แบบบันทึกการติดตามสนับสนุนโครงการ ครั้งที่ 2

รหัสโครงการ 58-03971
สัญญาเลขที่ 58-00-2180

ชื่อโครงการ ปลุกจิตสำนึกชุมชน คนป่าเสม็ดอนุรักษ์ป่าชายเลน
รหัสโครงการ 58-03971 สัญญาเลขที่ 58-00-2180
ระยะเวลาตามสัญญา 15 กันยายน 2015 - 15 ตุลาคม 2016

ส่วนที่ 1 : ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม

1.1 ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 1 นฤมล ฮะอุรา
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 2 ฐานันดร สมจิตอุส่าห์
วันที่ลงพื้นที่ติดตาม 13 ตุลาคม 2016
วันที่ส่งรายงานถึง สสส. 20 พฤศจิกายน 2016
1.2 ผู้ให้ข้อมูล
ลำดับชื่อ-สกุลผู้ให้ข้อมูลที่อยู่หมายเลขโทรศัพท์
1 นายฮะเฉดยาพระจันทร์ 53 หมู่ที่ 2 ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล 0872950551
2 นายอับดุลเลาะหล่าด้ำ 71 หมู่ที่ 2 ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล 0812758285
3 นายวรวุฒิหล่าด้ำ 71 หมู่ที่ 2 ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล 0899786290

ส่วนที่ 2 : ข้อมูลโครงการและความก้าวหน้าการดำเนินงาน

2.1 วัตถุประสงค์และตัวชี้วัดความสำเร็จโครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ตัวชี้วัดความสำเร็จ

1.

เพื่อสร้างกลไกสภาผู้นำชุมชนป่าเสม็ด ตำบลท่าเรือ ในการจัดการป่าชายเลนและสัตว์น้ำ ทั้งการอนุรักษ์ ป้องกัน ฟื้นฟู และพัฒนาและดึงการมีส่วนร่วมของชุมชน

1.มีการประชุมทุกเดือน จำนวน 10 เดือน

2.แต่ละครั้งมีผู้เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

3.การประชุมทุกครั้ง มีการปรึกษาหารือเรื่อง โครงการ และ เรื่องอื่นๆของชุมชน

2.

เพื่อใช้พลังของข้อมูลสร้างจิตสำนึกและการมีส่วนร่วมของชุมชนในการอนุรักษ์ป่าชายเลน

  1. ได้ข้อมูลป่าชายเลนของชุมชน 1 ชุดข้อมูลที่ประกอบไปด้วย ข้อมูลต้นไม้ สัตว์บก สัตว์น้ำ และความสมบูรณ์ของสิ่งเหล่านั้น

3.

เพื่อหนุนเสริมให้เกิดปฏิบัติการป้องกัน อนุรักษ์ ฟื้นฟู พัฒนาป่าชายเลน

  1. ป่าชายเลนได้รับการต่อยอด พัฒนาให้เกิดประโยชน์ 1-3 กิจกรรม
  2. เกิดกติกาชุมชนในการป้องกัน อนุรักษ์ ฟื้นฟู พัฒนาป่าชายเลน

4.

เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบโครงการ และสนับสนุนการทำงานของโครงการ

  1. มีการเข้าร่วมการประชุมกับ สสส. สจรส.ม.อ. ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 ของจำนวนครั้งที่จัด
  2. มีการจัดทำป้าย "สถานที่นี้ปลอดบุหรี่" ติดตั้งในสถานที่จัดกิจกรรม
  3. มีการถ่ายภาพการดำเนินงานทุกกิจกรรม
  4. มีการจัดทำรายงานส่ง สสส. ตามระยะเวลาที่กำหนด
2.2 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ
กลุ่มเป้าหมายงบประมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงปริมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพ/สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ
ที่ตั้งไว้(บาท)เกิดขึ้นจริง(บาท)จำนวนที่ตั้งไว้(คน)จำนวนเกิดขึ้นจริง(คน)

กิจกรรมหลัก : ประชุมสภา ประจำเดือนi

9,220.00 35 ผลผลิต
  • สมาชิกสภา 35 คนมาร่วมประชุมเดือนละ 1 ครั้ง จำนวน 9 ครั้ง เพื่อเตรียมงาน ติดตามผลการดำเนินงาน และแก้ปัญหาปรับแผนการทำงาน
  • มีการมารายงานผลการสำรวจป่า การลาดตระเวนป่า และการจัดกิจกรรมให้เยาวชน

ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)
  • แกนนำสภาที่มาร่วมประชุมสม่ำเสมอ เกิดทักษะการทำโครงการ ได้แก่ การวางแผน การจัดงาน และการติดตาม

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 9 ครั้ง

กลุ่มผู้นำศาสนา อสม. กลุ่มแม่บ้าน กลุ่มอาชีพ กลุ่มออมทรัพย์ กลุ่มเยาวชน กลุ่มอนุรักษ์ป่าชายเลนบ้านป่าเสม็ดกลุ่มอาสาสมัครรักษาทะเลและชายฝั่ง

1,380.00 1,380.00 35 35 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • สมาชิกสภาชุมชนคนรักษ์ป่าเสม็ดรับทราบรายละเอียดกิจกรรมที่จัดขึ้น ทุกคนที่เชิญมาวันนี้จะแต่งตั้งให้เป็นตัวแทน สภาผู้นำชุมชน ในชื่อว่า สภาชุมชนคนรักษ์ป่าเสม็ด จำนวน 35 คน มีบทบาทหน้าที่การบริหารจัดการโครงการนี้ให้บรรลุตามเป้าหมายที่ตั้งไว้
  • สมาชิกสภาชุมชนคนรักษ์ป่าเสม็ดมีหน้าที่รับผิดชอบ อนุรักษ์ ป้องกัน ฟื้นฟู ป่าชายเลน
  • ตั้งสภาชุมชน และตั้งกลุมฟื้นฟู สำรวจป่าเสื่อมโทรมและปลูกป่าทดแทน ฟื่นฟูกติกาอนุรักษ์ป่าชายเลน ทำแหล่งท่องเที่ยวศูนย์การเรียนรู้ป่าชายเลน โดยให้เด็กเยาวชนเป็นมัคคุเทศน์ โดยเราจะจัดกิจกรรมต่อไปตามแบบแผนที่ตีั้งไว้

กลุ่มผู้นำศาสนา อสม. กลุ่มแม่บ้าน กลุ่มอาชีพ กลุ่มออมทรัพย์ กลุ่มเยาวชน กลุ่มอนุรักษ์ป่าชายเลนบ้านป่าเสม็ดกลุ่มอาสาสมัครรักษาทะเลและชายฝั่ง

980.00 980.00 35 35 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • สมาชิกสภาชุมชนคนรักษ์ป่าเสม็ด รับทราบรายละเอียดกิจกรรมที่จะจัดขึ้นและหน้าที่ความรับผิดชอบของตนที่ได้รับมอบหมาย ได้แก่ การเตรียมข้อมูลที่พูดคุยเรียนเชิญวิทยากร ดูแลเรื่องอาหาร การจัดสถานที่ การประสานงานให้คนมาร่วมกิจกรรม
  • สมาชิกสภาชุมชนคนรักษ์ป่าเสม็ด ให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี

กลุ่มผู้นำศาสนา อสม. กลุ่มแม่บ้าน กลุ่มอาชีพ กลุ่มออมทรัพย์ กลุ่มเยาวชน กลุ่มอนุรักษ์ป่าชายเลนบ้านป่าเสม็ดกลุ่มอาสาสมัครรักษาทะเลและชายฝั่ง

980.00 980.00 35 35 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ประชาชนมีความรู้สึกตื่นเต้น ที่จะจัดเป็นแหล่งท่องเที่ยว

  • มีกลุ่มอนุรักษ์ 30 คน รับผิดชอบตามหลัก ป้องกัน อนุรักษ์ ฟื้นฟู พัฒนา

  • ได้ผลตอบรับเป็นอย่างดีในการจัดกิจกรรม

สมาชิกสภาชุมชนคนป่าเสม็ดอนุรักษ์ป่าชายเลน

980.00 980.00 35 35 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ได้รายงานผลการสำรวจความอุดมสมบูรณ์ของป่าชายเลน ไป 1/3ของพื้นที่ ให้สภาผู้นำได้รับทราบ
  • สามแยกคลองปากวัง ป่าชายเลนข้างๆมีความอุดมสมบูรณ์ดี
  • คลองหลังน้อย มีป่าชายเลนข้างๆมีความสมบูรณ์น้อย
  • เกาะกลาง มีป่าชายเลนข้างๆมีความอุดมสมบูรณ์ เพราะมีพื้นที่เป็นเกาะกลางทะเลมีทางเดินเรือข้างๆ
  • คลองไร่ จะมีป่าสมบูรณ์เลนข้างๆเล็กน้อย

สมาชิกสภาผู้นำป่าเสม็ด 35 คน

980.00 980.00 35 35 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ได้แผนการลงสำรวจ ทีม และโจทย์การสำรวจ
  • วางแผนครั้งที่ 3 นี้ ต้องสำรวจให้หมด 2 โซน เนื่องจากกิจกรรมการสำรวจครั้งที่ 4 จะเป็นการลงป่าชายเลนเพื่อติดป้ายเขตอนุรักษ์
  • วางแผนแบ่งกลุ่มอาสาอนุรักษ์ป่าชายเลนลงสำรวจออกเป็น 2 กลุ่ม คือทีมนายสราวุธ และนายประเสริฐ
  • สิ่งที่ต้องสำรวจคือ การกะประมาณจำนวนไร่ของป่าชายเลนว่า สมบูรณ์กี่ไร่ เสื่อมโทรมกี่ไร่ และเปลี่ยนสภาพไปโดยสิ้นเชิงกี่ไร่ พร้อมทั้งพบเห็นสัตว์อะไรบ้าง เพื่อยืนยันความอุดมสมบูรณ์

สมาชิกสภาผู้นำป่าเสม็ด 35  คน

980.00 980.00 35 35 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ได้ผลสรุปความอุดมสมบูรณ์ของป่าชายเลน
  • ได้แผนการดำเนินการอนุรักษ์ ฟื้นฟูป่าชายเลน
  • ได้แผนการลงป่าชายเลนติดป้ายแนวเขตอนุรักษ์
  • นายฮะเฉด ยาพระจันทร์ ผู้ใหญ่บ้านกล่าวเปิดการประชุม ขอบคุณพี่น้องสภาที่มาให้ความร่วมมือประชุมกันอย่างครบถ้วน วันนี้ทำการสำรวจป่าชายเลนครบทุกโซน จะได้มาสรุปกันว่าสถานการณ์ป่าชายเลนมีความสมบูรณ์มากน้อยเพียงไร โดยมอบหมายให้นายอับดุลเลาะห์ สมาชิก อบต.เป็นผู้รายงาน
  • นายอับดุลเลาะห์ รายงานว่าจากการสำรวจทั้งหมด 3ครั้ง ครั้งที่ 1 สำรวจป่าชายเลนโซนคลองปากวัง ครั้งที่ 2 สำรวจโซนคลองหลังน้อย ครั้งที่ 3 สำรวจโซนท่าตลาดนัดถึงท่าป่าเสม็ด และโซนเกาะกลาง ผลสรุปจากพื้นที่ป่าชายเลนของบ้านป่าเสม็ดมีทั้งหมด 1500ไร่ เป็นป่าสมบูรณ์ 1000ไร่ ป่าเสื่อมโทรม 400 ไร่ และป่าเปลี่ยนแปลงไปอย่างสิ้นเชิง100ไร่
  • นายสราวุฒิ เตาวะโต ประธานทีมอาสาอนุรักษ์ฯ วิเคราะห์บทสรุปว่า ป่าชายเลนของหมู่บ้านมีความสมบูรณ์เป็นส่วนใหญ่ ซึ่งได้เป็นแหล่งเพาะพันธ์ุสัตว์ เป็นแหล่งอาหารของคนในหมู่บ้านเราและหมู่บ้านข้างเคียง ในส่วนป่าเสื่อมโทรม 400 ไร่ เราควรวางแผนไปปลูกซ่อมแซม และลาดตระเวนติดตาม และพื้นที่ป่าเปลี่ยนแปลงไปอย่างสิ้นเชิงที่ถูกทำเป็นนากุ้ง 100 ไร่ ในส่วนที่เป็นนากุ้งร้างให้เราขอพื้นที่คืน แล้วปรับเป็นพื้นที่ศึกษาป่าชายเลน ปลูกซ่อมไปเรื่อยๆ ส่วนไหนขอคืนไม่ได้ก็ค่อยๆ ทำส่วนนี้ให้เขาเห็น เขาอาจคืนให้สักวัน ซึ่งมีข่าวดีว่าพื้นที่นากุ้งติดตลาดนัด คนที่ทิ้งร้างไว้จะคืนกลับให้หมู่บ้านประมาณ 8 ไร่
  • นายอับดุลเลาะห์ สมาชิก อบต. แจ้งว่า การออกป่าชายเลนครั้งต่อไป จะเป็นการลงไปติดป้ายแนวเขตอนุรักษ์ จำนวน 60 ป้าย ขอให้ทุกคนพร้อมใจมาช่วยกันอีกครั้ง

สมาชิกสภาผู้นำป่าเสม็ด 35  คน

980.00 980.00 35 35 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • เกิดการทบทวนผลงาน ว่าขาดการดำเนินกิจกรรมอะไร เนื่องจากอะไร จะแก้ไขอย่าง
  • ได้แผนการทำงานทบทวนกติกาอนุรักษ์ป่าชายเลน
  • ได้แผนการทำงานลาดตระเวนป่าชายเลน 6 ครั้ง

สมาชิกสภาป่าเสม็ด 35 คน

980.00 980.00 35 35 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ได้สรุปผลกิจกรรม ที่มีข้อมูลมาแจ้งให้สภาฯรับทราบถึงสานการณ์การลักลอบตัดไม้
  • เกิดกลไกกลุ่อนุรักษฯมาเร่งการจัดเวทีเพื่อยกร่างกติกาอนุรักษ์ขึ้นมาใหม่
  • ได้แผนการทำงานกิจกรรมค่ายอนุรักษ์ฯของเยาวชน

สมาชิกสภาผู้นำป่าเสม็ด 35 คน

980.00 980.00 35 35 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • เกิดการมีส่วนร่วมในเรื่อง การร่วมประเมินผล และวางแผนหาแนวทางทำงานต่อไป

กิจกรรมหลัก : ป้องกันการทำร้าย ทำลายป่าชายเลนi

28,525.00 30 ผลผลิต
  • กลุ่มอาสาสมัครดูแลป่าชายเลน และเยาวชน รวม 30 คน ออกสำรวจพื้นที่ป่าชายเลนในเขตของหมู่บ้าน เพื่อศึกษาความสมบูรณ์ จำนวนไร่ที่มีป่าสมบูรร์ ป่าเสื่อมโทรม ใช้เวลาสำรวจ 4 ครั้ง ครั้งละ 1 วัน
  • ติดป้ายรณรงค์การอนุรักษ์ตามแนวเขตป่าชายเลนในหมู่บ้าน จำนวน 60 ป้าย
  • ได้ทราบสถานการณ์ข้อมูลป่าชายเลน ดังนี้ พื้นที่ป่าชายเลนของบ้านป่าเสม็ดมีทั้งหมด 1500ไร่ เป็นป่าสมบูรณ์ 1000ไร่ ป่าเสื่อมโทรม 400 ไร่ และป่าเปลี่ยนแปลงไปอย่างสิ้นเชิง100ไร่

ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)
  • เกิดกลไก และกระบวนการติดตามสภาพป่าชายเลนโดยชุมชนเอง

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 4 ครั้ง

  • เยาวชน 5 คน กลุ่มอนุรักษ์ป่าชายเลนบ้านป่าเสม็ด 20 คน และกลุ่มอาสาสมัครรักษาทะเลและชายฝั่ง 10 คน ออกสำรวจป่าชายเลน
4,925.00 4,925.00 30 35 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ผลการสำรวจพบว่าป่าชายเลนบริเวณนี้ในภาพรวมจัดว่าอยู่ในระดับสมบูรณ์ ไม่มีพื้นที่ถูกบุกรุก
  • ชาวบ้านกลุ่มอนุรักษ์และเยาวชนได้ร่วมกันออกสำรวจป่าชายเลน ทำให้เกิดจิตสำนึกอนุรักษ์ หวงแหนป่าชายเลน
  • ได้ข้อมูลความอุดมสมบูรณ์ของป่าชายเลนโซนสามแยกคลองปากวัง

กลุ่มอนุรักษ์ ป่าชายเลน และ และกลุ่มอาสาสมัครรักษาทะเลและชายฝั่ง 

4,925.00 4,925.00 30 30 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • กลุ่มอนุรักษ์ ป่าชายเลน และ และกลุ่มอาสาสมัครรักษาทะเลและชายฝั่ง รวม 30 คน
    ออกสำรวจความอุดมสมบูรณ์ของป่าชายเลนบริเวณคลองหลังน้อยโดยทางเรือ
  • ผลการสำรวจพบว่าป่าชายเลนบริเวณนี้ในภาพรวมจัดว่าอยู่ในระดับเสื่อมโทรม
    ต้นไม้แคระแกร็นเจริญเติบโตไม่ดี และตายไปเป็นส่วนใหญ่

กลุ่มอาสาสมัครดูแลป่าชายเลน 30 คน

4,050.00 4,050.00 30 30 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • เกิดกลไก และกระบวนการติดตามสภาพป่าชายเลนโดยชุมชนเอง
  • ได้ข้อมูลป่า 2 โซน รวม 800 ไร่ มีสภาพสมบูรณ์600 ไร่ เสื่อมโทรม 50 ไร่ เปลี่ยนไปอย่างสิ้นเชิง 150 ไร่
  • ได้ข้อมูลว่าพบสัตว์น้ำและนก แสดงถึงความอุดมสมบูรณ์ของผืนป่า และระบบนิเวศน์

กลุ่มอาสาอนุรักษ์ป่าชายเลน 30 คน

4,050.00 7,775.00 30 30 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ได้แนวเขตอนุรักษ์ 1 พื้นที่ คือ โวนเกาะกลาง
  • ได้สร้างการณรงค์ โดยติดป้ายรณรงค์การอนุรักษ์ 30 ป้าย

กิจกรรมหลัก : ลาดตระเวน ตรวจป่าi

24,440.00 75 ผลผลิต
  • จัดค่ายนักอนุรักษ์ป่าชายเลน 1 วันมีเยาวชน 50คน สภาฯ10 คน เข้าร่วมเรียนรู้ระบบนิเวศน์ของป่า ประโยชน์ทางกายภาพ ชีวภาพ และหลักการอนุรักษ์
  • จัดกิจกรรมลาดตระเวน 6 ครั้ง แต่ละครังมีเยาวชนมาร่วม 6 -12 คน เพื่อสำรวจความสมบูรณ์ของป่า สำรวจการลักลอบตัดไม้ล่าสัตว์ ดูความเจริญเติบโตความสมบูรร์ของต้นไม้ที่ปลูกเพิ่ม ทุกเดือนและทีมสำรวจมาสรุปรายงานให้สภารับทราบ
  • จากการลาดตระเวนพบว่า ยังมีการตัดต้นไม้ในพื้นที่ห่างไกลจากหมู่บ้าน มีพื้นที่นากุ้งร้างเสื่อมโทรมเป็ฯจำนวนมาก และยังพบว่าป่ายังมีความอุดมสมบูรณ์เป็นแหล่งฝักไข่ของสัตว์น้ำ

ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)
  • เกิดกลไกการติดตามการบุกรุกป่าชายเลน
  • เยาวชนเกิดความรู้สึกหวงแหนทรัพยากรธรรมชาติ

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 7 ครั้ง

  • กลุ่มอาสาอนุรักษ์ 8 คน
  • เยาวชน 4 คน
2,340.00 2,340.00 12 12 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ได้ข้อมูลสภาพป่าชายเลนพื้นที่เกาะกลางเหนือ
  • เยาวชนเกิดความรู้สึกหวงแหนทรัพยากรธรรมชาติ
  • เยาวชนรู้สึกตื่นเต้นกับการออกลาดตระเวน มีคำถามกับทีมอนุรักษ์ เช่น ต้นไม้จะโตพอตัดได้ใช้เวลากี่ปี ถ้าเราตัดกันมากๆ จะมีต้นไม้โตทันใช้รึเปล่า ถ้าจำเป็นต้องตัดต้องทำอย่างไร
  • ทีมอนุรักษ์ ชวนให้ดูรากไม้โกงกางที่ช่วยเป็นแหล่งวางไข่ของสัตว์น้ำ และช่วยกันพายุ กันการกัดเซาะ และให้คำตอบว่าเราจำเป็นต้องมีกติกา การเลือกขนาดต้นไม้ บริเวณที่จะตัด และการปลูกทดแทน
  • ทีมอนุรักษ์ให้เยาวชนเตรียมข้อมูลไปรายงานต่อสภาผู้นำฯ ในการประชุมครั้งต่อไปว่าออกมาลาดตระเวนพบเจออะไรบ้าง และมีความรู้สึกอย่างไร

อาสาอนุรักษ์ 8 คน เยาวชน 4 คน

2,340.00 2,340.00 12 12 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ได้ข้อมูลสภาพป่าชายเลนพื้นที่เกาะกลางเหนือ
  • เยาวชนเกิดความรู้สึกหวงแหนทรัพยากรธรรมชาติ
  • เยาวชนมีความตื่นเต้นสนุกสนาน เพราะไม่เคยนั่งเรือออกมาไกลถึงเกาะกลาง เมื่อถึงเกาะกลาง นายประเสริฐนำเยาวชนขึ้นเดินสำรวจในป่าชายเลน สลับกับการแล่นเรือลัดเลาะไปตามคลองย่อยๆ ในป่าปชายเลน
  • การลาดตระเวนครั้งนี้ไม่พบชาวบ้านหรือคนนอกมาทำการตัดไม้ เนื่องจากเป็นช่วงทำมาหากิน ปกติถ้าจะมีการตัดไม้ ชาวบ้านจะมาช่วงบ่าย นายประเสริฐชี้แจงกับเยาวชนว่า เราทำให้เขารู้ว่ามีการลาดตระเวน แต่ไม่อยากเผชิฐหน้าก่อนเพราะยังไม่มีกติกาหมู่บ้านออกมา
  • ผลการลาดตระเวน พบร่องรอยรอยการตัดไม้ประมาณ 1ไร่ พื้นที่นี้อยู่ไกลและต้นไม้ไม่สมบูรณ์ จึงไม่มีการตัดไม้มีพื้นที่ป่าเสื่อมโทรมไปเอง คือต้นไม้ไม่สมบูรณ์ ประมาณ 10 ไร่
  • กลุ่มอาสาอนุรักษ์ป่าชาเลน 8 คน
  • เยาวชน 14 คน
2,340.00 2,340.00 12 22 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ได้ข้อมูลการลาดตระเวนป่าบริเวณท่าตลาดนัด
  • เยาวชนเกิดความรู้เรื่องการลาดตระเวนป่า และเกิดจิตสำนึกอนุรักษ์ป่าชายเลน
  • แกนนำอาสาอนุรักษ์ 8 คน
  • เยาวชน 4 คน
2,340.00 2,340.00 12 12 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ได้ข้อมูลการลาดตระเวนป่าบริเวณท่าป่าเสม็ด
  • เยาวชนเกิดความรู้เรื่องการลาดตระเวนป่า และเกิดจิตสำนึกอนุรักษ์ป่าชายเลน
  • กลุ่มอาสาอนุรักษ์ป่าชาเลน 8 คน
  • เยาวชน 14 คน
2,840.00 2,840.00 12 22 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ได้ข้อมูลการลาดตระเวนป่าบริเวณท่าตลาดนัด
  • เยาวชนเกิดความรู้เรื่องการลาดตระเวนป่า และเกิดจิตสำนึกอนุรักษ์ป่าชายเลน
  • แกนนนำสภาผู้นำ 10 คน
  • เยาวชน 50  คน
9,400.00 9,400.00 60 60 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • เยาวชน 50 คน มีความรู้เรื่องป่าชายเลนเพิ่มขึ้น มีความรู้ว่าควรอนุรักษ์ป่าอย่างไร
  • เยาวชน 50 คน เกิดจิตสำนึกอนุรักษ์ป่าชายเลน
  • กลุ่มอาสาอนุรักษ์ป่าชาเลน 8 คน
  • เยาวชน 4 คน
2,840.00 2,840.00 12 12 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ได้ข้อมูลสภาพป่าชายเลนพื้นที่คลองหลังน้อย
  • เยาวชนเกิดความรู้สึกหวงแหนทรัพยากรธรรมชาติ

กิจกรรมหลัก : มัคคุเทศก์นำเที่ยวป่าเสม็ดi

12,575.00 45 ผลผลิต
  • เยาวชน 35 คนมาเรียนรู็วิธีการนำเที่ยวป่าชายเลนตั้งแต่ทักษะการพูด ความรู้เกี่ยวกับป่าชายเลน การนำเสนอจุดเด่นที่น่าสนใจของการท่องเที่ยวบ้านป่าเสม็ด
  • วันที่สองเยาวชน 35 คน ได้ฝึกการนำเที่ยว แต่ไม่ได้ลงพื้นที่จริงเนื่องจากฝนตก

ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)
  • ได้กลุ่มมัคคุเทศก์ 35 คนที่มีความรู้ความสามารถนำเที่ยวป่าชายเลนของชุมชน

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

  • เยาวชน 35 คน
  • สภาผู้นำ 10 คน
12,575.00 12,575.00 45 45 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • เยาวชน 35 คน  เกิดจิตสำนึกรัก หวงแหนป่าชายเลน
  • เยาวชน 35 คน มีความรู้ทักษะ ในการเป็นมัคคุเทศก์นำเที่ยวป่าชายเลน

กิจกรรมหลัก : เวทีสรุปถอดบทเรียนโครงการi

6,500.00 60 ผลผลิต
  • เยาวชนและชาวบ้าน 60 คน มาร่วมเวทีสรุปบทเรียน ผลการทำโครงการคือ ทำกิจกรรมไม่ครบถ้วน ขาดกิจกรรมการปลูกป่า การคืนข้อมูลการสำรวจป่าและการทำแผนชุมชนด้านการอนุรักษ์ การทำศูนย์เรียนรู้ป่าชายเลน
  • อย่างไรก็ตามกิจกรรมที่ได้จัดไป ทำให้เกิดผลลัพธ์แก่ชุมชน ดังนี้ 1) ทีมสภาผู้นำป่าเสม็ด 35 คน มาช่วยในการจัดการบริหารกิจการหมู่บ้าน ทำให้เกิดความคล่องตัว เกิดความสามัคคี 2) ทีมอาสาอนุรักษ์มีความเข้มแข็งเรื่องป่าชายเลนมากขึ้น มีข้อมูลป่าที่สมบูรณ์ ที่เสื่อมโทรม 3) เยาวชนที่ได้มาร่วมกิจกรรมเกิดความรู้เรื่องป่าชายเลน เรื่องสัตว์น้ำ ต้นไม้ในป่าชายเลนมากขึ้น และเกิดจิตสำนึกอนุรักษ์มากขึ้น

ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)
  • เกิดเวทีสาธารณะ ร่วมกันสรุปผลที่ได้จากการทำกิจกรรมที่ผ่านมา
  • กลุ่มเป้าหมายหลักได้มาเล่าประสบการณ์การทำกิจกรรมให้ชุมชนรับทราบ
  • ชุมชนรู้จักร่วมประเมินผลงานที่ได้ร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมรับผลงาน

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 2 ครั้ง

  • สภาผู้นำ 35 คน
  • กลุ่มเครือข่ายและตัวแทนครัวเรือน รวม 25 คน 
6,500.00 6,500.00 60 60 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • เกิดเวทีสาธารณะ ร่วมกันสรุปผลที่ได้จากการทำกิจกรรมที่ผ่านมา
  • กลุ่มเป้าหมายหลักได้มาเล่าประสบการณ์การทำกิจกรรมให้ชุมชนรับทราบ
  • ชุมชนรู้จักร่วมประเมินผลงานที่ได้ร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมรับผลงาน

เยาวชน อสม แม่บ้าน กลุ่มอนุรักษ์ กลุ่มประมง ผู้นำท้องถิ่นท้องที่ รวม 60 คน

0.00 0.00 60 60 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เกิดเวทีการสรุปข้อมูลการทำงานของชุมชน ทำให้ชุมชนได้รับรู้ ติดตามผล และร่วมรับผลการประเมินผลงานที่เกิดขึ้น

2.3.1 นวัตกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ

(นวัตกรรมคือ การจัดการความคิด กระบวนการ ผลผลิต และ/หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสม มาใช้งานให้เกิดประสิทธิผล และ/หรือประสิทธิภาพมากกว่าเดิมอย่างชัดเจน)

ชื่อนวัตกรรมคุณลักษณะ/วิธีการทำให้เกิดนวัตกรรมผลของนวัตกรรม/การนำไปใช้ประโยชน์
2.3.2 โครงการเด่น (Best Practice)

(โครงการเดิ่น คือ โครงการสร้างเสริมสุขภาพให้สัมฤทธิ์ผลที่เป็นรูปธรรมแล้วขยายผลอย่างยั่งยืน โดยแนวคิดกระบวนการ และผลงาน สามารถเป็นตัวอย่างที่จะนำไปขยายผลในชุมชน (Setting) อื่น ๆ ได้ การดำเนินงานมีส่วนร่วมของภาคีที่หลากหลาย มีการบริหารจัดการที่ดี โปร่งใสและตรวจสอบได้)

ชื่อ Best Practiceวิธีการทำให้เกิด Best Practiceผลของ Best Practice / การนำไปใช้ประโยชน์
2.3.3 เกิดแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านการสร้างเสริมสุขภาพในประเด็นต่าง ๆ
ชื่อ-สกุลที่อยู่ติดต่อได้สะดวกคุณสมบัติแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลง
2.3.4 มีสภาพแวดล้อมและปัจจัยทางสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพ

เกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพในชุมชนพื้นที่โครงการดังนี้

สถานที่/พื้นที่ ที่เปลี่ยนแปลงรายละเอียดการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น

ส่วนที่ 3 : ปัญหาและอุปสรรคสำคัญที่มีผลกระทบต่อการดำเนินงาน

3.1 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเด็นปัญหา/อุปสรรคการแก้ไขของผู้รับทุนข้อเสนอแนะ/การแก้ไขปัญหาและการเสริมพลังของผู้ติดตาม
3.2 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเภทความเสี่ยง / ปัจจัยเสี่ยงระดับความเสี่ยง
(จากมากไปหาน้อย)
ข้อมูล ข้อสังเกตุ และข้อคิดเห็นของผู้ติดตาม
3210
1. ความเสี่ยงด้านการดำเนินงาน (Operational Risks)
1.1 โครงสร้างการดำเนินงาน

 

1.2 ศักยภาพและทักษะการดำเนินงาน

 

1.3 ผลลัพธ์และผลสำเร็จของการดำเนินงาน

 

2. ความเสี่ยงทางการเงิน (Financial Risks)
2.1 ระบบและกลไกการบริหารจัดการ

 

2.2 การใช้จ่ายเงิน

 

2.3 หลักฐานการเงิน

 

ผลรวม 0 0 0 0
ผลรวมทั้งหมด 0 ระดับความเสี่ยง : ???
เกณฑ์วัดระดับความเสี่ยง ???
สรุปการแก้ไขความเสี่ยง แก้ไขแล้ว ยังไม่ได้แก้ไข

ส่วนที่ 4 : สรุปความเห็นของผู้ติดตาม

ส่วนที่ 4สรุปความเห็นของผู้ติดตาม
4.1 กรณีเบิกเงินงวด/ติดตามเยี่ยมชม มีแนวโน้มสำเร็จตามเป้าหมายโครงการและติดตามปกติ
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีแนวโน้มเสี่ยง ต้องติดตามอย่างใกล้ชิด เนื่องจาก
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีความเสี่ยง ต้องยุติโครงการ เนื่องจาก
4.2 กรณีสรุปปิดโครงการ ดำเนินงานได้ตามแผนปฏิบัติการและสามารถปิดโครงการได้
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ไม่เป็นไปตามแผนปฏิบัติการ ให้ดำเนินการจัดระบบการเงิน ระบบรายงานให้ถูกต้องก่อนปิดโครงการ
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ส่วนที่ 5 : สรุปภาพรวมของการติดตามประจำงวด (ข้อสังเกต/สิ่งดีๆ ที่ค้นพบ/ข้อพึงระวัง/บทเรียนที่ได้)

 

สร้างรายงานโดย Yuttipong Kaewtong