แบบบันทึกการติดตามสนับสนุนโครงการ ครั้งที่ 3

รหัสโครงการ 58-03971
สัญญาเลขที่ 58-00-2180

ชื่อโครงการ ปลุกจิตสำนึกชุมชน คนป่าเสม็ดอนุรักษ์ป่าชายเลน
รหัสโครงการ 58-03971 สัญญาเลขที่ 58-00-2180
ระยะเวลาตามสัญญา 15 กันยายน 2015 - 15 ตุลาคม 2016

ส่วนที่ 1 : ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม

1.1 ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 1 นฤมล ฮะอุรา
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 2 ฐานันดร สมจิตอุตส่าห์
วันที่ลงพื้นที่ติดตาม 13 ตุลาคม 2016
วันที่ส่งรายงานถึง สสส. 20 พฤศจิกายน 2016
1.2 ผู้ให้ข้อมูล
ลำดับชื่อ-สกุลผู้ให้ข้อมูลที่อยู่หมายเลขโทรศัพท์
1 นายฮะเฉดยาพระจันทร์ 53 หมู่ที่ 2 ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล 0872950551
2 นายอับดุลเลาะหล่าด้ำ 71 หมู่ที่ 2 ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล 0812758285
3 นายวรวุฒิหล่าด้ำ 71 หมู่ที่ 2 ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล 0899786290

ส่วนที่ 2 : ข้อมูลโครงการและความก้าวหน้าการดำเนินงาน

2.1 วัตถุประสงค์และตัวชี้วัดความสำเร็จโครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ตัวชี้วัดความสำเร็จ

1.

เพื่อสร้างกลไกสภาผู้นำชุมชนป่าเสม็ด ตำบลท่าเรือ ในการจัดการป่าชายเลนและสัตว์น้ำ ทั้งการอนุรักษ์ ป้องกัน ฟื้นฟู และพัฒนาและดึงการมีส่วนร่วมของชุมชน

1.มีการประชุมทุกเดือน จำนวน 10 เดือน

2.แต่ละครั้งมีผู้เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

3.การประชุมทุกครั้ง มีการปรึกษาหารือเรื่อง โครงการ และ เรื่องอื่นๆของชุมชน

2.

เพื่อใช้พลังของข้อมูลสร้างจิตสำนึกและการมีส่วนร่วมของชุมชนในการอนุรักษ์ป่าชายเลน

  1. ได้ข้อมูลป่าชายเลนของชุมชน 1 ชุดข้อมูลที่ประกอบไปด้วย ข้อมูลต้นไม้ สัตว์บก สัตว์น้ำ และความสมบูรณ์ของสิ่งเหล่านั้น

3.

เพื่อหนุนเสริมให้เกิดปฏิบัติการป้องกัน อนุรักษ์ ฟื้นฟู พัฒนาป่าชายเลน

  1. ป่าชายเลนได้รับการต่อยอด พัฒนาให้เกิดประโยชน์ 1-3 กิจกรรม
  2. เกิดกติกาชุมชนในการป้องกัน อนุรักษ์ ฟื้นฟู พัฒนาป่าชายเลน

4.

เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบโครงการ และสนับสนุนการทำงานของโครงการ

  1. มีการเข้าร่วมการประชุมกับ สสส. สจรส.ม.อ. ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 ของจำนวนครั้งที่จัด
  2. มีการจัดทำป้าย "สถานที่นี้ปลอดบุหรี่" ติดตั้งในสถานที่จัดกิจกรรม
  3. มีการถ่ายภาพการดำเนินงานทุกกิจกรรม
  4. มีการจัดทำรายงานส่ง สสส. ตามระยะเวลาที่กำหนด
2.2 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ
กลุ่มเป้าหมายงบประมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงปริมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพ/สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ
ที่ตั้งไว้(บาท)เกิดขึ้นจริง(บาท)จำนวนที่ตั้งไว้(คน)จำนวนเกิดขึ้นจริง(คน)

กิจกรรมหลัก : การประชุมร่วมกับ สสส. สจรส.ม.อ. และพี่เลี้ยงผู้ติดตามi

10,000.00 2 ผลผลิต
  • แกนนำโครงการ 2-3 คน ได้เรียนรู้และเกิดทักษะการบริหารจัดการโครงการ ระบบการเงิน เอกสารการเงินที่ถูกต้อง และการทำงานแบบมุ่งผลลัพธ์

ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

แกนนำโครงการมีการทำงานที่มีประสิทธิภาพ

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 6 ครั้ง

ผู้รับผิดชอบโครงการและผู้รับผิดชอบทางด้านไอทีโครงการปลุกจิตสำนึกชุมชน คนป่าเสม็ดอนุรักษ์ป่าชายเลนู

2,000.00 1,750.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

วันที่ 5-6 ตุลาคม 2558

  • รับฟังคำบรรยายจาก อ.พงษ์เทพ ในเรื่องการดำเนินโครงการ
  • รับฟังคำบรรยายจาก อ.ภานุมาศ ในเรื่องการใช่เว็ปและการคีย์ข้อมูล
  • สอบถามและรับฟังคำบรรยายจาก คุณนฤมล เรื่องการทำโครงการอย่างชัดเจนและจริงจัง
  • ฟังคำอธิบายและบรรยายเรื่องเรื่อง การทำบัญชี จากคุณธิดา
  • ฟังอธิบายและบรรยายการถ่ายรูป เก็บข้อมูล ของโครงการให้เห็นรูปอย่างเด่นชัด จาก คุณถนอม
  • เริ่มทำการคีย์ข้อมูลแผนดำเนินงานและรายละเอียดกิจกรรมในเว็ป

นาย วรวุฒิ หล่าด้ำ รับผิดชอบทางด้านไอที

200.00 200.00 2 1 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

บันทึกข้อมูลเพื่อมารับรู้การทำงานร่วมกันและเข้าใจการทำงานในระบบผ่านเว็ปและติดตามการดำเนินโครงการให้เสร็จสมบูรณ์พร้อมทั้งเป็นไปในรูปแบบเดียวกัน เช่นการเขียนรายงานผลการดำเนินโครงการ
การจัดการเอกสารการเงินและการทำรายงานการเงินที่ถูกต้อง
การหักภาษีโครงการชุมชนน่าอยู่ ซักถามแลกเปลี่ยน
สรุปและถอดบทเรียนร่วมกัน

ผู้รับผิดชอบโครงการ 2 คน

0.00 0.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ผู้รับผิดชอบโครงการ2คน เข้าใจการเขียนรายงานมากขึ้น สามารถทำได้ดีขึ้น เข้าใจการจัดการเอกสารการเงิน ทำได้ถูกต้อง

ผู้รับผิดชอบโครงการ และผู้ประสานงาน

800.00 800.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

  - เอกสารงวดที่หนึ่งเรียบร้อย เบิกเงินงวดที่สองได้

แกนนำโครางการ 2 คน

3,000.00 2,028.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ได้เห็นผลงานของโครงการแต่ละโครงการที่นำมาจัดบูตเสนอผลงาน  ซึ่งผลงานที่เกิดขึ้นจากการทำโครงการสามารถมาสร้างเป็นผลิตภัณฑ์สร้างรายได้ให้กับคนในชุมชน
  • ได้ข้อคิดและแรงบันดาลใจจากการฟังเสวนาจากโครงการที่ได้นำเสนอเป็นตัวอย่างบนเวที  เพื่อนำมาใช้ในการพัฒนาโครงการของตนเองต่อไป
  • ได้รับข้อมูลและความรู้ใหม่ๆ มากมายจากจัดกิจกรรมครั้งนี้ เช่นจากหนังสือ จากห้องเสวนาย่อย จากการถามตามบูตต่างๆ เป็นต้น

แกนนำโครงการ 2  คน

4,000.00 1,599.77 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เอกสารหลักฐานการทำงานปิดงวด 2 เรียบร้อย สมบูรณ์

กิจกรรมหลัก : ทำป้ายสัญลักษณ์เขตปลอดบุหรี่ ถ่ายภาพกิจกรรม และจัดทำรายงานi

3,000.00 2 ผลผลิต
  • ได้ป้ายรณรงค์บุหรี่ 5 ป้าย
  • ได้ภาพถ่ายกิจกรรมประมาณ 100 รูป ไปจัดแสดงในชุมชน
  • ได้รายงานสรุปการทำงาน เพื่อเก็บไว้เป็นฐานข้อมูลและผลงานของชุมชน 10 เล่ม

ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)
  • เกิดการรณรงค์ลด ละ เลิกบุหรี่
  • เกิดพื้นที่ปลอดบุหรี่ ได้แก่ อาคารอเนกประสงค์ของชุมชน

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 3 ครั้ง

ชาวบ้านป่าเสม็ดที่ผ่านไปมาในสถานที่ติดป้าย

1,000.00 1,000.00 500 500 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ทำป้ายปลอดบุหรี่ จำนวน 7 แผ่น ปิดประกาศในชุมชน จัดทำพื้นที่เขตปลอดบุหรี่

ภาพถ่ายจำนวน 100 รูป ซีดีภาพ 10 แผ่น

1,000.00 1,000.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ภาพถ่ายจำนวน 100 รูป ซีดีภาพ 10 แผ่น

รายงานสรุปผลการทำงาน 5 เล่ม

1,000.00 1,000.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

รายงานสรุปผลการทำงาน 5 เล่ม

2.3.1 นวัตกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ

(นวัตกรรมคือ การจัดการความคิด กระบวนการ ผลผลิต และ/หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสม มาใช้งานให้เกิดประสิทธิผล และ/หรือประสิทธิภาพมากกว่าเดิมอย่างชัดเจน)

ชื่อนวัตกรรมคุณลักษณะ/วิธีการทำให้เกิดนวัตกรรมผลของนวัตกรรม/การนำไปใช้ประโยชน์
2.3.2 โครงการเด่น (Best Practice)

(โครงการเดิ่น คือ โครงการสร้างเสริมสุขภาพให้สัมฤทธิ์ผลที่เป็นรูปธรรมแล้วขยายผลอย่างยั่งยืน โดยแนวคิดกระบวนการ และผลงาน สามารถเป็นตัวอย่างที่จะนำไปขยายผลในชุมชน (Setting) อื่น ๆ ได้ การดำเนินงานมีส่วนร่วมของภาคีที่หลากหลาย มีการบริหารจัดการที่ดี โปร่งใสและตรวจสอบได้)

ชื่อ Best Practiceวิธีการทำให้เกิด Best Practiceผลของ Best Practice / การนำไปใช้ประโยชน์
มัคคุเทศก์น้อย
  • เยาวชน 35 คนมาเรียนรู็วิธีการนำเที่ยวป่าชายเลน วันแรกเรียนรู้ตั้งแต่ทักษะการพูด ความรู้เกี่ยวกับป่าชายเลน การนำเสนอจุดเด่นที่น่าสนใจของการท่องเที่ยวบ้านป่าเสม็ด
  • วันที่สองเยาวชน 35 คน ได้ฝึกการนำเที่ยว แต่ไม่ได้ลงพื้นที่จริงเนื่องจากฝนตก
  • ได้กลุ่มมัคคุเทศก์ 35 คนที่มีความรู้ความสามารถนำเที่ยวป่าชายเลนของชุมชน
  • เยาวชนมีจิตสำนึกอนุรักษ์และหวงแหนป่าชายเลนมากขึ้น
2.3.3 เกิดแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านการสร้างเสริมสุขภาพในประเด็นต่าง ๆ
ชื่อ-สกุลที่อยู่ติดต่อได้สะดวกคุณสมบัติแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลง
2.3.4 มีสภาพแวดล้อมและปัจจัยทางสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพ

เกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพในชุมชนพื้นที่โครงการดังนี้

สถานที่/พื้นที่ ที่เปลี่ยนแปลงรายละเอียดการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น

อาคารเอนกประสงค์

สถานที่ปลอดบุหรี่

ส่วนที่ 3 : ปัญหาและอุปสรรคสำคัญที่มีผลกระทบต่อการดำเนินงาน

3.1 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเด็นปัญหา/อุปสรรคการแก้ไขของผู้รับทุนข้อเสนอแนะ/การแก้ไขปัญหาและการเสริมพลังของผู้ติดตาม

การทำกิจกรรมไม่ครบถ้วน เนื่องจากในชุมชนมีปัญหาความขัดแย้งการรับทุนงบจากรัฐบาล

คืนเงินแก่สสส.ในกจกรรมที่ยังไม่ได้ดำเนินการ

ควรวางแผนการทำกิจกรรมแต่เนิ่นๆ

3.2 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเภทความเสี่ยง / ปัจจัยเสี่ยงระดับความเสี่ยง
(จากมากไปหาน้อย)
ข้อมูล ข้อสังเกตุ และข้อคิดเห็นของผู้ติดตาม
3210
1. ความเสี่ยงด้านการดำเนินงาน (Operational Risks)
1.1 โครงสร้างการดำเนินงาน

โครงสร้างการดำเนินงานประกอบด้วยผู้ใหญ่บ้าน อบต. โดยมีนายวรวุฒิเป็นบัณฑิตเพิ่งจบใหม่มาช่วยงานของหมู่บ้าน ช่วงแรกชุมชนมีการมอบหมายงาน และดำเนินกิจกรรมได้ ในช่วงงวดที่สอง มีปัญหาจากโครงการที่รับทุนจากรัฐบาลทำให้ไม่สามารถทำกิจกรรมที่ดึงการมีส่วนร่วมของคนทั้งชุมชนได้ หากชุมชนไม่มีปัญหาดังกล่าว โครงสร้างที่แต่งตั้งขึ้นจะสามารถทำงานได้ดี เนื่องจากผู้ใหญ่บ้าน และสมาชิกอบต.สามารถทำงานร่วมกันได้ดี

1.2 ศักยภาพและทักษะการดำเนินงาน

ยังขาดความกระตือรือร้นในการเตรียมการจัดกิจกรรม พี่เลี้ยงต้องคอยกระตุ้น ติดตาม และวางแผนให้ ทำให้กิจกรรมแต่ละครั้งมีความล่าช้า อย่างไรก็ตามโครงการสามารถจัดกิจกรรมได้บรรลุตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้

1.3 ผลลัพธ์และผลสำเร็จของการดำเนินงาน

ผลลัพธ์ของกิจกรรมที่ได้ดำเนินการ ได้ตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้ และเมื่อสิ้นสุดโครงการ เกิดผลลัพธ์ดังนี้ 1) ทีมสภาผู้นำป่าเสม็ด 35 คน มาช่วยในการจัดการบริหารกิจการหมู่บ้าน ทำให้เกิดความคล่องตัว เกิดความสามัคคี 2) ทีมอาสาอนุรักษ์มีความเข้มแข็งเรื่องป่าชายเลนมากขึ้น มีข้อมูลป่าที่สมบูรณ์ ที่เสื่อมโทรม 3) เยาวชนที่ได้มาร่วมกิจกรรมเกิดความรู้เรื่องป่าชายเลน เรื่องสัตว์น้ำ ต้นไม้ในป่าชายเลนมากขึ้น และเกิดจิตสำนึกอนุรักษ์มากขึ้น

2. ความเสี่ยงทางการเงิน (Financial Risks)
2.1 ระบบและกลไกการบริหารจัดการ

การบริหารจัดการจัดการในแต่ละกิจกรรมที่ได้ดำเนินการ สามารถจัดการให้ลุล่วงไปได้มีการเตรียมการครบถ้วน ไม่มีปัญหาอุปสรรค

2.2 การใช้จ่ายเงิน

การใช้จ่ายเงินกิจกรรมที่ได้ดำเนินการเป็นไปตามสัญญาโครงการ

2.3 หลักฐานการเงิน

การเตรียมหลักฐานการเงิน ไม่เรียบร้อยเพียงเล็กน้อย เช่น ไม่เขียนหัวใบลงทะเบียนทุกใบ ลงลายมือชื่อในใบสำคัญรับเงินไม่ครบ สามารถแก้ไขได้ มีการจ่ายภาษีเรียบร้อย

ผลรวม 0 0 1 0
ผลรวมทั้งหมด 1 ระดับความเสี่ยง : ???
เกณฑ์วัดระดับความเสี่ยง ???
สรุปการแก้ไขความเสี่ยง แก้ไขแล้ว ยังไม่ได้แก้ไข

ส่วนที่ 4 : สรุปความเห็นของผู้ติดตาม

ส่วนที่ 4สรุปความเห็นของผู้ติดตาม
4.1 กรณีเบิกเงินงวด/ติดตามเยี่ยมชม มีแนวโน้มสำเร็จตามเป้าหมายโครงการและติดตามปกติ
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีแนวโน้มเสี่ยง ต้องติดตามอย่างใกล้ชิด เนื่องจาก
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีความเสี่ยง ต้องยุติโครงการ เนื่องจาก
4.2 กรณีสรุปปิดโครงการ ดำเนินงานได้ตามแผนปฏิบัติการและสามารถปิดโครงการได้
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ไม่เป็นไปตามแผนปฏิบัติการ ให้ดำเนินการจัดระบบการเงิน ระบบรายงานให้ถูกต้องก่อนปิดโครงการ
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

การทำงานไม่เป็นไปตามแผนปฏิบัติการ คือ ทำกิจกรรมไม่ครบตามสัญญาโครงการ จึงให้คืนเงินแก่ สสส.ในกิจกรรที่ไม่ได้ดำเนินการ หลักฐานการเงินในกิจกรรมที่ทำเรียบนร้อย ถูกต้อง จ่ายภาษีเรียบร้อบ จึงเห็นควรให้ปิดโครงการได้

ส่วนที่ 5 : สรุปภาพรวมของการติดตามประจำงวด (ข้อสังเกต/สิ่งดีๆ ที่ค้นพบ/ข้อพึงระวัง/บทเรียนที่ได้)

บ้านป่าเสม็ดรับทุนสสส.เป็นปีแรก พบว่า ในช่วงงวดที่สองชุมชนมีปัญหาภายใน ทำให้ไม่สามารถดำเนินกิจกรรมได้ครบถ้วนตามสัญญา อย่างไรก็ตามในกิจกรรมที่ได้ทำก็เกิดผลลัพธ์ที่ตอบสนองต่อวัตถุประสงค์โครงการได้ส่วนหนึ่ง

สร้างรายงานโดย Yuttipong Kaewtong