมปลูกต้นโกศล และพัฒนาเส้นทางถนนซอยหน้าโรงเรียนบ้านสวนใหม่
  • เวลา 12.00 น. : - เวลา 13.30 น. :รับประทานอาหารกลางวัน
  • เวลา 13.30-14.00 น.: นายภิญโญ  ศรีแสง เจ้าหน้าที่อุทยานแห่งชาติศรีพังงา นำกิ่งต้นโกศลและเหล็กเสียมเพื่อเตรียมปักให้เด้กนักเรียนและชาวบ้านร่วมปลูกตามเส้นทางที่กำหนดไว้
  • เวลา 14.00 - 16.00 น. : แกนนำครอบครัว และนักเรียนโรงเรียนบ้านสวนใหม่ร่วมปลูกซ่อมต้นโกศลในเส้นทางถนนสายหน้าโรงเรียนบ้านสวนใหม่
  • คุณครูได้แบ่งหน้าที่ให้นักเรียนต้องรับผิดชอบ ปลูกคนละ 5 ต้น และให้ช่วยกันดูแลต้นโกศลเพราะเริ่มเข้าหน้าแล้ง
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. ผู้รับผิดชอบโครงการและแกนนำครอบครัวได้ติดต่อหากิ่งต้นโกศลในหมู่บ้านมาเตรียมความพร้อมเพืื่อปลูก 2.นายกิตติภูมิ พิชัยกุลชน ผู้รับผิดชอบโครงการได้เข้าไปประสานกับผู้บริหารและครูอนามัยโรงเรียนเพื่อขออนุญาตินำเด็กนักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมปลูกต้นโกศล และพัฒนาเส้นทางถนนซอยหน้าโรงเรียนบ้านสวนใหม่ 3.นายภิญโญ  ศรีแสง เจ้าหน้าที่อุทยานแห่งชาติศรีพังงา นำกิ่งต้นโกศลและเหล็กเสียมเพื่อเตรียมปักให้เด้กนักเรียนและชาวบ้านร่วมปลูกตามเส้นทางที่กำหนดไว้
  2. แกนนำครอบครัว และนักเรียนโรงเรียนบ้านสวนใหม่ร่วมปลูกซ่อมต้นโกศลในเส้นทางถนนสายหน้าโรงเรียนบ้านสวนใหม่  โดยคุณครูได้แบ่งหน้าที่ให้นักเรียนต้องรับผิดชอบ ปลูกคนละ 5 ต้น และให้ช่วยกันดูแลต้นโกศลเพราะเริ่มเข้าหน้าแล้ง 4.เด็กนักเรียนมีจิตสำนึกสาธารณะร่วมกันปลูกซ่อมต้นโกศลหน้าโรงเรียนและบริเวณเส้นทางสาธารณะ และอยากจะทำแปลงผักไว้ในบริเวณโรงเรียน 5.แกนนำครอบครัวได้มีส่วนร่วมกับกิจกรรมการพัฒนาเพื่อปรับภูมิทัศน์เส้นทางสาธารณะให้สวยงาม
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 1 คน จากที่ตั้งไว้ 1 คน
ประกอบด้วย

พี่เลี้ยงติดตามโครงการในพื้นที่

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

พัฒนาหมู่บ้านครั้งที่ 4 ซ่อมแซมต้นโกศลพร้อมพัฒนาเส้นทาง30 ธันวาคม 2014
30
ธันวาคม 2014รายงานจากพื้นที่ โดย จรุวัฒน์
circle
วัตถุประสงค์
  • เพื่อซ่อมแซมและปรับภูมิทัศตลอดเส้นทางในหมู่บ้าน
circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  • เวลา 09.00-10.00 น. : ผู้รับผิดชอบโครงการและแกนนำครอบครัวได้ติดต่อหากิ่งต้นโกศลในหมู่บ้านมาเตรียมความพร้อมเพื่อปลูก
  • เวลว 10.00-12.00 น. : นายกิตติภูมิ พิชัยกุลชน ผู้รับผิดชอบโครงการได้เข้าไปประสานกับผู้บริหารและครูอนามัยโรงเรียนเพื่อขออนุญาตินำเด็กนักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมปลูกต้นโกศล และพัฒนาเส้นทางถนนซอยหน้าโรงเรียนบ้านสวนใหม่
  • เวลา 12.00 น. : - เวลา 13.30 น. :รับประทานอาหารกลางวัน
  • เวลา 13.30-14.00 น.: นายภิญโญ  ศรีแสง เจ้าหน้าที่อุทยานแห่งชาติศรีพังงา นำกิ่งต้นโกศลและเหล็กเสียมเพื่อเตรียมปักให้เด้กนักเรียนและชาวบ้านร่วมปลูกตามเส้นทางที่กำหนดไว้
  • เวลา 14.00 - 16.00 น. : แกนนำครอบครัว และนักเรียนโรงเรียนบ้านสวนใหม่ร่วมปลูกซ่อมต้นโกศลในเส้นทางถนนสายหน้าโรงเรียนบ้านสวนใหม่
  • คุณครูได้แบ่งหน้าที่ให้นักเรียนต้องรับผิดชอบ ปลูกคนละ 5 ต้น และให้ช่วยกันดูแลต้นโกศลเพราะเริ่มเข้าหน้าแล้ง
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. ผู้รับผิดชอบโครงการและแกนนำครอบครัวได้ติดต่อหากิ่งต้นโกศลในหมู่บ้านมาเตรียมความพร้อมเพืื่อปลูก 2.นายกิตติภูมิ พิชัยกุลชน ผู้รับผิดชอบโครงการได้เข้าไปประสานกับผู้บริหารและครูอนามัยโรงเรียนเพื่อขออนุญาตินำเด็กนักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมปลูกต้นโกศล และพัฒนาเส้นทางถนนซอยหน้าโรงเรียนบ้านสวนใหม่ 3.นายภิญโญ  ศรีแสง เจ้าหน้าที่อุทยานแห่งชาติศรีพังงา นำกิ่งต้นโกศลและเหล็กเสียมเพื่อเตรียมปักให้เด้กนักเรียนและชาวบ้านร่วมปลูกตามเส้นทางที่กำหนดไว้
  2. แกนนำครอบครัว และนักเรียนโรงเรียนบ้านสวนใหม่ร่วมปลูกซ่อมต้นโกศลในเส้นทางถนนสายหน้าโรงเรียนบ้านสวนใหม่  โดยคุณครูได้แบ่งหน้าที่ให้นักเรียนต้องรับผิดชอบ ปลูกคนละ 5 ต้น และให้ช่วยกันดูแลต้นโกศลเพราะเริ่มเข้าหน้าแล้ง 4.เด็กนักเรียนมีจิตสำนึกสาธารณะร่วมกันปลูกซ่อมต้นโกศลหน้าโรงเรียนและบริเวณเส้นทางสาธารณะ และอยากจะทำแปลงผักไว้ในบริเวณโรงเรียน 5.แกนนำครอบครัวได้มีส่วนร่วมกับกิจกรรมการพัฒนาเพื่อปรับภูมิทัศน์เส้นทางสาธารณะให้สวยงาม
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 60 คน จากที่ตั้งไว้ 50 คน
ประกอบด้วย
  • ผู้รับผิดชอบโครงการ
  • ครูผู้บริหารโรงเรียนบ้านสวนใหม่
  • เด็กนักเรียน
  • แกนนำครอบครัว
  • อสม.
  • ผู้สูงอายุ
  • ชาวบ้านสวนใหม่
circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข
  1. เส้นทางปลูกต้นโกศลสองข้างทางถนนลูกรังเป็นหินแข็ง ทำให้ขุดยากและต้องฝังลึก เมื่อเริ่มเข้าหน้าแล้งอาจจะทำให้กิ่งตายได้ จึงต้องพยายามให้นักเรียนและบ้านใกล้เคียงช่วยดูแล
  2. ต้องใช้กิ่งโกศลจำนวนมากและเป็นการปลูกซ่อมครั้งที่สองจึงจำเป็นต้องไปหาจากหมู่บ้านใกล้เคียง
circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นายศักด์ชาย เรืองศรี
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

พัฒนาหมู่บ้านครั้งที่ 3 เกี่ยวข้าวไร่24 ธันวาคม 2014
24
ธันวาคม 2014รายงานจากพี่เลี้ยง โดย ศักดิ์ชาย เรืองศรี
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อให้เกิดความรัก ความสามัคคี และการมีส่วนร่วมขึ้นในชุมชน

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

09.00-10.00 น. ผู้รับผิดชอบโครงการ แกนนำครอบครัว ผู้สูงอายุและปราชญ์ชาวบ้าน ร่วมทำพิธี "รวบข้าว"
- 10.00-10.30 น. นายวินัย ณ ตะกั่วทุ่ง รักษาการนายอำเภอคุระบุรี  ประธานเริ่มพิธีแรกเกี่ยวข้าวไร่ - 10.30-11.00 น. ผู้สูงอายุ ปราชญ์ชาวบ้านสาธิตการเกี่ยวข้าวให้เด็กและเยาวชน และผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้ดูเป็นตัวอย่าง
- 11.00-12.00 น. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมร่วมเกี่ยวข้าว โดยนายวินัย ณ ตะกั่วทุ่ง ปลัดอาวุโส รักษาการนายอำเภอคุระบุรี เริ่มเกี่ยวตามด้วยหัวหน้าส่วนราชการต่างๆ และมอบให้เด็กและเยาวชน ชาวบ้านสวนใหม่ได้เกี่ยวต่อ
- 12.00-13.00 น.  พักรับประทานอาหารกลางวัน
- 13.00-14.00 น.  ผู้สูงอายุและปราชญ์ชาวบ้านสาธิตการตำข้าวเม่า และ"คลุกข้าวเม่า"
- 14.00-17.00 น.  ผู้เข้าร่วมกิจกรรมร่วมเกี่ยวข้าวต่อจนแล้วเสร็จ

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้รับผิดชอบโครงการ และแกนนำครอบครัว ผู้สูงอายุและปราชญ์ชาวบ้านนำโดย นายเยื้อง ศรีแสง และนางเรียม จันทร์ลอย ได้มาร่วมทำพิธี "รวบข้าว" เพื่อขอกับแม่โพสพ โดยมีข้าว ขนม น้ำ ปลาทั้งตัวมีหัวมีหาง และแรกเริ่มเกี่ยวพอเป็นพิธี ผู้รับผิดชอบโครงการเตรียมอุปกรณ์เกี่ยวข้าวไร่ เรียกว่า "แกละ" สำหรับชาวบ้านสวนใหม่เรียก "มัน" จำนวน 15 อัน เพื่อเตรียมไว้ให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมลองเกี่ยว - นายวินัย ณ ตะกั่วทุ่ง รักษาการนายอำเภอคุระบุรี  ประธานเริ่มพิธีแรกเกี่ยวข้าวไร่ โดยมีแกนนำครัวเรือน หัวหน้าส่วนราชการ ผู้นำชุมชนผู้นำท้องถิ่นมาร่วมด้วย เช่น สจ.เขตพื้นที่อำเภอคุระบุรี จำนวน 3 ท่าน คือ สจ.ธวัชชัย เนียมนาค สจ.สมหมาย แก้วจำปา สจ.วินัย ชูพันธ์ นายสุรชัย รักไทรทอง ผญ.หมู่ที่ 12 บ้านสวนใหม่ นายลิผีน สาลี ผญ.หมู่ที่ 4 บ้านเตรียม สอบต.ประสิทธิ์ เจ๊ะหวาง นายสายัญ ปานบุตร วชช.พังงา นายศักดา ประชุม ผอ.กศน.อำเภอคุระบุรี นายสมรักษ์ อุปการดี กศน.ตำบลคุระ นางกานดา เรืองศรี ผอ.รพ.สต.เตรียม นางสมใจ บุญมาเลิศ ประธาน อสม.รพ.สต.เตรียม แกนนำ อสม.และผู้สูอายุ รพ.สต.เตรียม
- ผู้สูงอายุ ปราชญ์ชาวบ้านสาธิตการเกี่ยวข้าวให้เด็กและเยาวชน และผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้ดูเป็นตัวอย่าง ปรากฏว่าผู้เข้าร่วมกิจกรรมส่วนใหญ่ไม่เคยเห็นการเกี่ยวแบบนี้ เด็กและเยาวชนตื่นเต้นอยากจะลองเกี่ยว แต่ต้องระวัง "แกละ" บาดมือ มีบางส่วนที่เกี่ยวไม่เป็นทำให้ "แกละ" หัก - ผู้เข้าร่วมกิจกรรมร่วมเกี่ยวข้าว โดยนายวินัย ณ ตะกั่ทุ่ง ปลัดอาวุโส รักษาารนายอำเภอคุระบุรี เริ่มเกี่ยวตามด้วยหัวหน้าส่วนราชการต่างๆ และมอบให้เด้กและเยาวชน ชาวบ้านสวนใหม่ได้เกี่ยวต่อ และได้นำข้าวเหนียวที่ปลูกไว้ส่วนหนึ่งมาสาธิตการตำข้าวเม่า โดยได้เลือกข้าวเหนียวที่เริ่มสุกสักครึ่งรวงนำมาแยกเม็ดออกจากรวงและทำการคั่วด้วยกะทะจนเม็ดข้าวเหนียวสุกจนแตกเล็กน้อยจึงนำมาตำด้วยครกไม้แล้วจึงแยกเอาเปลือกออกจากเม็ดข้าว โดยให้ผู้สูงอายุได้สาธิตทำให้เด้กๆดูก่อนแล้วจึงเริ่มจากนายวินัย ณ ตะกั่วทุ่ง ท่าน สจ.และหัวหน้าส่วนราชการได้ลองตำ เด็กและเยาวชนชอบและสนใจมาก สนุกกับการแยกเปลือกออกจากเม็ดข้าวเม่า
- ผู้สูงอายุและปราชญ์ชาวบ้านสาธิตการตำข้าวเม่า และ"คลุกข้าวเม่า" โดยนำเอามะพร้าวแก่(เปลือกยังมีสีเขียว)ทั้งน้ำและเนื้อขูดใส่คลุกกับข้าวเม่า ใส่น้ำตาลทรายและเติมเกลือนิดหนึ่งก็จะได้ "ข้าวเม่า" เป็นของหวานไว้ให้ได้ลองชิมกันในช่วงบ่าย - ผู้เข้าร่วมกิจกรรมร่วมเกี่ยวข้าวต่อจนแล้วเสร็จจึงได้รวบรวมไว้เพื่อจะทำการแบ่งเม็ดข้าวออกเป็น 3 ส่วน คือ
- ส่วนที่ 1. เก็บเมล็ดไว้ทำพันธุ์ในปีต่อไป
- ส่วนที่ 2. ตำเป็น "ข้าวกล้อง" ในคืนวันที่ 31 ธันวาคม 2557 เพื่อจะได้นำไปหุงเพื่อตักบาตรในวันปีใหม่ 1 มกราคม 2558
- ส่วนที่ 3. นำไปสีเป็น "ข้าวกล้อง"เพื่อแจกจ่ายให้กับชาวบ้านสวนใหม่และผู้ที่มาเข้าร่วมกิจกรรม และผู้สูงอายุในชุมชน

  • ผลจากการจัดกิจกรรมทำให้เกิดกระแสสังคมคนสวนใหม่ให้ได้ร่วมกันจัดกิจกรรมอนุรักษ์ประเพณีการปลูกข้าวไร่ และร่วมกันตำ "ข้าวเม่า" เด็กและเยาวชนได้รับการถ่ายทอดภูมิปัญญาเกี่ยวกับประเพณีการปลูกข้าวไร่ ได้เห็นกระบวนการและกรรมวิธีทุกขั้นตอนกว่าจะมาเป็นข้าวให้กินแต่ละเม็ดตั้งแต่การเตรียมดิน ปลูก บำรุงรักษา การป้องกันนก หนูแมลง จนกระทั่งการเก็บเกี่ยวที่มันยากลำบาก เด้กส่วนหนึ่งยากจะได้พันธุ์ข้าวไปปลูกไว้ที่หน้าบ้าน จึงได้แบ่งข้าวให้คนละ 5 รวง เกิดกระเแสตื่นตวที่อยากจะปลูกข้าวไร่ มีผู้สูงอายุและชาวบ้านส่วนหนึ่งที่เคยปลูกข้าวไร่มาก่อน แต่เนื่องจากละทิ้งประเพณีนี้มามากกว่า 20 ปี นึกอยากจะปลูกบ้างแต่ยังมีปัญหาเรื่องพื้นที่ปลูกจึงติดต่อเพื่อขอเม็ดพันธ์เพื่อจะลองนำไปปลูกในพื้นที่ว่างๆ ในปีหน้า และทำให้ทุกคนที่ร่วมกิจกรรมได้รับทราบถึงวีธีการเกี่ยวข้าว และการนึ่งข้าวมาทำข้าวเม้า
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 1 คน จากที่ตั้งไว้ 1 คน
ประกอบด้วย

พี่เลี้ยงติดตามโครงการในพื้นที่ 

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

พัฒนาหมู่บ้าน ครั้งที่ 3 เกี่ยวข้าวไร่24 ธันวาคม 2014
24
ธันวาคม 2014รายงานจากพื้นที่ โดย จรุวัฒน์
circle
วัตถุประสงค์
  • เพื่่อทุกคนมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรม
circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  • 09.00-10.00 น. ผู้รับผิดชอบโครงการ แกนนำครอบครัว ผู้สูงอายุและปราชญ์ชาวบ้าน ร่วมทำพิธี "รวบข้าว"
  • 10.00-10.30 น. นายวินัย ณ ตะกั่วทุ่ง รักษาการนายอำเภอคุระบุรี  ประธานเริ่มพิธีแรกเกี่ยวข้าวไร่
  • 10.30-11.00 น. ผู้สูงอายุ ปราชญ์ชาวบ้านสาธิตการเกี่ยวข้าวให้เด็กและเยาวชน และผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้ดูเป็นตัวอย่าง
  • 11.00-12.00 น. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมร่วมเกี่ยวข้าว โดยนายวินัย ณ ตะกั่วทุ่ง ปลัดอาวุโส รักษาการนายอำเภอคุระบุรี เริ่มเกี่ยวตามด้วยหัวหน้าส่วนราชการต่างๆ และมอบให้เด็กและเยาวชน ชาวบ้านสวนใหม่ได้เกี่ยวต่อ
  • 12.00-13.00 น.  พักรับประทานอาหารกลางวัน
  • 13.00-14.00 น.  ผู้สูงอายุและปราชญ์ชาวบ้านสาธิตการตำข้าวเม่า และ"คลุกข้าวเม่า"
  • 14.00-17.00 น.  ผู้เข้าร่วมกิจกรรมร่วมเกี่ยวข้าวต่อจนแล้วเสร็จ
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ผู้รับผิดชอบโครงการ และแกนนำครอบครัว ผู้สูงอายุและปราชญ์ชาวบ้านนำโดย นายเยื้อง ศรีแสง และนางเรียม จันทร์ลอย ได้มาร่วมทำพิธี "รวบข้าว" เพื่อขอกับแม่โพสพ โดยมีข้าว ขนม น้ำ ปลาทั้งตัวมีหัวมีหาง และแรกเริ่มเกี่ยวพอเป็นพิธี ผู้รับผิดชอบโครงการเตรียมอุปกรณ์เกี่ยวข้าวไร่ เรียกว่า "แกละ" สำหรับชาวบ้านสวนใหม่เรียก "มัน" จำนวน 15 อัน เพื่อเตรียมไว้ให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมลองเกี่ยว
  • นายวินัย ณ ตะกั่วทุ่ง รักษาการนายอำเภอคุระบุรี  ประธานเริ่มพิธีแรกเกี่ยวข้าวไร่ โดยมีแกนนำครัวเรือน หัวหน้าส่วนราชการ ผู้นำชุมชนผู้นำท้องถิ่นมาร่วมด้วย เช่น สจ.เขตพื้นที่อำเภอคุระบุรี จำนวน 3 ท่าน คือ สจ.ธวัชชัย เนียมนาค สจ.สมหมาย แก้วจำปา สจ.วินัย ชูพันธ์ นายสุรชัย รักไทรทอง ผญ.หมู่ที่ 12 บ้านสวนใหม่ นายลิผีน สาลี ผญ.หมู่ที่ 4 บ้านเตรียม สอบต.ประสิทธิ์ เจ๊ะหวาง นายสายัญ ปานบุตร วชช.พังงา นายศักดา ประชุม ผอ.กศน.อำเภอคุระบุรี นายสมรักษ์ อุปการดี กศน.ตำบลคุระ นางกานดา เรืองศรี ผอ.รพ.สต.เตรียม นางสมใจ บุญมาเลิศ ประธาน อสม.รพ.สต.เตรียม แกนนำ อสม.และผู้สูอายุ รพ.สต.เตรียม
  • ผู้สูงอายุ ปราชญ์ชาวบ้านสาธิตการเกี่ยวข้าวให้เด็กและเยาวชน และผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้ดูเป็นตัวอย่าง ปรากฏว่าผู้เข้าร่วมกิจกรรมส่วนใหญ่ไม่เคยเห็นการเกี่ยวแบบนี้ เด็กและเยาวชนตื่นเต้นอยากจะลองเกี่ยว แต่ต้องระวัง "แกละ" บาดมือ มีบางส่วนที่เกี่ยวไม่เป็นทำให้ "แกละ" หัก
  • ผู้เข้าร่วมกิจกรรมร่วมเกี่ยวข้าว โดยนายวินัย ณ ตะกั่ทุ่ง ปลัดอาวุโส รักษาารนายอำเภอคุระบุรี เริ่มเกี่ยวตามด้วยหัวหน้าส่วนราชการต่างๆ และมอบให้เด้กและเยาวชน ชาวบ้านสวนใหม่ได้เกี่ยวต่อ และได้นำข้าวเหนียวที่ปลูกไว้ส่วนหนึ่งมาสาธิตการตำข้าวเม่า โดยได้เลือกข้าวเหนียวที่เริ่มสุกสักครึ่งรวงนำมาแยกเม็ดออกจากรวงและทำการคั่วด้วยกะทะจนเม็ดข้าวเหนียวสุกจนแตกเล็กน้อยจึงนำมาตำด้วยครกไม้แล้วจึงแยกเอาเปลือกออกจากเม็ดข้าว โดยให้ผู้สูงอายุได้สาธิตทำให้เด้กๆดูก่อนแล้วจึงเริ่มจากนายวินัย ณ ตะกั่วทุ่ง ท่าน สจ.และหัวหน้าส่วนราชการได้ลองตำ เด็กและเยาวชนชอบและสนใจมาก สนุกกับการแยกเปลือกออกจากเม็ดข้าวเม่า
  • ผู้สูงอายุและปราชญ์ชาวบ้านสาธิตการตำข้าวเม่า และ"คลุกข้าวเม่า" โดยนำเอามะพร้าวแก่(เปลือกยังมีสีเขียว)ทั้งน้ำและเนื้อขูดใส่คลุกกับข้าวเม่า ใส่น้ำตาลทรายและเติมเกลือนิดหนึ่งก็จะได้ "ข้าวเม่า" เป็นของหวานไว้ให้ได้ลองชิมกันในช่วงบ่าย
  • ผู้เข้าร่วมกิจกรรมร่วมเกี่ยวข้าวต่อจนแล้วเสร็จจึงได้รวบรวมไว้เพื่อจะทำการแบ่งเม็ดข้าวออกเป็น 3 ส่วน คือ

    • ส่วนที่ 1. เก็บเมล็ดไว้ทำพันธุ์ในปีต่อไป
    • ส่วนที่ 2. ตำเป็น "ข้าวกล้อง" ในคืนวันที่ 31 ธันวาคม 2557 เพื่อจะได้นำไปหุงเพื่อตักบาตรในวันปีใหม่ 1 มกราคม 2558
    • ส่วนที่ 3. นำไปสีเป็น "ข้าวกล้อง"เพื่อแจกจ่ายให้กับชาวบ้านสวนใหม่และผู้ที่มาเข้าร่วมกิจกรรม และผู้สูงอายุในชุมชน
  • ผลจากการจัดกิจกรรมทำให้เกิดกระแสสังคมคนสวนใหม่ให้ได้ร่วมกันจัดกิจกรรมอนุรักษ์ประเพณีการปลูกข้าวไร่ และร่วมกันตำ "ข้าวเม่า" เด็กและเยาวชนได้รับการถ่ายทอดภูมิปัญญาเกี่ยวกับประเพณีการปลูกข้าวไร่ ได้เห็นกระบวนการและกรรมวิธีทุกขั้นตอนกว่าจะมาเป็นข้าวให้กินแต่ละเม็ดตั้งแต่การเตรียมดิน ปลูก บำรุงรักษา การป้องกันนก หนูแมลง จนกระทั่งการเก็บเกี่ยวที่มันยากลำบาก เด้กส่วนหนึ่งยากจะได้พันธุ์ข้าวไปปลูกไว้ที่หน้าบ้าน จึงได้แบ่งข้าวให้คนละ 5 รวง เกิดกระเแสตื่นตวที่อยากจะปลูกข้าวไร่ มีผู้สูงอายุและชาวบ้านส่วนหนึ่งที่เคยปลูกข้าวไร่มาก่อน แต่เนื่องจากละทิ้งประเพณีนี้มามากกว่า 20 ปี นึกอยากจะปลูกบ้างแต่ยังมีปัญหาเรื่องพื้นที่ปลูกจึงติดต่อเพื่อขอเม็ดพันธ์เพื่อจะลองนำไปปลูกในพื้นที่ว่างๆ ในปีหน้า และทำให้ทุกคนที่ร่วมกิจกรรมได้รับทราบถึงวีธีการเกี่ยวข้าว และการนึ่งข้าวมาทำข้าวเม้า

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 60 คน จากที่ตั้งไว้ 50 คน
ประกอบด้วย
  • ปลัดอาวุโส (รักษาการนายอำเภอคุระบุรี)
  • อสม.
  • ผู้สูงอายุ
  • สอบจ.เขตพื้นที่อำเภอคุระบุรี จำนวน 3 คน
  • ผู้ใหญ่บ้าน
  • อบต.
  • ครูนักศึกษาจาก กศน.คุระบุรี
  • นักเรียนโรงเรียนบ้านสวนใหม่
  • เยาวชนต้นกล้า อสม.
  • ประชาชนในพื้นที่
circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข
  1. รวงข้าวสุกไม่พร้อมกันทั้งแปลง เนื่องจากตอนปลูกส่วนหนึ่งที่เด็กช่วยกันปลูกข้าวไม่งอกจึงต้องซ่อมปลูกเสริมทีหลัง จึงต้องเว้นไว้ประมาณ 1 สัปดาห์แล้วค่อยเกี่ยวใหม่อีกครั้ง
  2. ข้าวมีร่องรอยนกกระจาบกินจำนวนมาก เนื่องจากเป็นแปลงข้าวเพียงแค่แปลงเดียวในอำเภอคุระบุรีจึงมีนกในบริเวณใกล้เคียงมารบกวนใช้หุ่นไล่กาก็ไม่กลัว จึงได้ใช้อวนตาข่ายดักนกและใช้ไม้ไฝ่มาประดิษฐ์เพื่อไล่นกก็ได้ผลดีระดับหนึ่ง
  3. เนื่องจากบริเวณรอบแปลงข้าวเป็นป่ารกและสวนปาล์มน้ำมัน จึงมีร่องลอยหนูเข้ามากัดกินข้าวจำนวนมากโดยเพาะอย่างยิ่งบริเวณชายป่าและบริเวณที่เป็น "ข้าวเหนียว"มากกว่า "ข้าวจ้าว" ชาวบ้านบอกว่า "ข้าวเหนียวรสชาตดีกว่าข้าวจ้าว" หนูชอบ
circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นายศักด์ชาย เรืองศรี
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

ประชุมคณะกรรมการและประเมินผล ครั้งที่ 615 ธันวาคม 2014
15
ธันวาคม 2014รายงานจากพื้นที่ โดย จรุวัฒน์
circle
วัตถุประสงค์
  • เพื่อชี้แจงรายละเอียดกิจกรรมโครงการ
circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  • 09.00 น.  นายศรเทพ บุญมี ผู้รับผิดชอบโครงการ เปิดการประชุม โดยการชี้แจงรายละเอียดความก้าวหน้าของโครงการ และกิจกรรมที่ดำเนินการล่าช้า และให้ที่ประชุมร่วมกันแสดงความคิดเห็น
  • ปิดประชุม เวลา 16.00 น.
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • นายศรเทพ บุญมี ผู้รับผิดชอบโครงการ เปิดการประชุม โดยการชี้แจงรายละเอียดความก้าวหน้าของโครงการ และกิจกรรมที่ดำเนินการล่าช้า คือ กิจกรรมการพัฒนาในเดือน พฤศจิกานยน 2557 เนื่องจากผู้รับผิดชอโครงการต้องติดภาระกิจนอกพื้นที่ และคณะทำงานก็ไม่พร้อม จึงขอเลื่อนกิจกรรมการพัฒนาหมู่บ้านเดือน พฤศจิกายน มาเป็นกิจกรรมการเกี่ยวข้าวไร่ในวันที่ 24 ธันวาคม 2557
  • นายกิตติภูมิ  พิชัยกุลชน เสนอให้กำหนดกิจกรรมพัฒนาในเดือน ธันวาคม 2557 เป็นวันที่ 30 ธันวาคม 2557 เพื่อจะได้ให้เด็กนักเรียนโรงเรียนบ้านสวนใหม่ได้เข้าร่วมกิจกรรมมากๆ และจะได้เตรียมความพร้อมบริเวณศาลาหมู่บ้านเพื่อได้จัดกิจกรรมวันส่งท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่ในวันที่ 31 ธันวาคม 2557 และให้คณะทำงานช่วยกันประชาสัมพันธ์ให้ทราบโดยทั่วกันโดยมีข้อเสนอในที่ประชุมให้ทำเป็นเอกสารหนังสือแจ้งให้ทุกครัวเรือนได้รับทราบ
  • นายภิญโญ ศรีแสง  เจ้าหน้าที่อุทยานแห่งชาติศรีพังงา  เสนอให้เตรียมหาอปกรณ์สำหรับเกี่ยวข้าวให้พร้อม และรับจัดหากิ่งต้นโกศลสำหรับให้เด็กนักเรียนและชาวบ้านร่วมกันปลูกในวันที่ 30 ธันวาคม 2557
  • นายศรเทพ บุญมี  รับผิดชอบสำหรับการจัดหาอุปกรณ์สำหรับตำข้าวในวันที่ 24 และ 31 ธันวาคม  โดยมีครกไม้ สากและกระด้ง
  • นางอรุณลดาพร ศรีแสงและนางสสิฐญา บุญทองช่วย  รับผิดชอบเกี่ยวกับการเตรียมเครื่องดื่มและอาหารว่างสำหรับเลี้ยงเด้กนักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรม เตรียมของขวัญสำหรับเด็กนักเรียนที่ร่วมกิจกรรมส่งท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่
  • ผลจากการประชุมระดมความคิดเห็น ทำให้มีการปรับเปลี่ยนแผนการดำเนินงานให้เข้ากับช่วงที่เหมาะสมกับชุมชน  มีการแบ่งบทบาทและหน้าที่ช่วยกันทำงาน  โดยการระดมทุนที่มีอยู่ในชุมชน และมีการสนับสนุนกิจกรรมให้นักเรียนเข้ามามีส่นร่วมมากขึ้น โดยเด็กนักเรียนส่วนหนึ่งเป็นเด็กนอกพื้นที่แต่มีความสนใจ
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 11 คน จากที่ตั้งไว้ 10 คน
ประกอบด้วย
  • ผู้รับผิดชอบโครงการ คณะทำงาน และพี่เลี้ยงโครงการ จำนวน 11 คน
circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข
  1. คณะทำงานติดภาระกิจนอกพื้นที่ มีความจำเป็นต้องมีการปรับเปลี่ยนแผนงานบางกิจกรรม
  2. กลุ่มเป้าหมายในพื้นที่มีน้อยและในช่วงวันหยุดปีใหม่มักจะออกไปนอกพื้นที่ เช่น ไปท่องเที่ยว เยี่ยมญาติ จึงมีความจำเป็นต้องมีการประชาสัมพันธ์เชิญชวนและแจ้งให้ทุกครัวเรือนทราบล่วงหน้า และเชิญชวนเด็กนักเรียนและชาวบ้านหมู่บ้านใกล้เคียงเข้าร่วมกิจกรรมด้วย
circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นายศักดิ์ชาย เรืองศรี
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

จัดทำป้ายประชาสัมพันธ์โครงการ30 พฤศจิกายน 2014
30
พฤศจิกายน 2014รายงานจากพื้นที่ โดย จรุวัฒน์
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อปลุกพลังสังคมโดยใช้ศาสนาประเพณีและวัฒนธรรมดั้งเดิม

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ประชุมคณะกรรมการโครงการ และติดป้ายประชาสัมพันธ์กิจกรรมโครงการบริเวณศาลาหมู่บ้านสวนใหม่

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

คณะทำงาน ตัวแทนครัวเรือนได้รับทราบกิจกรรมโครงการตามแผน

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 13 คน จากที่ตั้งไว้ 10 คน
ประกอบด้วย

คณะทำงานโครงการ ตัวแทนครัวเรือน และพี่เลี้ยงโครงการ

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นายศักดิ์ชาย เรืองศรี
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

ประชุมคณะกรรมการและประเมินผล ครั้งที่ 530 พฤศจิกายน 2014
30
พฤศจิกายน 2014รายงานจากพื้นที่ โดย จรุวัฒน์
circle
วัตถุประสงค์
  • เพื่อชี้แจงรายละเอียดกิจกรรมและวางแผนการทำงาน
circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  • ผู้รับผิดชอบโครงการ  รายงานกิจกรรมในช่วงเดือนที่ผ่านมาให้คณะกรรมการทราบความคืบหน้า
  • คณะกรรมการทุกคนเสนอความคิดเห็นแก่ที่ประชุม
  • กำหนดนัดหมายการประชุมครั้งต่อไป
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

สรุปการดำเนินกิจกรรมโดยประธานโครงการมีรายละเอียดดังนี้

  1. ขั้นตอนกระบวนการที่จะขับเคลื่อนกิจกรรมให้ชักชูงใจชาวบ้านให้ดียิ่งขึ้นกว่าเดิม
  2. กำหนดวันเกี่ยวข้าวไร่ได้ข้อตกลงว่าเป็นวันที่ 24 ธ.ค 57
  3. กำหนดกิจกรรมที่จะจัดปีใหม่ที่ศาลา
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 13 คน จากที่ตั้งไว้ 10 คน
ประกอบด้วย
  • คณะทำงานโครงการ
circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นายศักด์ชาย เรืองศรี
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

เข้าร่วมประชุมฟังคำชี้แจง ติดตามตรวจสอบเอกสารการเงินงวดที่ 1 จากเจ้าหน้าที่พี่เลี้ยง สจรส.11 พฤศจิกายน 2014
11
พฤศจิกายน 2014รายงานจากพี่เลี้ยง โดย ศักดิ์ชาย เรืองศรี
circle
วัตถุประสงค์

ติดตามโครงการในพื้นที่ร่วมกับ สจรส.

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

เข้าร่วมประชุมติดตามโครงการ สจรส. ที่ มอ.หาดใหญ่ เพื่อฟังคำชี้แจงและตรวจสอบหลักฐานเอกสารการเงินโครงการงวดที่ 1  ให้สัมภาษณ์การดำเนินโครงการกับ สสส.

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.พี่้นที่เข้าใจแนวทางในการดำเนินงานโครงการ  การเก็บหลักฐานเอกสารการเงิน  การทำบัญชีและการรายงานกิจกรรมโครงการของพื้นที่ 2.พื้นที่ได้รับการตรวจสอบหลักฐานเอกสารการเงิน เพื่อได้ปรับแก้ในเรื่องที่ไม่ถูกต้อง

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 1 คน จากที่ตั้งไว้ 1 คน
ประกอบด้วย

พี่เลี้ยงติดตามโครงการในพื้นที่

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

1.พื้นที่ยังขาดประสบการณ์การทำเอกสารหลักฐานการเงิน การจัดทำบัญชี  แก้ไขโดยการดูตัวอย่างพื้นที่อื่นและจากคำแนะนำของ จนท. สจรส. 2.การบันทึกกิจกรรมล่าช้าหลังจากวันที่ 10 พ.ย.57  จึงจำเป็นต้องเลื่อนมาบันทึกกิจกรรมในงวดที่ 2 ในวันที่ 11 พ.ย.57 แทน

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

ประชุมติดตามโครงการ ส่งรายงานการเงินงวดที่ 1 ที่ สจ.รส.11 พฤศจิกายน 2014
11
พฤศจิกายน 2014รายงานจากพื้นที่ โดย จรุวัฒน์
circle
วัตถุประสงค์

  เพื่อฟังคำชี้แจงและตรวจสอบหลักฐานเอกสารการเงินโครงการงวดที่ 1 

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

เข้าร่วมประชุมเพื่อฟังคำชี้แจง และตรวจสอบเอกสารหลักฐานการเงินงวดที่ 1 ให้สัมภาษณ์การดำเนินงานโครงการกับทีมงานสาระคดี ของ สสส.

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.เข้าใจแนวทางในการดำเนินงานโครงการ  การเก็บหลักฐานเอกสารการเงิน  การทำบัญชีและการรายงานกิจกรรมโครงการของพื้นที่

2.ได้รับการตรวจสอบหลักฐานเอกสารการเงิน เพื่อได้ปรับแก้ในเรื่องที่ไม่ถูกต้อง

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 2 คน จากที่ตั้งไว้ 2 คน
ประกอบด้วย

คณะทำงานโครงการ
1.นายจรุวัฒน์  เจริญสมัย 2.นายสสิฐญา  บุญทองช่วย

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

1.เอกสารหลักฐานการเงินยังไม่ถูกต้องในบางกิจกรรม  ต้องนำมาแก้ไขปรับปรุงใหม่ตามคำแนะนำของ จนท. สจรส. 2.การเข้าร่วมกิจกรรมประชุมติดตามโครงการได้ทำจริงในวันที่ 4 พฤศจิกายน 2557 แต่เนื่องจากพื้นที่ได้บันทึกกิจกรรมล่าช้าหลังจากการปิดยอดงวดที่ 1 คือ วันที่ 10 พฤศจิกายน 2557 จึงมีความจำเป็นต้องแก้ปัญหาโดยการบันทึกกิจกรรมลงในวันที่ 11 พฤศจิกายน 2557

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นายศักดิ์ชาย เรืองศรี
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

31 ตุลาคม 2014
31
ตุลาคม 2014รายงานจากพี่เลี้ยง โดย kannapat janthong
circle
วัตถุประสงค์

 

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

-ตรวจสอบหลักฐานทางการเงิน โดยตรวจสอบจากเอกสาร การบันทึกในสมุด การสรุปยอดค่าใช้จ่าย และกิจกรรมที่ได้ดำเนินงานการแล้ว -แนะนำวิธีการบันทึกกิจกรรมที่ได้ดำเนินการแล้วให้มีความสมบูรณ์และมีรายละเอียดให้ครบถ้วนและควรมีภาพกิจกรรมประกอบมากๆและให้ครอบคลุมทุกกิจกรรม -ตอบข้อซักถามต่างๆที่เกิดจากการปฏิบัติงาน

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-หลักฐานทางการเงินมีความถูกต้อง  ครบถ้วน -ผู้รับผิดชอบโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเขียนรายละเอียดของแต่ละกิจกรรมและมีภาพกิจกรรมประกอบด้วย

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

(0)

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข
circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-โปรแกรมไม่เสถียร(บันทึกแล้วหายหลายครั้งค่ะ)

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

จัดเก็บหลักฐานเกี่ยวกับการเงินให้ครบถ้วน

เข้าร่วมประชุมที่สสจ.พังงา ร่วมฟังชี้แจงการติดตามความก้าวหน้าโครงการ31 ตุลาคม 2014
31
ตุลาคม 2014รายงานจากพื้นที่ โดย จรุวัฒน์
circle
วัตถุประสงค์
  • เพื่อร่วมทำความเข้าใจเรื่องการรายงานโครงการ
  • เพื่อตรวจสอบเอกสารการเงินโครงการ
circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  • ออกเดินทางร่วมประชุมที่ สสจ.พังงา รับทราบขั้นตอนการดำเนินกิจกรรม
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ทราบถึงกระบวนการทำรายงานส่ง สสส.

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

เกือบได้ตามเป้าหมาย (2)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 3 คน จากที่ตั้งไว้ 2 คน
ประกอบด้วย
  • ตัวแทนกรรมการเดินทาง
  • นายจรุวัฒน์ เจริญสมัย
  • นายศรเทพ  บุญมี
  • นางสสิฐ์ญา บุญทองช่วย
circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นายศักด์ชาย เรืองศรี ,อุไรวรรณ ตันฑอาริยะ,kannapat janthon
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

ประชุมคณะกรรมการและประเมินผล ครั้งที่ 430 ตุลาคม 2014
30
ตุลาคม 2014รายงานจากพื้นที่ โดย จรุวัฒน์
circle
วัตถุประสงค์
  • ประชุมคณะกรรมการเพื่อชี้แจงรายละเอียดกิจกรรม
circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  • ประชุมสรุปกิจกรรมเรืองการอบรมปรัญญาเศรฐกิจพอเพียง
  • วางแผนเดินทางร่วมสรุปโครงการกับพี่เลี้ยงโครงการ ณ สสจ.พังงา
circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ทราบถึงผลตอบรับการทำงานที่ผ่านมาว่าชุมชนมีความพอใจในการทำงาน
  • แบ่งทีมงานเข้าร่วมอบรมที่จังหวัด
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 12 คน จากที่ตั้งไว้ 10 คน
ประกอบด้วย
  • แกนนำชุมชน
  • คณะกรรมการ รวม 12 คน
circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข
  • สภาพอากาศที่ไม่เอื้ออำนวยในการดำเนินกิจกรรม
circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นายศักด์ชาย เรืองศรี
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

ครัวเรือนบันทึกรายรับและรายจ่ายจากการปลูกปาล์ม29 ตุลาคม 2014
29
ตุลาคม 2014รายงานจากพื้นที่ โดย จรุวัฒน์
circle
วัตถุประสงค์

ได้ทราบถึงรายรับรายจ่ายแต่ละครัวเรือน

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.จัดอบรมการทำบัญชีครัวเรือน รายรับ-จ่ายจ่าย 2.แจกเอกสารและสมุดทำบัญชีครัวเรือนหลังคาเรือนละ 1 เล่ม
3.ให้ทุกครัวเรือนได้ทดลองทำบัญชีครัวเรือน โดยแยกเป็นรายรับ รายจ่าย คงเหลือ เร่ิมบันทึกตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน 2557 เป็นรายวัน 4.ให้ทุกครัวเรือนนำสมุดบัญชีครัวเรือนมาในวันจัดกิจกรรมที่ศาลาเป็นประจำทุกเดือนๆละ อย่างน้อย 1 ครั้ง

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

แต่ละครัวเรือนได้ทราบรายรับรายจ่ายในแต่ละวัน รู้จักการวางแผนการใช้เงินในแต่ละเดือน

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 45 คน จากที่ตั้งไว้ 30 คน
ประกอบด้วย

ตัวแทนครัวเรือน 45 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

ผู้สูงอายุบางคนยังไม่เข้าใจเกี่ยวกับการทำบัญชี สายตาไม่ดีมองไม่เห็น จึงจำเป็นต้องให้มีพี่เลี้ยงหรือให้ลูกหลายคอยช่วย

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นายศักด์ชาย เรืองศรี
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

--

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับหลักปรัชญาแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงให้กับบ้านที่เข้าร่วมโครงการ29 ตุลาคม 2014
29
ตุลาคม 2014รายงานจากพื้นที่ โดย จรุวัฒน์
circle
วัตถุประสงค์

เพื่อให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการน้อมนำแนวหลักเศษฐกิจพอเพียงไปใช้ในชีวิตประจำวัน

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.ประสานงาน รพ.สต.เตรียม เพื่อขอเจ้าหน้าที่มาให้บริการตรวจสุขภาพประจำปีให้กับผู้เข้าร่วมกิจกรรม 2.จัดเตรียมสถานที่จัดกิจกรรม ช่วงเช้า เวลา 09.00-10.00 น. : เจ้าหน้าที่ รพ.สต.เตรียม ตรวจสุขภาพประจำปีให้กับผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 30 คน เวลา 10.00-12.00 น. : พิธีทางศาสนาทำบุญเลี้ยงพระ และร่วมรับประทานอาหารกลางวันพร้อมกัน 3.ช่วงบ่าย หลังเสร็จพิธีกรรมทางศาสนาได้ร่วมรับประทานอาหารกลางวันพร้อมกัน เวลา 13.00-14.00 : คุณสมใจ บุญมาเลิศ  ได้มาพูดแนะนำเรื่องปรัชญาเศษกิฐพอเพียงและทำการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับชุมชนต้นแบบ "บ้านทุ่งนางดำ" เวลา 14.00-15.00 : ฝึกหัดทำบัญชีครัวเรือน 4.นายศักดิ์ชาย  เรืองศรี พี่เลี้ยงติดตามโครงการ 5.นายศรเทพ บุญมี พบปะผู้เข้าร่วมกิจกรรม

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.ผู้เข้าร่วมอบรมได้มีการเข้าใจในการน้อมนำหลักปรัชญาเศฐกิจพอเพียงไปใช้ในชีวิตประจำวัน 2.ผู้เข้าร่วมอบรมสามารถทำบัญชีครัวเรือนได้

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 45 คน จากที่ตั้งไว้ 70 คน
ประกอบด้วย

ตัวแทนแต่ละครัวเรือน 45 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นายศักด์ชาย เรืองศรี
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

จัดกิจกรรมพัฒนาหมู่บ้าน สถานที่สาธารณะ ครั้งที่ 219 ตุลาคม 2014
19
ตุลาคม 2014รายงานจากพื้นที่ โดย จรุวัฒน์
circle
วัตถุประสงค์

ทุกคนมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรม

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.คณะทำงานได้ติดต่อประสานงานขอกิ่งต้นโกศลจากบ้านไร่ใน อำเภอสุขสำราญ จ.ระนอง มาเตรียมไว้เพื่อปลูกตามแนวถนน โดยทำการตัดหญ้าไปก่อนล่วงหน้า 2.นัดพบชาวบ้านบริเวณศาลาหมู่บ้าน โดยแบ่งออกเป็น 2 ชุด
ชุดที่ 1 นำโดยนางอรุณลดาพร ศรีแสง รับผิดชอบในการถอนหญ้าข้าวไร่ ส่วนใหญ่จะเป็นผู้หญิงและเด็กโดยมีอุปกรณ์จอบและถุงมือผ้า
ชุดที่ 2 นำโดยนายศรเทพ บุญมี รับผิดชอบในการดายหญ้าข้างทางและปลูกกิ่งต้นโกศลตามแนวถนนในหมู่บ้าน สำหรับผู้ที่ไม่สามารถมาร่วมกิจกรรมได้ให้รับกิ่งต้นโกศลไว้ปลูกแนวถนนหน้าบ้านตนเอง

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.ชุมชนได้ร่วมกันปลูกกิ่งต้นโกศลเพื่อเป็นการปรับภูมิทัศน์ข้างถนนในหมู่บ้านให้สวยงามและตกแต่งหน้าบ้านให้ดูดีตลอดทั้งเส้นทาง จำนวน 1,000 ต้น 2.ชุมชนได้ร่วมกันถอนหญ้าข้าวในแปลงข้าวไร่ทำให้เกิดการเรียนรู้ในกระบวนการปลูกข้าว การรักษา มีความรักสามัคคี

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 60 คน จากที่ตั้งไว้ 100 คน
ประกอบด้วย

ตัวแทนครัวเรือนในชุมชน จำนวน 60 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

1.บางครัวเรือนไม่สามารถเข้าร่วมกิจกรรมได้ จึงมอบกิ่งโกศลไว้ในปลูกหน้าบ้านตนเอง หรือให้ตัวแทนเด็กๆเข้ามาร่วมกิจกรรมแทน

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นายศักด์ชาย เรืองศรี
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

ประชุมคณะกรรมการและประเมินผล ครั้งที่ 36 ตุลาคม 2014
6
ตุลาคม 2014รายงานจากพื้นที่ โดย จรุวัฒน์
circle
วัตถุประสงค์

สรุปและติดตามงานที่ผ่านมาและจะมาถึง

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.นายศรเทพ บุญมี ผู้รับผิดชอบโครงการ เปิดการประชุมและชี้แจงความก้าวหน้าโครงการต่อคณะทำงาน
2.นายภิญโญ ศรีแสง เสนอให้คณะทำงานช่วยนัดชาวบ้านเพื่อร่วมกันถอนหญ้าข้าวไร่ที่ได้ปลูกไว้ในวันที่ 12 สิงหาคม เนื่องหญ้าเริ่มสูงมากแล้วทำให้ข้าวโตช้า โดยขอแรงจากครัวเรือนในวันพัฒนาหมู่บ้านประมาณ 30-40 คน ที่ประชุมเห็นด้วยและมอบหมายให้นายพานิช พรหมเจริญ ช่วยประสานงาน
3.นายกิตติภูมิ พิชัยกุลชน เสนอให้ติดต่อขอกิ่งโกศลจากหมู่บ้านอื่นบ้างเพราะในหมู่บ้านมีน้อย นายศรเทพ บุญมีและนายจรุวัฒน์ เจริญสมัย เสนอให้ไปขอที่ผู้ใหญ่บ้านไร่ใน อำเภอสุขสำราญ จ.ระนอง เพราะมีจำนวนมาก และอาสาไปเอาก่อนหน้าปลูกสัก 1-2 วัน 4.นายศรเทพ บุญมี เสนอให้ชักชวนเด็กๆมาร่วมกันให้เยอะก่อนปิดประชุม

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ได้ข้อสรุปกิจกรรมที่ดำเนินการผ่านมาเอาปัญหาและอุปสรรคมาปรับแก้ไขอย่างเรื่องสภาพอากาศที่บางครั้งตรงกับวันทำกิจกรรมทำให้ไม่สามารถดำเนินงานได้ก็ให้ปรับเปลี่ยนตามความเหมาะสม

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 10 คน จากที่ตั้งไว้ 10 คน
ประกอบด้วย

คณะกรรมการและแกนนำ 10 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นายศักด์ชาย เรืองศรี
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

จัดกิจกรรมพัฒนาหมู่บ้าน สถานที่สาธารณะ ครั้งที่ 121 กันยายน 2014
21
กันยายน 2014รายงานจากพื้นที่ โดย จรุวัฒน์
circle
วัตถุประสงค์

ทุกคนมีส่วนร่วมในการพัฒนาหมู่บ้าน

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.ช่วงเช้าทำบุญเลี้ยงพระที่ศาลา 2.รับประมานอาหารเที่ยงพร้อมกันที่ศาลา 3.ช่วงบ่ายพัฒนาหมู่บ้านโดยแบ่งออกเป็น 2 ทีม   ทีมงานผู้ชาย  : ช่วยกันตัดหญ้าข้างทางในหมู่บ้านระยะทางประมาณ 5 กม.   ผู้หญิงและเด็ก : ปลูกต้นไม้บ้านผู้สูงอายุ โดยได้ขอสนับสนุนกล้าผักจาก รพ.สต.เตรียม เพื่อออกเยี่ยมและปลูกที่บ้านผู้สูงอายุ โดยให้เด็กช่วยติดตามดูแลผักร่วมกับผู้สูงอายุและให้ผู้สูงอายุช่วยเล่าเรื่องรายประวัติความเป็นมาของหมู่บ้าน หรือเล่านิทานให้เด็กเพื่อให้เด็กได้มีความผูกพันกับผู้สูงอายุ ผู้สูงอายุไม่เหงา และเพื่อให้เด็กได้นำนิทานมาเล่าให้เพื่อนๆฟังในวันผู้สูงอายุที่ศาลาหมู่บ้านอีกครั้ง

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.สมาชิกในครัวเรือนได้เข้ามาร่วมจัดกิจกรรมทางศาสนา พัฒนาหมู่บ้านและเด็กเยาวชนได้มีปฎิสัมพันธ์กับผู้สูงอายุโดยเอาต้นไม้ หรือแปลงผักเป็นตัวเชื่อมความสัมพันธ์ เด็กและเยาวชนได้รับรู้ประวัติศาสตร์ชุมชน เกิดจิตสำนึกรักษ์บ้านเกิดและบรรพชน 2.ร่วมพัฒนาสองข้างทางให้มีความสวยงาม เดินทางสะดวกปลอดภัยทำให้ได้พื้นผิวจราจรกลับมาเนื่องจากมีหญ้าปกคลุมถนน
3.ร่วมพัฒนาบริเวณศาลาหมู่บ้านแต่ไม่ต้องทำฐานที่ตั้งพระพุทธรูปและที่นั่งพระสงฆ์แล้วเนื่องจากชาวบ้านได้ร่วมกันสมทบโครงการและลงแรงช่วยกันทำก่อนหน้าที่ได้รับเงินสนับสนุนจากโครงการประมาณ 1 เดือน

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 100 คน จากที่ตั้งไว้ 100 คน
ประกอบด้วย

ตัวแทนครัวเรือนมีส่วนร่วม 100 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

1.เนื่องจากมีกิจกรรมตลอดทั้งวันแกนนำครัวเรือนและสมาชิกบางคนอาจจะไม่ได้อยู่ร่วมตลอดวัน จึงขอให้มีตัวแทนอยู่ร่วมพัฒนาถนนสาธารณะหรือดูแลเฉพาะบริเวณแนวหน้าบ้านของตนเอง 2.ไม่สามารถหากต้นกล้าไม้ให้เด็กปลูกบ้านผู้สูงอายุทัน คณะกรรมการจึงมีแนวคิดเปลี่ยนเป็นต้นกล้าผักเพราะหาง่ายและระยะเวลาปลูกดูแลบำรุงรักษาสั้นกว่า จึงได้ไปประสานขอรับจาก รพ.สต.เตรียม
3.ไม่สามารถให้ผู้สูงอายุเล่านิทานได้ในครั้งแรกเนื่องจากเวลามีน้อย และบรรยากาศไม่เอื้อจึงเป็นโอกาสหน้าที่เด็กมาเยี่ยมผู้สูงอายุและดูแลแปลงผัก

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นายศักด์ชาย เรืองศรี
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

ติดป้ายเขตปลอดบุหรี่20 กันยายน 2014
20
กันยายน 2014รายงานจากพื้นที่ โดย จรุวัฒน์
circle
วัตถุประสงค์

ประชุมหมู่บ้านเพื่อร่างเป็นข้อกำหนดกติกาของชุมชน

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

สั่งทำป้ายไวนิลและนำมาติดที่บริเวณศาลาประจำหมู่บ้าน

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

กำหนดมาตรการทางสังคม กฎกติกาชุมชน ขอความร่วมมือทุกคนที่เข้าร่วมกิจกรรมงดการสูบบุหรี่ ดื่มสุราและเครื่องดื่มแอลกอฮอล์บริเวณศาลาในขณะจัดกิจกรรมของโครงการ

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 100 คน จากที่ตั้งไว้ 1 คน
ประกอบด้วย

คนในชุมชนบ้านสวนใหม่

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นายศักด์ชาย เรืองศรี
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

คณะทำงาน แกนนำชุมชนและ อสม.ร่วมกันจัดกิจกรรมออกเยี่ยมบ้านเพื่อศึกษาข้อมูล15 กันยายน 2014
15
กันยายน 2014รายงานจากพื้นที่ โดย จรุวัฒน์
circle
วัตถุประสงค์
  • ได้ทราบถึงรายรับรายจ่ายแต่ละครัวเรือน
circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.ออกแบบและจัดทำแบบสำรวจข้อมูลครัวเรือน  จำนวน 40  ชุด 2.ทำความเข้าใจเกี่ยวกับการกรอบแบบสำรวจข้อมูลครัวเรือน
3.จัดทำแผนการออกเยี่ยมบ้านเพื่อสำรวจข้อมูลคัดเลือกทีมงานเก็บข้อมูล จำนวน 3 คน คือ
ออกเยี่ยมแต่ละครัวเรือนพร้อมทำบัญชีและรายรับของแต่ละครัวเรือน

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ได้ทราบจำนวนประชากรที่มีอยู่ตามทะเบียนบ้านและจำนวนคนที่อาศัยอยู่จริงณ ปัจจุบันและทราบลายละเอียดรายรับรายจ่ายของแต่ละครัวเรือน

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 35 คน จากที่ตั้งไว้ 35 คน
ประกอบด้วย

ตัวแทนครัวเรือนในชุมชน 35 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

_

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นายศักด์ชาย เรืองศรี
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

_

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

_

ประชุมคณะกรรมการและประเมินผล ครั้งที่ 22 กันยายน 2014
2
กันยายน 2014รายงานจากพื้นที่ โดย จรุวัฒน์
circle
วัตถุประสงค์

สรุปและติดตามงานที่ผ่านมาและจะมาถึง

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ทุกคนพร้อมกันที่ศาลาประจำหมู่บ้าน 1.ประธานอธิบายขั้นตอนดำเนินงานและปัญหาที่ผ่านมาและให้ทุกคนมีส่วนในการขับเคลื่อนกิจกรรม - กิจกรรมปลูกข้าวไร่  ข้าวงอกไม่เต็มเนื่องจากในช่วงที่เด็กปลูกมีข้าวขาดเยอะ หรืออาจะเป้นเพราะนกหรือหนูขุดข้าวกินเป็นจำนวนมาก  เนื่องจากรอบแปลงปลูกข้าวเป็นสวนปาล์มน้ำมันมีหนูชุมชุม  และมีนกเขาลงกินข้าวประมาณ 10-20 ตัว  จึงจำเป็นต้องมีการนัดปลูกซ้ำในวันที่ 25
2.นายภิญโญ  ศรีแสง  เสนอให้นัดมาทำหญ้าข้าวในช่วงต้นเดือน กันยายนนี้  เพราะไม่งั้นหญ้าจะขึ้นสูงเกินไป  ทุกคนเห็นด้วยและเสนอให้เป็นช่วงวันหยุด เสาร์-อาทิตย์ 3.วางแผนเตรียมความพร้อมสำหรับการออกสำรวจเพื่อเก็บข้อมูลครัวเรือน ในวันที่ 15 ก.ย.57 โดยช่วยกันออกแบบและอธิบายทำความเข้าใจเกี่ยวกับแบบสำรวจ 4.สรุปการประชุม  บันทึกวาระการประชุม

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

คณะกรรมการได้มาปรึกษาหารือและชี้แจงความก้าวหน้าของโครงการ  พร้อมสรุปปัญหาและแนวทางการแก้ไขร่วมกัน

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 18 คน จากที่ตั้งไว้ 10 คน
ประกอบด้วย

คณะกรรมการและตัวแทนครัวเรือน 18 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

เรื่องสภาพอากาศเพราะในพื้นที่ฝนตกมากจึงทำให้การดำเนินงานล้าช้ากว่าที่ตกลงไว้

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นายศักด์ชาย เรืองศรี
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

_

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

_

รวมกลุ่มปลูกข้าวไร่ “ปลูกวันแม่เกี่ยววันพ่อสานต่อพระราชปณิธานสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่นอยู่กินอย่างไทย"12 สิงหาคม 2014
12
สิงหาคม 2014รายงานจากพื้นที่ โดย จรุวัฒน์
circle
วัตถุประสงค์

ทุกคนมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรม

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.การเตรียมการ -เตรียมพื้นที่สำหรับปลูกข้าวไร่ โดยได้รับการเสนอพิจารณาให้เอาที่ดินว่างเปล่าใต้สายไฟแรงสูง(ลิกไนท์) บริเวณใกล้โรงเรียนบ้านสวนใหม่ เนื้อที่ประมาณ 3 ไร่ โดยการปราบหญ้าและวัชพืชคลุมดิน -เตรียมพันธ์ข้าวไร่ โดยได้คัดเลือกพันธ์ุข้าวไร่ที่เหมาะสำหรับพื้นที่ใกล้เคียง คือ พันธ์ุข้าว "ดอกข่า" จากบ้านตากแดด อ.เมือง จ.พังงา  จำนวน 1 กระสอบปุ๋ย -เตรียมคน โดยได้ประสานกับตัวแทนครัวเรือน ผู้นำชุมชน  ผู้สูงอายุและเด็กเยาวชนในพื้นที่ และมีเยาวชนต้นกล้า อสม.จาก รพ.สต.เตรียม มาร่วมสังเกตุการณ์และปลูกข้าวไร่ในครั้งนี้ -เตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์  เช่น ไม้แทงสัก  5 คู่  กระบอกไม้ไผ่หนำข้าว  20  กระบอก
2.การดำเนินการปลูกข้าวไร่ -หลังจากทำพิธีวันแม่ทุกคนมาพร้อมกันบริเวณแปลงปลูกข้าวไร่  ให้ตาเยื้อง  ศรีแสง  ยายเรียม  จันทร์ลอย และผู้สูงอายุที่มีประสบการณ์ปลูกข้าวไร่ในชุมชนเมื่อประมาณ 30 ปีก่อน ได้เล่าเรื่องราวและบอกวิธีแทงสักและหน่ำข้าวแก่เด็กและเยาวชน
-เริ่มพิธีโดยตาเยื้อง  ศรีแสง  แทงสักเป็นแนวตรงเพื่อป้องกันการหลงมองไม่เห็นหลุมข้าวแล้วให้เยาวชนและตัวแทนครัวเรือนหน่ำข้าวตามโดยยืนเป็นแถวหน้ากระดานเรียงหนึ่ง 3.พักรับประทานอาหารมื้อเที่ยง และร่วมแลกเปลี่ยนความรู้สึก  เด็กๆรู้สึกตื่นเต้นที่ได้ปลูกข้าว  แต่ยังไม่ชำนาญบางคนใส่เม็ดข้าวน้อยบ้างมากบ้างต้องให้ผู้ใหญ่คอยดูอยู่ตลอด
4.ช่วงบ่ายคอยเก็บจุดที่ยังหน่ำข้าวไม่เสร็จและคอยเก็บที่เด็กยังตกหล่นจนแล้วเสร็จ  แต่ต้องพักเป็นช่วงๆ เพราะอากาศร้อนมาก 5.การดูแลหลังปลูกจนถึงช่วงเก็บเกี่ยวคือ กลางเดือน ธันวาคม 2557 โดยแบ่งหน้าที่รับผิดชอบดังนี้ -นายภิญโญ  ศรีแสง และนางอรุณ  ศรีแสง  ช่วยดูแลเกี่ยวกับการจัดการหญ้าข้าว -นายนิพล  ศรีแสง  ช่วยดูแลนก  หนูและศัตรูพืช  จนถึงช่วงเก็บเกี่ยว -นายศรเทพ  บุญมี  รับผิดชอบในช่วงเก็บเกี่ยวและหาอุปกรณ์ในการเก็บเกี่ยว การตำข้าวเพื่อในไปใช้ในช่วงงานวันส่งท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่ และทำบุญตักบาตรวันปีใหม่

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

มีการสืบสานประเพณีการปลูกข้าวไร่  โดยตัวแทนครัวเรือนได้เข้าร่วมกิจกรรมพร้อมด้วยเด็กและเยาวชน  ผู้สูงอายุได้ถ่ายทอดภูมิปัญญาจากรุ่นสู่รุ่น  เยาวชยได้รู้ักที่มาของข้าวแต่ละเม็ด  และได้มีกิจกรรมเทิดพระเกียรติในวันแม่แห่งชาติ

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 60 คน จากที่ตั้งไว้ 50 คน
ประกอบด้วย

1.เด็กเยาวชน"ต้นกล้า"
2.ตัวแทนครัวเรือน 3.ผู้สูงอายุและปราชญ์ชาวบ้าน 4.เจ้าหน้าที่อุทยานแห่งชาติศรีพังงา 5.คณะทำงานโครงการ
รวมทั้งหมด 60 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-ตัวแทนบางครัวเรือนยังไม่ได้เข้าร่วมเนื่องจากติดกิจกรรมนอกหมู่บ้าน  เลยต้องชี้แจงและนัดหมายมาในกิจกรรมช่วงทำหญ้าข้าว -อากาศร้อนมาก  ผู้สูงอายุและเด็กทนไม่ไหว  จึงพาเด็กไปเล่นน้ำคลองในช่วงเที่ยง -เด็กและตัวแทนครัวเรือนบางคนยังไม่เคยหน่ำข้าว ทำให้ข้าวตกหล่นบ้าง  เลยต้องทำแปลงเพาะไว้เผื่อซ่อม

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นายศักด์ชาย เรืองศรี
circle
ข้อเสนอแนะต่อ
circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

รวมกลุ่มปลูกข้าวไร่ “ปลูกวันแม่เกี่ยววันพ่อสานต่อพระราชปณิธานสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่นอยู่กินอย่างไทย"12 สิงหาคม 2014
12
สิงหาคม 2014รายงานจากพี่เลี้ยง โดย ศักดิ์ชาย เรืองศรี
circle
วัตถุประสงค์

รวมกลุ่มปลูกข้าวไร่ “ปลูกวันแม่เกี่ยววันพ่อสานต่อพระราชปณิธานสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่นอยู่กินอย่างไทย"

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.จัดเตรียมสถานที่ปลูกข้าว  ที่สาธารณะใต้สายไฟฟ้าลิกไนค์  จำนวน  3 ไร่ 2.จัดเตรียมพันธ์ข้าวไร่  กระบวกหนำข้าว  ไม้แทงสัก
4.จัดเตรียมคนโดยการประสานงาน  ประชาสัมพันธ์ให้มาร่วมปลูกในวันแม่ 5.ร่วมปลูกข้าวโดยให้ปราชญ์ชาวบ้าน  ผู้สูงอายุสอนให้เด็กๆเยาวชนได้ลองปลูกข้าวไร่  และให้เด็กได้เห็นขั้นตอนและความยุ่งยากกว่าจะมาเป็นเม็ดข้าวให้เรากิน 6.จัดการเบื่อหนู  นกและสัตว์ที่จะมารบกวน

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.มีกลุ่มเป้าหมายเป็นเด็กและเยาวชนทั้งในหมู่บ้านและหมู่บ้านใกล้เคียงมาร่วมจำนวนมาก  เนื่องจากเป็นวันหยุด 2.เด็กและเยาวชนมีความสนใจมากเพราะบางคนยังไม่เคยเห็น  และสนุกที่ได้ปลูกเอง

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 50 คน จากที่ตั้งไว้ 50 คน
ประกอบด้วย

1.แกนนำชุมชนและผู้รับผิดชอบโครงการ 2.ปราชญ์ชาวบ้าน  ผู้สูงอายุในหมู่บ้าน 3.แกนนำครัวเรือน 4.เด็กและเยาวชน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

1.เด็กยังไม่มีประสบการณ์ในการปลูกต้องคอยระวังและซ่อมตามหลัง 2.หนู และสัตว์รบกวนมาก

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ
circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

จัดเก็บหลักฐานทางการเงินให้ครบถ้วน  เนื่องจากมีความสำคัญเป็นอย่างยิ่ง

ประชุมชี้แจงทำความเข้าใจเพื่อให้ทุกครัวเรือนได้รับรู้ มีส่วนร่วม9 สิงหาคม 2014
9
สิงหาคม 2014รายงานจากพื้นที่ โดย จรุวัฒน์
circle
วัตถุประสงค์

ประชุมเพื่อชี้แจงรายละเอียดกิจกรรม

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.ประสานงานประชาสัมพันธ์ให้ทุกครัวเรือนเข้าร่วมกิจกรรมล่างหน้า 2-3 วัน 2.จัดเเตรียมสถานที่บริเวณศาลาบ้านสวนใหม่ โดยการทำความสะอาดและจัดเตรียมเครื่องประกอบพิธีกรรมทางศาสนาจากวัดบ้านเตรียม เช่น พระพุมธรูป เสื่อ อาสนะ กระโถน เจกัน เชิงเทียน กรระถางธูป ฯลฯ
3.จัดกิจกรรมทำบุญเลี้ยงพระที่ศาลาหมู่บ้านในช่วงเช้า   เวลา 09.00-10.00 น. : นิมนต์พระสงฆ์จากวัดบ้านเตรียมมาที่ศาลาประจำหมู่บ้าน   เวลา 10.00-11.00 น. : ชาวบ้านร่วมกันทำพิธีไหว้พระสวดมนต์โดยมีคุณตาเยื้อง ศรีแสง ผู้สูงอายุในหมู่บ้าน ทำพิธีจุดเทียนธูปและนำไหว้พระ   เวลา 11.00-12.00 น. : ถวายภัตตาหารพระ และร่วมรับประทานอาหารเที่ยงพร้อมกัน 4.เปิดการประชุมโดยพี่เลี้ยงในพื้นที่ นายศักดิ์ชาย เรืองศรี กล่าวนำถึงที่มาของโครงการ และวัตถุประสงค์ของโครงการเพื่อร่วมสร้างชุมชนบ้านสวนใหม่ให้น่าอยู่ด้วยมือของคนสวนใหม่เอง 5.คุณกฤษ ศรีฟ้า อดีต สส.จังหวัดพังงา และผู้รับผิดชอบโครงการร่วมสร้างชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่บ้านบาวัน ได้มาพบปะและพูดคุยให้กำลังใจเพื่อร่วมสร้างแรงบันดาลใจ ทำให้ทุกคนเกิดความเชื่อมั่นมากยิ่งขึ้น 6.นายศรเทพ บุญมี ผู้รับผิดชอบโครงการได้แนะนำคณะทำงานโครงการและพูดของความร่วมมือจากทุกคนเพื่อให้โครงการสำเร็จได้ตามที่คาดหวัง

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ทุกคนในชุมชนมีความเข้าใจในการดำเนินงาน
โดยมีกิจกรรมที่ดำเนินทำตลอดทั้งโครงการ ได้แก่ คัดเลือกคณะทำงานจำนวน 1 ชุด  จัดกิจกรรมออกเยี่ยมบ้านเพื่อศึกษาข้อมูลและสภาพปัญหาของชุมชนจากทุกครอบครัว  จัดกิจกรรมพัฒนาหมู่บ้าน สถานที่สาธารณะอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับหลักปรัชญาแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง แต่ละครัวเรือนบันทึกรายรับและรายจ่ายจากการปลูกปาล์ม ครัวเรือนสรุปรายรับรายจ่าย เรียนรู้ผลิตปุ๋ยหมักและปุ๋ยน้ำชีวภาพโดยปราชญ์ชาวบ้าน  จัดกิจกรรมที่ศาลาหมู่บ้านในวันสำคัญ เช่น การสวดมนต์ข้ามปี ประเพณีชักพระ วิสาฆบูชา เดือนสิบ เป็นต้น รวมกลุ่มปลูกข้าวไร่ จำนวน 50 คน “ปลูกวันแม่เกี่ยววันพ่อสานต่อพระราชปณิธานสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่นอยู่กินอย่างไทย" จัดกิจกรรมวันส่งท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่ที่ศาลาหมู่บ้าน และจัดกิจกรรมวันผู้สูงอายุประจำปีที่ศาลาหมู่บ้าน

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 94 คน จากที่ตั้งไว้ 100 คน
ประกอบด้วย

ประชาชนในชุมชน คณะกรรมการหมู่บ้าน ผู้ใหญ่บ้าน ครูและเจ้าหน้าที่อุทยานแห่งชาติศรีพังงา จำนวน 94 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นายศักด์ชาย เรืองศรี
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

ประชุมชี้แจงทำความเข้าใจเพื่อให้ทุกครัวเรือนได้รับรู้ มีส่วนร่วม9 สิงหาคม 2014
9
สิงหาคม 2014รายงานจากพี่เลี้ยง โดย ศักดิ์ชาย เรืองศรี
circle
วัตถุประสงค์

ประชุมชี้แจงทำความเข้าใจเพื่อให้ทุกครัวเรือนได้รับรู้

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.กำหนดวันประชุมให้ตรงกับวันหยุดเพื่อต้องการให้มีผู้เข้าร่วมมากที่สุด 2.ติดต่อประสานงาน  ประชาสัมพันธ์ให้ทุกครัวเรือนเข้าร่วมรับฟังรายละเอียดโครงการ 3.ติดต่อนิมนต์พระภิกษุเพื่อมาร่วมทำบุญตักบาตรเพื่อเป็นมงคลแก่โครงการ
4.จัดเตรียมสถานที่  อาหารและเครื่องดื่ม 6.จัดทำบุญเลี้ยงพระที่ศาลาหมู่บ้าน  ทานอาหารร่วมกัน  ประชุมชี้แจงรายละเอียดแก่ผู้เข้าร่วมประชุม 7.นัดหมายร่วมกันจัดกิจกรรมปลูกข้าวไร่ในวันที่ 12 สิงหาคม  ปลูกวันแม่เกี่ยววันพ่อสานต่อพระราชปนิทานสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่นอยู่กินอย่างไทย

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.ผู้เข้าร่วมประชุมมีความเข้าใจและอยากเข้ามามีส่วร่วม 2.ที่ประชุมเสนอให้มีการพัฒนาเตรียมพื้นที่สำหรับปลูกข้าวและพัฒนาเส้นทางสาธารณะในวันแม่ด้วย 3.ประชาสัมพันธ์ให้ทุกครัวเรือนตกแต่งบ้านเรือนและประดับธงหน้าบ้าน

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 100 คน จากที่ตั้งไว้ 100 คน
ประกอบด้วย

ผู้ใหญ่บ้าน ผู้ช่วยผู้ใหญ่  แกนนำครัวเรือน เด็กและเยาวชน ทั้งในหมู่บ้านและละแวกใกล้เคียง

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข
circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ
circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่
ประชุมคณะกรรมการและประเมินผล ครั้งที่ 13 สิงหาคม 2014
3
สิงหาคม 2014รายงานจากพี่เลี้ยง โดย ศักดิ์ชาย เรืองศรี
circle
วัตถุประสงค์

ประชุมคณะกรรมการและประเมินผล ครั้งที่ 1

circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.ประสานงานนัดหมายตัวแทนครัวเรือนเพื่อเข้าร่วมประชุมหารือ 2.เตรียมสถานที่และอาหาร 3.ประชุมหารือโดยได้ชีแจงรายละเอียดโครงการให้ผู้เข้าร่วมประชุมทราบ 4.คัดเลือกคณะทำงาน 5.นัดหมายครั้งต่อไป

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

คัดเลือกคณะทำงานโดยได้แบ่งออกเป็น 4 ฝ่าย คือ 1.ฝ่ายตรวจสอบและดูแลด้านการเงินการบัญชี 2.ฝ่ายกิจกรรม  ติดต่อประสานงาน 3.ฝ่ายจัดเตรียมอาหารและเครื่องดื่ม 4.ฝ่ายรวบรวมข้อมูลและรายงานผล

circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 20 คน จากที่ตั้งไว้ 10 คน
ประกอบด้วย

ผู้รับผิดชอบโครงการเชิญตัวแทนครัวเรือน แกนนำชุมชนเข้ามาเพื่อหารือชี้แจงโครงการและคัดเลือกคณะทำงาน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

การดำเนินงานค่อนข้างล่าช้าเนื่องจากมีฝนตกชุก  และเป็นช่วงฤดูเก็บเกี่ยวผลไม้  ทำให้ส่วนใหญ่แล้วไม่ค่อยมีเวลาว่างหรือว่างไม่ตรงกัน

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
-
circle
ข้อเสนอแนะต่อ
circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

ควรเลือกวันหยุด  หรือเสาร์อาทิตย์

ประชุมคณะกรรมการและประเมินผล ครั้งที่ 13 สิงหาคม 2014
3
สิงหาคม 2014รายงานจากพื้นที่ โดย จรุวัฒน์
circle
วัตถุประสงค์
  • เพื่อคัดเลือกคณะทำงานติดตามและประเมินผลในการดำเนินกิจกรรมแต่ล่ะโครงการ
circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.ผู้รับผิดชอบโครงการจัดประชุมเพื่อชี้แจงวัตถุประสงค์และรายละเอียดของโครงการ อธิบายทำความเข้าใจกิจกรรม 2.คัดเลือกบุคคลเข้ามาเป็นคณะทำงานโครงการ โดยคัดเลือกจากตัวแทนครัวเรือนที่เข้าร่วมประชุม โดยมีการเสนอชื่อบุคคลที่เหมาะสมจะรับผิดชอบช่วยเหลือโครงการ  ดังนี้   ด้านกิจกรรม  :นางอรุณลดาพร ศรีแสง นางสสิฐญา บุญทองช่วย นางปุ้น มีเดช นางบุญเจียม ตรีชุม มีหน้าที่ในการควบคุมดูแลการจัดกิจกรรมตามแผนงานที่วางไว้ในปฏิทินพื้นที่จัดหาอาหารและอาหารว่าง วัสดุและอุปกรณ์ในการจัดกิจกรรม   ด้านการเงินและการจัดทำบัญชี :นายกิตติภูมิ พิชัยกุลชน นายศรเทพ บุญมี มีหน้าที่จัดทำบัญชีและควบคุมการเบิกจ่ายเงิน เก็บหลักฐานการเงิน
  ด้านการประสานงาน  :นายพานิช พรหมเจริญ  มีหน้าที่ติดต่อประสานงานกับครัวเรือนและองค์กรภายนอกชุมชน   ด้านการจัดทำรายงานและเก็บภาพกิจกรรม :นายจรุวัฒน์ เจริญสมัย มีหน้าที่ถ่ายภาพกิจกรรมรวบรวมผลงานจัดทำงายงานกิจกรรม   ด้านการตรวจสอบและประเมินผล :นายชินวุฒ จันทร์แจ่ม นายศักดิ์ชาย  เรืองศรี มีหน้าที่ติดตามตรวจสอบให้การดำเนินงานเป็นไปด้วยความถูกต้อง

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ตัวแทนแต่ละครัวเรือนมีความเข้าใจเรื่องรายละเอียดโครงการ

  • มีคณะกรรมการ จำนวน 10 คน โดยแบ่งเป็น 4 กลุ่ม

  1. ฝ่ายตรวจสอบเรื่องการเงิน
  2. ฝ่ายกิจกรรม
  3. ฝ่ายอาหารและเครื่องดื่ม
  4. ฝ่ายข้อมูลและรายงานการดำเนินกิจกรรม
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลตามเป้าหมาย (3)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 20 คน จากที่ตั้งไว้ 10 คน
ประกอบด้วย
  • ตัวแทนแต่ละครัวเรือน 20 คน
circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข

-

circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นาย ศักดิ์ชาย เรืองศรี
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

-

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

-

ปฐมนิเทศโครงการ เรียนรู้การรายงานแผนการดำเนินงานผ่านหน้าเวบ14 มิถุนายน 2014
14
มิถุนายน 2014รายงานจากพื้นที่ โดย จรุวัฒน์
circle
วัตถุประสงค์
  • ปฐมนิเทศโครงการ
  • เรียนรู้การรายงานแผนการดำเนินงานผ่านหน้าเวบไซด์คนใต้สร้างสุข
circle
กิจกรรมตามแผน

circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ผู้รับผิดชอบโครงการเดินทางเข้าร่วมรับฟังการปฐมนิเทศจาก สสส.และสจรส.เพื่อเรียนรู้การรายงานด้านการเงินและการรายงานแผนการดำเนินงานที่ถูกวิธี

circle
ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ความรู้ที่ได้สามารถทำให้คณะทำงานเข้าใจถึงวิธีการทำงานและการรายงานการปฐิบัติงานให้ทางพี่เลี้ยง และ สจรส. ได้ถูกต้อง
circle
กิจกรรมตามแผน
circle
ประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม

บรรลุผลมากกว่าเป้าหมาย (4)

circle
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม
จำนวน 2 คน จากที่ตั้งไว้ 2 คน
ประกอบด้วย

คณะทำงาน จำนวน 2 คน

circle
ปัญหา/แนวทางแก้ไข
  • ปัญหาการเดินทางที่ใช้ระยะทางและเวลาที่จำกัดอยากให้เฉลี่ยระยะทางการเดินทางของแต่ละพื้นที่ให้ใกล้เคียงกัน
circle
ชื่อผู้ติดตามในพื้นที่ของ
นายศักด์ชาย เรืองศรี
circle
ข้อเสนอแนะต่อ

.

circle
ข้อเสนอแนะต่อพื้นที่

.