แบบบันทึกการติดตามสนับสนุนโครงการ ครั้งที่ 1

รหัสโครงการ 58-03948
สัญญาเลขที่ 58-00-1917

ชื่อโครงการ บ้านห้วยไทร หมู่ 10 น่าอยู่ฟื้นฟูเศรษฐกิจเน้นความเจริญด้านอาหาร
รหัสโครงการ 58-03948 สัญญาเลขที่ 58-00-1917
ระยะเวลาตามสัญญา 15 กันยายน 2015 - 15 ตุลาคม 2016

ส่วนที่ 1 : ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม

1.1 ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 1 นางกัลยทรรศน์ ติ้งหวัง
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 2 นางสาวอนัญญา แสะหลี
วันที่ลงพื้นที่ติดตาม 15 ตุลาคม 2015
วันที่ส่งรายงานถึง สสส. 12 กุมภาพันธ์ 2016
1.2 ผู้ให้ข้อมูล
ลำดับชื่อ-สกุลผู้ให้ข้อมูลที่อยู่หมายเลขโทรศัพท์
1 นายสุชาติ หมาดง๊ะ ม. 10 ต.ละงู อ.ละงู จ.สตูล 089-6544945
2 นายสุไหลหมาน สายเส็น 151 ม. 10 ต.ละงู อ.ละงู จ.สตูล 091-1709546

ส่วนที่ 2 : ข้อมูลโครงการและความก้าวหน้าการดำเนินงาน

2.1 วัตถุประสงค์และตัวชี้วัดความสำเร็จโครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ตัวชี้วัดความสำเร็จ

1.

เพื่อส่งเสริมความเข้มแข็งและสามารถจัดการข้อมูลชุมชนได้

  • มีฐานข้อมูลสถานการณ์หนี้สินของคนในชุมชนจำนวน 1 ชุด
  • มีแกนนำชุมชนและเด็กเยาวชนที่มีทักษะในการเก็บข้อมูลจำนวน 20 คน
  • มีแผนปฏิบัติงานของพื้นที่

2.

เพื่อให้เกิดกระบวนการการจัดการปัญหาหนี้สินในชุมชน

  • มีครัวเรือนต้นแบบการทำบัญชีครัวเรือนจำนวน 30 ครัวเรือน
  • มีกติการ่วมของชุมชน

3.

เพื่อพัฒนาศักยภาพกลไกการขับเคลื่อนงานชุมชนน่าอยู่

  • มีคณะทำงานโครงการจำนวน 15 คน จำนวน 1 ชุด
  • เกิดสภาหมู่บ้าน1 สภา
  • สมาชิกสภาประกอบด้วย กรรมการหมู่บ้าน และตัวแทนกลุ่มต่างๆในชุมชนจำนวน30 คน
  • มีผู้เข้าร่วมประชุมไม่ต่ำกว่า ร้อยละ 80
  • มีแผนปฏิบัติการอย่างน้อย 5 แผน
  • ประชุมกรรมการสภา 10 ครั้ง

4.

เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบโครงการ และสนับสนุนการทำงานของโครงการ

  1. มีการเข้าร่วมการประชุมกับ สสส. สจรส.ม.อ. ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 ของจำนวนครั้งที่จัด
  2. มีการจัดทำป้าย "สถานที่นี้ปลอดบุหรี่" ติดตั้งในสถานที่จัดกิจกรรม
  3. มีการถ่ายภาพการดำเนินงานทุกกิจกรรม
  4. มีการจัดทำรายงานส่ง สสส. ตามระยะเวลาที่กำหนด
2.2 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ
กลุ่มเป้าหมายงบประมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงปริมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพ/สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ
ที่ตั้งไว้(บาท)เกิดขึ้นจริง(บาท)จำนวนที่ตั้งไว้(คน)จำนวนเกิดขึ้นจริง(คน)

กิจกรรมหลัก : ประชุมคณะทำงานโครงการi

1,800.00 15 ผลผลิต

จัดกิจกรรมวันที่ 16 ต.ค.58 มีผู้เข้าร่วมประชุมจำนวน 15 คน เป็นการชี้แจงโครงการให้กับคณะทำงานได้รับรู้เพื่อนำไปสู่ความร่วมมือในการขับเคลื่อนงานโครงการของหมู่บ้านและมีสภาผู้นำหมู่บ้านที่มีความเข้มแข็ง


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)
  • คณะทำงานโครงการเข้าใจ รับรู้ความเป็นมาโครงการและกิจกรรมที่ต้องดำเนินการในชุมชน

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 6 ครั้ง

  • พี่เลี้ยงโครงการ
0.00 0.00 1 1 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • คณะทำงานโครงการมีความเข้าใจหลักการทำงานของ สสส.ในการทำโครงการของพื้นที่
  • คณะทำงานได้มีการลงข้อมูลและจัดทำปฏิทินโครงการ
  • พี่เลี้ยงโครงการจำนวน 2 คน
0.00 0.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • คณะทำงานมีความเข้าใจการทำงานมากขึ้น
  • มีการเข้าใจและรับทราบในองค์ประกอบของสภาผู้นำหมู่บ้าน
  • เข้าใจการคีย์ข้อมูลในการจัดทำรายงานในเวบไซค์
  • คณะทำงานโครงการผู้ใหญ่บ้าน
  • ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน
  • สมาชิก อบต.
  • เจ้าหน้าที่ รพ.สต.
  • อสม.
  • ผู้อำนวยการโรงเรียน
  • บัณฑิอาสา ฯ
1,800.00 1,800.00 15 15 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • มีผู้เข้าร่วมประชุมคณะทำงาน 15 คน
  • เข้าใจกิจกรรมกระบวนการชุมชนน่าอยู่มีระบบการหนุนเสริมโดยพี่เลี้ยง
  • เข้าใจหลักการวางแผน การใช้จ่ายเงินที่ถูกต้อง กับการบันทึกข้อมูลรายงานผลที่ตอบตัวชี้วัดผลลัพธ์ผลิต และการเก็บเอกสารการเงินที่ถูกต้อง
  • ต้องการให้งานสำเร็จต้องถอดบทเรียน
  • พี่เลี้ยงโครงการ
  • พื้นที่ที่รับโครงการ
0.00 0.00 1 1 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • คณะทำงานโครงการแต่ละพื้นที่เข้าใจการเขียนรายงานและหลักการในการจัดการเอกสารการเงินโครงการ
  • พี่เลี้ยงโครงการ
  • พื้นที่รับผิดชอบโครงการประกอบด้วยตัวแทนคณะทำงานโครงการและเจ้าหน้าที่ข้อมูล
0.00 0.00 1 0 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ช่วยดูแลพื้นที่ในการตรวจสอบเอกสารก่อนพบทีม สจรส.ในการตรวจสอบเอกสารการเงินและรายงานกิจกรรมในเวบไซค์ก่อนปิดงวดโครงการ
  • พี่เลี้ยงโครงการ
  • ทีม สจรส.
  • คณะทำงานพื้นที่
0.00 0.00 35 40 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ได้มีการตรวจสอบเอกสารการเงินโครงการจนสามารถปิดโครงการได้
  • พื้นที่คณะทำงานได้เติมเต็มข้อมูลในรายงานกิจกรรม

กิจกรรมหลัก : จัดเวทีชี้แจงทำความเข้าใจโครงการให้กับคนในชุมชนได้รับทราบจำนวน 100 คนi

5,000.00 80 ผลผลิต

จัดกิจกรรมวันที่ 20 ต.ค.58 มีผู้เข้าร่วมประชุมจำนวน 100 คน เป็นการชี้แจงทำความเข้าใจเกี่ยวกับที่มาและวัตถุประสงค์ให้กับคนในชุมชนได้รับทราบและนำไปสู่ความร่วมมือในการทำงานของชุมชน


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)
  • คนในชุมชนรู้ที่มาและเข้าใจที่มาโครงการเต็มใจเข้ามามีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมของชุมชน

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

กลุ่มองค์กรหน่วยงานจากชุมชนและประชาชนในพื้นที่

5,000.00 5,000.00 100 100 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • คนในชุมชนรู้ที่มาและวัตถุประสงค์การทำงานโครงการที่นำไปสู่ความร่วมมือในการทำงานต่อไป

กิจกรรมหลัก : ประชุมสภาผู้นำหมู่บ้านจำนวน 10 ครั้ง/ปีi

8,200.00 0 ผลผลิต

ในระยะแรกมีการประชุมคณะกรรมการสภาผู้นำหมู่บ้านจำนวน 3 ครั้ง ประกอบด้วยครั้งที่ 1 จัดกิจกรรมวันที่ 5 พ.ย.58 มีผู้เข้าร่วมประชุมจำนวน 20 คน เป็นการพูดคุยวางบทบาทหน้าที่รับผิดชอบของทีมสภาผู้นำหมู่บ้าน ครั้งที่ 2 จัดกิจกรรมวันที่ 20 ธ.ค.58 มีผู้เข้าร่วมประชุมจำนวน 30 คน เป็นการพูดคุยเพื่อวางแผนการจัดกิจกรรมของชุมชน ครั้งที่ 3 จัดกิจกรรมวันที่ 20 ม.ค. 59 มีผู้เข้าร่วมประชุมจำนวน 30 คน เป็นการวางแผนจัดกิจกรรมของชุมชนและหารือด้วยวาระของหมู่บ้าน


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)
  • เกิดคณะทำงานสภาผู้นำหมู่บ้านจำนวน 1 สภาที่มีการประชุมร่วมกันตามวาระที่มีของหมู่บ้านได้ร่วมกันออกแบบ วางแผนในการทำงานของหมู่บ้าน

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 10 ครั้ง

ผู้ใหญ่บ้าน  ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน  บัณฑิตอาสาฯ  อสม.  กลุ่มสตรี  อบต.และผู้แทนกลุ่มต่างๆ

820.00 850.00 30 20 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ได้แต่งตั้งประธานรองประธานเลขานุการเหรัญญิกและคณะกรรมการฝ่ายต่างๆเกิดจิตอาสาการทำงานมากขึ้นเข้าใจและยอมรับกิจกรรมตามแผนที่ได้วางไว้
  • คณะทำงานได้เสนอความคิดเห็นกันปัญหาการรวมกลุ่มการอยู่ด้วยกันในการดำเนินงานเพื่อแก้ไขข้อบกพร่องไปด้วยกันและการพัฒนาสภาให้มีความรับผิดชอบมีจิตอาสาในการทำงานช่วยเหลือชุมชนให้มีผู้นำที่เข้มแข็งและพร้อมที่จะช่วยเหลือแก้ปัญหาให้กับคนในชุมชนและชุมชนเองก็จะเจริญก้าวหน้าสามารถรับกับสถานการณ์ปัญหาต่างๆที่เกิดขึ้นมากมายในปัจจุบันมีการเลือกแต่งตั้งประธานสภารองประธานสภาเลขานุการเหรัญญิกและกรรมการฝ่ายต่างๆ

คณะกรรมการหมู่บ้าน ผู้นำศาสนา ส.อบต. อสม. โรงเรียน กลุ่มสตรี 

820.00 750.00 30 30 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ทีมสภาผู้นำหมู่บ้านมาเข้าร่วมประชุมสภาผู้นำหมู่บ้าน ครั้งที่ 2 ณ อาคารอเนกประสงค์บ้านห้วยไทร จำนวน 30 คน มีการประชุมชี้แจงเรื่องประชุมตามระเบียบวาระที่ได้แจกให้ผู้เข้าร่วมประชุมทุกคนทราบ และร่วมวางแผนการดำเนินกิจกรรมในครั้งต่อไป คือ ประชุมคณะทำงานวิชาการออกแบบ แบบสำรวจข้อมูลหนี้สินในชุมชน และแกนนำกลุ่มภาคีต่างๆ คือ ปกครอง อบต. อสม. โรงเรียนผู้นำศาสนา และกลุ่มสตรี แจ้งประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสาร การดำเนินกิจกรรม และความร่วมมือตามแผนการขับเคลื่อนงานของชุมชนในทุกๆด้าน และกำหนดจัดประชุมสภาผู้นำทุกวันที่ 20 ของเดือน

คณะทำงานโครงการ คณะกรรมการหมู่บ้าน ผู้นำศาสนา ส.อบต. อสม. โรงเรียน กลุ่มสตรี กองทุนหมู่บ้าน จำนวน 30 คน

820.00 750.00 30 30 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ทีมสภาผู้นำหมู่บ้านมาเข้าร่วมประชุมสภาผู้นำหมู่บ้าน ครั้งที่ 3 ณ อาคารอเนกประสงค์บ้านห้วยไทร จำนวน 30 คน มีการประชุมชี้แจงเรื่องประชุมตามระเบียบวาระที่ได้แจกให้ผู้เข้าร่วมประชุมทุกคนทราบ และร่วมวางแผนการดำเนินกิจกรรมในครั้งต่อไป คือ ประชุมคณะทำงานลงเก็บข้อมูล จำนวน 20 คน ตามแบบสำรวจข้อมูลหนี้สินในชุมชน และแกนนำกลุ่มภาคีต่างๆ คือ ปกครอง อบต. อสม. โรงเรียน กองทุนหมู่บ้าน ผู้นำศาสนา และกลุ่มสตรี แจ้งประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสาร การดำเนินกิจกรรม และความร่วมมือตามแผนการขับเคลื่อนงานของชุมชนในทุกๆด้าน และกำหนดจัดประชุมสภาผู้นำทุกวันที่ 20 ของเดือน

คณะทำงานโครงการรพ.สต. สมาชิก อบต อสม. 30 คน

820.00 820.00 30 30 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

วันที่20กุมภาพันธ์2559เวลา13.00 น นางกิ่งดาวเอ็กหลีประธานชุมชนได้กล่าวพูดถึงการดำเนินกิจกรรมสังเคราะห์ข้อมูลสถานการณ์หนี้สินของชุมชนเพื่อการขับเคลื่อนการทำงานให้เป็นทีมงานที่มีความสามัคคีในหมู่คณะภายใต้กิจกรรมของโครงการบ้านห้วยไทร หมู่ที่ 10 เน้นความเจริญด้านอาหาร ในที่ประชุมประธานได้เน้นย้ำถึงการทำงานเป็นทีม ซึ่งให้ข้อมูลที่ได้มานั้นตรงกับเป้าหมายและให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้โดยการสนับสนุนของ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ(สสส.) ุ

คณะทำงานโครงการ  สี่เสาหลัก  อสม.  กลุ่มองค์กรต่างๆ

820.00 820.00 30 30 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

วันที่ 20 มีนาคม 2559 เวลา 14. 00 น ณ อาคารเอนกประสงค์ประจำหมู่บ้านหว้ยไทร จัดประชุมทีมสภาผู้นำหมู่บ้านเพื่อติเตามดำเนินกิจกรรมของงานทีผ่านมาโดยมีนายสุไลหมานสายเส็น และ นายสุชาติหมาดง๊ะผู้ช่วยในการจัดกิจกรรมประชุมสภาผู้นำชุมชนเพื่อให้งานที่ผ่านมานั้นกลับมาทบทวนรายละเอียดและพูดคุยเสนอแนวทางในการแก้ไขปัญหาอุปสรรคที่อาจเกินขึ้นในอนาคตเพื่อวางแผนกำหนดกลไกลหารือพร้อมกัน และพร้อมที่จะเสนอแนวทางพร้อมกันและที่ประชุมได้เสนอว่าจะมีการเปลี่ยนสถานที่แลกเปลี่ยนเรียนรู้จากตำบลย่านซื่ออำเภอควนโดนจังหวัดสตูลเป็นบ้านลำธุ์สินเป็นศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง โดยได้ติดต่อนายอุทัยบุญดำ วิทยากรเป็นที่เรียบร้อยแล้วก่อนไปศึกษาดูงานส่วนค่าใช้จ่ายหากเป็นส่วนเกินทางผู้ใหญ่บ้านสมทบจากค่าใช้จ่ายทั้งหมด ที่ประชุมได้มีการเห็นชอบที่จะไปศึกษาดูงานที่จังหวัดพัทลุง ปิดประชุมเวลา15.00 น

  • คณะทำงานและคนในชุมชน
820.00 1,100.00 30 30 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ทีมสภาผู้นำหมู่บ้านมาเข้าร่วมประชุมสภาผู้นำหมู่บ้าน ครั้งที่ 6 ณ อาคารเอนกประสงค์ประจำหมู่บ้านห้วยไทร จำนวน  30 คนมีการชี้แจงการทำกิจกรรมต่างๆ
  • โดยได้รับความร่วมมือจากคณะทำงานสภาผู้นำหมู่บ้านเป็นอย่างดี
  • ทีมสภาได้แบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบการเตรียมจัดกิจกรรมครั้งต่อไป
  • ผู้นำภาคีเครือข่ายต่างๆผู้ใหญ่บ้าน คณะกรรมการหมู่บ้าน สมาชิกอบต. อสม. กลุ่มสตรี ผู้นำศาสนาและกองทุนหมู่บ้าน แจ้งประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารในพื้นที่
  • คณะทำงานโครงการ
  • ผู้ใหญ่บ้าน
  • คณะกรรมการหมู่บ้าน
  • สมาชิกอบต.
  • อสม.
  • กลุ่มสตรี

จำนวน 30 คน

820.00 950.00 30 30 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • มีสภาผู้นำหมู่บ้าน จำนวน 1 สภา ประกอบด้วย คณะกรรมการหมู่บ้านและกลุ่มองค์กรต่างๆในชุมชน จำนวน 30 คน
  • ที่ประชุมลงมติจัดทำศูนย์เรียนรู้ จัดแบ่งพื้นที่ในการปลูกผัก เพื่อจัดทำเป็นศูนย์เรียนรู้โดยใช้พื้นโรงเรียนบ้านห้วยไทรโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำล และพื้นที่ในหมู่บ้านห้วยไทร

คณะทำงานสี่เสาหลักผู้นำชุมชนองค์กรต่าง ๆ จำนวน 30 คน

820.00 1,190.00 30 30 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ชุมชนมีคว่ามเข้มแข็งมีความรักสมัคคีของคนในชุมชนและได้เรียนรู้ประสบการณ์ใหม่ๆ ในการประกอบอาชีพ

คณะทำงานโครงการ  สี่เสาหลัก  อสม.  กลุ่มกองทุนต่างๆ

820.00 950.00 30 30 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • มีสภาหมู่บ้าน จำนวน 1 สภาประกอบด้วย คณะกรรมการหมู่บ้าน และตัวแทนกลุ่มต่างๆในชุมชน จำนวน 30 คน
  • ที่ประชุมรับทราบของการทำงานกลุ่มผู้เข้าร่วมโครงการ สสส.

-คณะทำงานโครงการสี่เสาหลักอสม.กลุ่มกองทุนต่างๆ

820.00 1,230.00 30 30 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ได้วันเวลาในการลงพื้นที่ประเมินโครงการ
  • ได้รับแนวคิดของทีมสภาในการนำเสนอกวัตถุดิบในการจัดกิจกรรม
  • ได้มีการเสนอเพื่อให้กลุ่มมีการต่อยอดโครงการต่อไป
  • มีผู้เข้าร่วมประชุม 30 คน
  • มีการประชุมกันอย่างต่อเนื่องจำนวน 10 ครั้งต่อปี
  • มีแผนปฏิบัติการในการทำงานแต่ละครั้งที่นำไปสู่การทำงานอย่างมีส่วนร่วมของชุมชน
  • สรุปผลรายงานกิจกรรมแต่ละครั้ง

กิจกรรมหลัก : พัฒนาศักยภาพทีมสภาหมู่บ้านจำนวน 30 คนi

12,040.00 25 ผลผลิต

จัดกิจกรรมวันที่ 9 พ.ย.58 มีผู้เข้าร่วมประชุมจำนวน 30 คน เป็นการพัฒนาศักยภาพทีมคณะทำงานสภาผู้นำหมู่บ้านในเรื่องการทำงานจิตอาสาและการทำงานเป็นทีม


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)
  • ทีมสภาผู้นำหมู่บ้านสมารถเปลี่ยนความคิดให้มีจิตอาสามากขึ้นและเข้าร่วมกิจกรรมและทำงานกันเป็นทีมมากขึ้นมีความผูกพันกันมากขึ้นและได้รับทราบและเข้าใจเกี่ยวกับโครงการที่ทางสสส.ให้มาทำกิจกรรมต่างๆ

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

ผู้ใหญบ้าน  คณะกรรมการหมู๋บ้าน  ตัวแทนกลุ่มต่างๆ  อสม.  กลุ่มสตรี 

12,040.00 9,440.00 30 30 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • กิจกรรมพัฒนาศักยภาพทีมสภาผู้นำหมู่บ้านสามารถเปลี่ยนความคิดคนให้มีจิตอาสามากขึ้นและเข้าร่วมกิจกรรมและทำงานกันเป็นทีมมากขึ้นมีความผูกพันกันมากขึ้นและได้รับทราบและเข้าใจเกี่ยวกับโครงการที่ทางสสส.ให้มาทำกิจกรรมต่างๆจากที่ไม่เคยทราบมาก่อนว่างบของสสส.เขาให้มาใช้เพื่อทำอะไรทุกคนสามารถเข้าใจและพัฒนาตนเองในการอยู่ร่วมกันในสังคมชุมชน

  • กิจกรรมจะมีการแบ่งออกเป็น 3กลุ่ม ๆ ละ 10คน เพื่อจะได้ทำกิจกรรมร่วมกัน การทำงานเป็นทีมและมีการจัดกาใส่แนวคิดในการทำงานจิตอาสา ของแต่ละกลุ่มได้มีการเสนอการปลูกผักครอบครัวรั้วกินได้ โดยแต่ละกลุ่มจะเสนอการปลูกผักสวนครัว10 - 20ชนิด เพื่อที่จะได้ทำกิจกรรมร่วมกัน

  • ในการจัดกิจกรรมในวันนี้คือการพัฒนาศักยภาพทีมผู้นำหมู่บ้านถ้าหากเราไม่มีความสามัคคีกันศักยภาพผู้นำจะไม่เห็นเลยเพราะเราขาดความรับผิดชอบการมาของทุกคนทั้งหมดในวันนี้ถือว่ามีศักยภาพมากแต่ละคนเพราะทุกคนต้องการที่จะมาพัฒนาตนเองและช่วยเหลือชุมชนของตนเองให้มีประสิทธิภาพด้านความเป็นผู้นำในชุมชนความคิดความกล้าที่จะแสดงให้เห็นว่าคนในชุมชนมีความเข้มแข็ง สามารถยืนอยู่ด้วยลำแข้งของตนเองได้

กิจกรรมหลัก : ประชุมทีมวิชาการจำนวน 20 คน ออกแบบสำรวจข้อมูลหนี้สินของคนในชุมชนi

5,020.00 70 ผลผลิต

จัดกิจกรรมวันที่ 19 ม.ค. 59 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 21 คน เป็นการประชุมทีมวิชาการในการออกแบบสำรวจข้อมูลสถานการณ์หนี้สินของคนในชุมชน


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)
  • ได้แบบสำรวจข้อมูลหนี้สินจำนวน 1 ชุด

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

ณะทำงานโครงการ ผู้ใหญ่บ้าน คณะกรรมการหมู่บ้าน สมาชิกอบต. อสม. กลุ่มสตรี และวิทยากร จำนวน 21 คน

5,020.00 5,020.00 21 21 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ได้แบบสำรวจข้อมูลสถานการณ์หนี้สินของคนในชุมชน
  • เกิดความรู้ความเข้าใจในการจัดทำแบบสำรวจ
  • เกิดกระบวนการคิดร่วมกันและเกิดการมีส่วนร่วมในการดำเนินงาน •และร่วมกันวางแผนลงพื้นที่จัดเก็บข้อมูลต่อไป

กิจกรรมหลัก : ประชุมทีมลงเก็บข้อมูล 20 คนi

13,220.00 20 ผลผลิต

จัดกิจกรรมวันที่ 25 ม.ค.59 มีผู้เข้าร่วมประชุมจำนวน 21 คน เป็นการประชุมทำความเข้าใจแบบสอบถามให้ทีมลงพื้นที่ได้เข้าใจและสามารถลงพื้นที่สำรวจข้อมูลได้


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)
  • ทีมลงพื้นที่สำรวจข้อมูลสถานการณ์หนี้สินของคนในชุมชนเข้าใจแบบสำรวจข้อมูลและสามารถลงพื้นที่เก็บรวบรวมข้อมูลได้

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

ทีมคณะเก็บข้อมูล 21 คนโดยทีม อสม. และเยาวชน

13,220.00 13,220.00 20 21 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • เกิดความเข้าใจในแบบสำรวจข้อมูล
  • เกิดการทำงานเป็นทีมร่วมกันของ อสม.และเยาวชนในชุมชน
  • ได้ทราบข้อมูลที่ชัดเจนไม่ซ้ำซ้อน เกิดข้อมูลที่ชัดเจนและครอบคลุมทุกพื้นที่
  • การลงพื้นที่เก็บข้อมูลจะมีการแบ่งโซนเพื่อให้คณะทำงานลงพื้นที่สำรวจข้อมูลไม่ซ้ำซ้อนโดยให้เยาวชน 1 คน ต่อ อสม. 1 คน ในการลงพื้นที่สำรวจข้อมูล

กิจกรรมหลัก : ลงพื้นที่สำรวจในการจัดทำฐานข้อมูลสถานการณ์ปัญหาหนี้สินของคนในชุมชนจำนวน 10 วันi

24,500.00 70 ผลผลิต

ลงพื้นที่สำรวจข้อมูลจำนวน 10 วัน เริ่มตั้งแต่วันที่ 26 ม.ค.ถึง 4 ก.พ.59 มีคนลงพื้นที่สำรวจข้อมูลจำนวน 20 คน โดยมีการแบ่งโซนในการลงพื้นที่ตามความถนัดของแต่ละคน


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)
  • เกิดความสัมพันธ์ของคนในชุมชน
  • ได้ข้อมูลหนี้สินของคนในชุมชน เพื่อพัฒนาอาชีพให้คนในชุมชนสามารถพึ่งตนเองได้

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

ครัวเรือนของคนในชุมชน

24,500.00 24,500.00 20 20 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • อสม.ได้ลงพื้นที่ลงสำรวจครัวเรือนทุกครัวเรือน
  • สอบถามข้อมูลรายรับรายจ่ายในครัวเรือน
  • สอบถามปัญหาความต้องการของประชาแต่ต้องพึงตนเองให้ได้มากที่สุด
  • ได้แบบสำรวจที่สำรวจแล้ว
  • ได้พูดคุยกับชาวบ้านในชุมชนเพื่อสร้างความสัมพันธ์
  • ได้รับรู้ความเป็นอยู่และสัมผัสความเป็นอยู่ของคนในชุมชนมากขึ้น

กิจกรรมหลัก : การประชุมร่วมกับ สสส. สจรส.ม.อ. และพี่เลี้ยงผู้ติดตามi

10,000.00 2 ผลผลิต
  • ร่วมปฐมนิเทศน์กับทีม สจรส.วันที่ 7-8 ต.ค.58 จากคณะทำงานพื้นที่จำนวน 2 คน เป็นการฝึกปฏิบัติในการจัดทำปฏิทินโครงการและทำความเข้าใจเรื่องการจัดทำเอกสารการเงิน
  • เดินทางพบพี่เลี้ยงโครงการจำนวน 2 ครั้งเพื่อขอคำแนะนำเรื่องการปรับปฏิทินโครงการและการตรวจเอกสารการเงินก่อนปิดโครงการงวดที่ 1
  • เข้าร่วมอบรมการเขียนรายงานวันที่ 4 ธ.ค. 58 มีตัวแทนเข้าร่วมจากพื้นที่จำนวน 2 คน เป็นการเรียนรู้เรื่องการเขียนรายงานกิจกรรมและการจัดทำเอกสารการเงินพร้อมทำความเข้าใจเรื่องการเสียภาษี ณ ที่จ่ายของพื้นที่รับโครงการ สสส.
  • สรุปปิดโครงการงวดที่ 1 วันที่ 11-12 ก.พ. 59 มีตัวแทนจากพื้นที่จำนวน 2 คน เพื่อตรวจสอบเอกสารการเงินและข้อมูลในเวบไซค์

ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)
  • ทีมตัวแทนคณะทำงานมีความเข้าใจขั้นตอนการทำงานและสามารถสรุปปิดโครงการงวดที่ 1 ได้สอดคล้องกับแผนงานที่วางไว้

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 18 ครั้ง

ผู้รับผิดชอบโครงการ/เจ้าของโครงการ

2,000.00 400.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ได้ฝึกปฏิบัติในการลงข้อมูล เข้าใจหลักการบริหารจัดการโครงการ วางแผนปฏิทินกิจกรรมตลอดทั้งโครงการ และเข้าใจหลักเอกสารการเงิน การใช้จ่ายให้ตรงกับสัญญาโครงการและบริหารจัดการในโครงการอย่างมีประสิทธิภาพ

คณะทำงานโครงการ

0.00 200.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • มาปรึกษาพี่เลี้ยงเรื่องการจัดทำเอกสารและร่วมกันกำหนดวันในการจัดกิจกรรมจริงของพื้นที่
  • ได้หารือกับพี่เลี้ยงในการกำหนดกิจกรรมโครงการในครั้งต่อไป

ผู้รับผิดชอบโครงการ

0.00 500.00 1 1 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้รับผิดชอบโครงการรับเงินคืนสำรองจ่ายค่าเปิดบัญชีธนาคาร

ผู้รับผิดชอบโครงการและคณะทำงาน 2 คน

2,000.00 500.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

•คณะทำงานโครงการแต่ละพื้นที่เข้าใจการเขียนรายงานและหลักการในการจัดการเอกสารการเงินโครงการ และเข้าใจการหักภาษีโครงการชุมชนน่าอยู่

  • คณะทำงานโครงการ จำนวน 2 คน
0.00 200.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • คณะทำงานโครงการมีความเข้าใจการจัดการเอกสารและร่วมกันปรับตามคำแนะนำของพี่เลี้ยงในการจัดทำเอกสารและการรายงานกิจกรรมลงในเวบไซค์

คณะทำงานโครงการ

0.00 200.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ได้เอกสารที่ได้รับการตรวจความถูกต้องพร้อมที่รายงานการปิดงวด

ผู้รับผิดชอบโครงการและคณะทำงาน 

2,000.00 880.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ทำการตรวจสอบเอกสารการเงินโครงการ โดยมีเจ้าหน้าที่ สจรส.ทำการตรวจเอกสารการเงินและรายงานในเวปไซด์ ตามกิจกรรมที่พื้นที่ได้จัดดำเนินการในแต่ละกิจกรรม พร้อมทั้งตรวจรายงานและเจ้าหน้าที่ได้ตรวจสอบพร้อมทั้งให้ข้อเสนอแนะและเขียนรายงานเพิ่มเติม

  • เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล
  • ตัวแทนคณะทำงานโครงการ
0.00 1,200.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • มีความรู้ความเข้าใจในการเขียนรายงาน และการเงินปิดงวด 1 ได้ดียิ่งขึ้น

คณะทำงานโครงการ(เจ้าหน้าที่การเงินโครงการ

0.00 200.00 1 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เพื่อสรุปงานกิจกรรมโครงการที่ได้ดำเนินงานและแก้ไขเพิ่มเติมข้อมูลที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน

  • คณะทำงานโครงการ 2 คน
0.00 200.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • พบพี่เลี้ยงในการดำเนินการปรับปฏิทินโครงการสำหรับกิจกรรมที่ยังไม่ดำเนินการ ให้เป็นปัจจุบัน และเพิ่มเติมรายละเอียดการบันทึกรายงานกิจกรรมให้ละเอียด ครบถ้วนและชัดเจนมากยิ่งขึ้น เพื่อให้ได้ผลการดำเนินกิจกรรมไปตามแผนที่วางไว้

คณะทำงานผู้รับผิดชอบโครงการ

0.00 200.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ได้ผลลัพธ์จากการรวบรวมเอกสารทางการเงินและการนำรายงานเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์

  • คณะทำงานโครงการ
2,000.00 3,280.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • วันที่ 3-5 ตุลาคม 2559 ณ ศูนย์ประชุมนานาชาติฉลองสิริราชสมบัติ 60 ปี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา ร่วมงานสร้างสุขภาคใต้ วันที่ 3 ตุลาคม เวลา 12.00-13.00 น.มีการแสดงโขน และพิธีเปิด โดยร่วมกันร้องเพลงชาติไทย กล่าวต้อนรับ นายทรงพล สวาสดิ์ธรรม ผู้ว่าราชการจังหวัดสงขลา และกล่าวพิธีเปิด โดยนายแพทย์วีระพันธ์ สุพรรณไชยมาตร์ รองประธานคณะกรรมการกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ เวลา 13.30-15.00 มีการปาฐกถา เรื่องบทบาทของประเทศไทยในการเป็นผู้นำการพัฒนานวัตกรรมสร้างเสริมสุขภาพในภูมิภาคอาเซียนโดยนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ อดีตนายกรัฐมนตรี จากนั้นมีการเสวนาเรื่องมุมมองใหม่ในการพััฒนาระบบสุขภาพในอนาคตการพัฒนาที่มุ่งเน้นการเจริญเติบโตทางด้านเศรษฐกิจเป็นสำคัญโดยเฉพาะการพัฒนาในด้านอุตสาหกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในช่วง4ทศวรรษที่ผ่านมาเป็นการพัฒนาที่ก่อให้เกิดผลกระทบและความเสียหายต่อทรัพยากรโลกเป็นอย่างมากเมื่อปี2543ดังนั้นเพื่อให้เกิดความต่อเนื่ององค์การสหประชาชาติจึงได้กำหนดเป้าหมายการพัฒนาขึ้นใหม่โดยอาศัยกรอบความคิดที่มองการพัฒนาเป็นมิติของเศรษฐกิจสังคมและสิ่งแวดล้อมให้มีความเชื่อมโยงเรียกว่าเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนซึ่งจะใช้เป็นทิศทางการพัฒนาตั้งแต่เดือนกันยายนปี2558ถึงเดือนสิงหาคม2573 ครอบคลุมระยะเวลา15ปีโดยประกอบไปด้วย17เป้าหมายคือองค์การสหประชาชาติได้กำหนดเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน17เป้าหมายหลักเป็นประเด็นที่เกี่ยวข้องกับมิติสุขภาวะของโลกและประเทศไทย วันที่ 4 ตุลาคม 2559 เวลา 09.00-17.00 น.ประชุมห้องย่อย สานพลังขับเคลื่อนชุมชนน่าอยู่ สู่นโยบายสาธารณะ ชมวิดีทัศน์การขับเคลื่อนงานชุมชนน่าอยู่ หลังจากนั้นมีการเสวนา เรื่อง สานพลังชุมชนน่าอยู่สู่สาธารณะโครงการสร้างคนรักษ์สิ่งแวดล้อมที่บ้านทุ่งยาว ตำบลโคกม่วง อำเภอเขาชันสน จังหวัดพัทลุง โดยผู้ใหญ่บ้านทุ่งยาว นายกเทศมนตรีตำบลโคกม่วง สำนักงานปฏิรูปที่ดินจังหวัดพัทลุง สำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จังหวัดพัทลุง เลขานายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดพัทลุง จากนั้นมีการแสดงโขนคน ตอน เชิดพระอิศวร และต่อมาได้มีการนำเสนอกรณีศึกษา ในประเด็นต่างๆ เช่น ประเด็นการจัดการจัดการขยะ ประเด็นเศรษฐกิจพอเพียง ประเด็นเด็กและเยาวชน ประเด็น การจัดการทรัพยากรและการท่องเทียว และประเด็นการจัดการสุขภาพและอาหารปลอดภัย วันที่5ตุลาคม2559เวลา10.30-11.45น.หัวข้อเสวนาการขับเคลื่อนระบบสุขภาพของประเทศไทยสู่การเป็นผู้นำภูมิภาคอาเซียนภาคใต้มีกระบวนการขับเคลื่อนงานสุขภาพของประชาชนในพื้นที่โดยในทุกๆปีจะมีการจัดงานสร้างสุขภาคใต้ปีละครั้งมาตั้งแต่ปีพ.ศ.2549กิจกรรมประกอบด้วยการบรรยายหัวข้อที่หลากหลายโดยการเชิญผู้ทรงคุณวุฒิในระดับภูมิภาคอาเซียนและระดับประเทศมาเป็นวิทยากรนอกจากนี้ภายในงานยังมีการจัดนิทรรศการการประชุมวิชาการนำเสนอผลงานวิจัยของบุคลากรจากหน่วยงานภาครัฐอาจารย์นักวิจัยนักศึกษาระดับบัณฑิตอาสาและบุคคลผู้สนใจทั่วไปการประชุมห้องย่อยตามประเด็นปัญหาของพื้นที่ซึ่งประเด็นสำคัญที่เป็นวิกฤตสุขภาพได้แก่1. ความมั่นคงทางมนุษย์2.ความมั่นคงทางอาหาร3.ความมั่นคงทางทรัพยากร4.ความมั่นคงทางสุขภาพ
  • คณะทำงานโครงการ 2 คน
0.00 200.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ตรวจสอบเอกสารทางการเงินของโครงการ
  • ได้รับคำแนะนำเพิ่มเติมจากพี่เลี้ยงในการรายงานการบันทึกกิจกรรม
  • คณะทำงานโครงการจำนวน 2 คน
0.00 200.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • พี่เลียงได้ตรวจเอกสารโครงการเพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้
  • คณะทำงานโครงการ จำนวน 1 คน
0.00 200.00 1 1 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • พี่เลียงได้ตรวจเอกสารโครงการเพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้
  • คณะทำงานโครงการ
0.00 200.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ตรวจสอบเอกสารทางการเงินของโครงการ
  • คณะทำงานโครงการ จำนวน 2 คน
0.00 200.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • พี่เลี้ยงสามารถตรวจสอบเอกสารทางการเงินของโครงการ
  • ตัวแทนคณะทำงาน 2 คน
2,000.00 200.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • สรุปจัดทำรายงานแลกเปลี่ยนเรียนรู้และปิดงวดโครงการงวดที่ 2

กิจกรรมหลัก : ทำป้ายสัญลักษณ์เขตปลอดบุหรี่ ถ่ายภาพกิจกรรม และจัดทำรายงานi

3,000.00 2 ผลผลิต

จัดทำป้ายประชาสัมพันธ์รณรงค์สถานที่ปลอดบุหรี่วันที่ 12 ต.ค. 58 โดยทีมผู้ประสานงานโครงการ


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)
  • ได้ป้ายประชาสัมพันธ์รณรงค์สถานที่ปลอดบุหรี่

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 3 ครั้ง

คนในชุมชน

1,000.00 700.00 2 270 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ได้ป้ายโครงการตามที่ต้องการ ติดตั้งในพื้นที่ชุมชน เป็นเขตปลอดบุหรี่ให้ชุมชนปฏิบัติตาม เพื่อเห็นป้ายแล้วกิดความตระหนักในการไม่สูบบุหรี่ต่อไป และเป็นพื้นที่อากาศบริสุทธิ์ไม่มีควันบุหรี่ทำให้ดีต่อสุขภาพ

คณะทำงานจำนวน 2 คน

1,000.00 1,000.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ได้รายงานที่สมบูรณ์
  • คณะทำงาน 2 คน
1,000.00 1,000.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ได้รายงานที่สมบูรณ์
2.3.1 นวัตกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ

(นวัตกรรมคือ การจัดการความคิด กระบวนการ ผลผลิต และ/หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสม มาใช้งานให้เกิดประสิทธิผล และ/หรือประสิทธิภาพมากกว่าเดิมอย่างชัดเจน)

ชื่อนวัตกรรมคุณลักษณะ/วิธีการทำให้เกิดนวัตกรรมผลของนวัตกรรม/การนำไปใช้ประโยชน์
2.3.2 โครงการเด่น (Best Practice)

(โครงการเดิ่น คือ โครงการสร้างเสริมสุขภาพให้สัมฤทธิ์ผลที่เป็นรูปธรรมแล้วขยายผลอย่างยั่งยืน โดยแนวคิดกระบวนการ และผลงาน สามารถเป็นตัวอย่างที่จะนำไปขยายผลในชุมชน (Setting) อื่น ๆ ได้ การดำเนินงานมีส่วนร่วมของภาคีที่หลากหลาย มีการบริหารจัดการที่ดี โปร่งใสและตรวจสอบได้)

ชื่อ Best Practiceวิธีการทำให้เกิด Best Practiceผลของ Best Practice / การนำไปใช้ประโยชน์
2.3.3 เกิดแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านการสร้างเสริมสุขภาพในประเด็นต่าง ๆ
ชื่อ-สกุลที่อยู่ติดต่อได้สะดวกคุณสมบัติแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลง
2.3.4 มีสภาพแวดล้อมและปัจจัยทางสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพ

เกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพในชุมชนพื้นที่โครงการดังนี้

สถานที่/พื้นที่ ที่เปลี่ยนแปลงรายละเอียดการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น

ส่วนที่ 3 : ปัญหาและอุปสรรคสำคัญที่มีผลกระทบต่อการดำเนินงาน

3.1 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเด็นปัญหา/อุปสรรคการแก้ไขของผู้รับทุนข้อเสนอแนะ/การแก้ไขปัญหาและการเสริมพลังของผู้ติดตาม
3.2 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเภทความเสี่ยง / ปัจจัยเสี่ยงระดับความเสี่ยง
(จากมากไปหาน้อย)
ข้อมูล ข้อสังเกตุ และข้อคิดเห็นของผู้ติดตาม
3210
1. ความเสี่ยงด้านการดำเนินงาน (Operational Risks)
1.1 โครงสร้างการดำเนินงาน

มีคณะทำงานโครงการที่ประกอบด้วยคณะกรรมการหมู่บ้านและตัวแทนองค์กร กลุ่ม ที่มีอยู่ในชุมชนมีส่วนร่วมในการทำงานโครงการในทุกกิจกรรม

1.2 ศักยภาพและทักษะการดำเนินงาน

คนทำงานมีพื้นฐานในการทำงานชุมชนและมีทีมที่คอยช่วยในการทำงานและพร้อมที่จะเรียนรู้การทำงานจากพี่เลี้ยงเมื่อไม่เข้าใจก็ขอคำปรึกษาอย่างต่อเนื่อง

1.3 ผลลัพธ์และผลสำเร็จของการดำเนินงาน

สามารถดำเนินกิจกรรมได้ตามแผนงานและสามารถปิดงวดโครงการได้ตามเวลาที่กำหนดคนในชุมชนพร้อมที่จะเข้ามาร่วมในการดำเนินการของชุมชน

2. ความเสี่ยงทางการเงิน (Financial Risks)
2.1 ระบบและกลไกการบริหารจัดการ

มีการเบิกจ่ายเงิน 2 ใน 3 และเบิกเงินสอดคล้องตามกิจกรรมในแผนงาน

2.2 การใช้จ่ายเงิน

ใช้เงินสอดคล้องกับแผนงานที่วางไว้

2.3 หลักฐานการเงิน

ในช่วงแรกไม่ค่อยเรียบร้อยเนื่องจากเอกสารการเงินมีความซับซ้อนเรื่องเรื่องการจัดการแต่เมื่อพี่เลี้ยงให้คำแนะนำก็สามารถปรับให้ถูกต้องได้

ผลรวม 0 0 1 0
ผลรวมทั้งหมด 1 ระดับความเสี่ยง : ???
เกณฑ์วัดระดับความเสี่ยง ???
สรุปการแก้ไขความเสี่ยง แก้ไขแล้ว ยังไม่ได้แก้ไข

ส่วนที่ 4 : สรุปความเห็นของผู้ติดตาม

ส่วนที่ 4สรุปความเห็นของผู้ติดตาม
4.1 กรณีเบิกเงินงวด/ติดตามเยี่ยมชม มีแนวโน้มสำเร็จตามเป้าหมายโครงการและติดตามปกติ
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น
  • จากการติดตามการทำงานพื้นที่ก็ได้ให้คำแนะนำเรื่องการเบิกจ่ายงบประมาณและการจัดทำเอกสารการเงินในแต่ละกิจกรรม ซึ่งในการจัดกิจกรรมแต่ละครั้งที่เป็นกิจกรรมหลักพื้นที่ก็แจ้งมายังพี่เลี้ยงเพื่อขอคำปรึกษาในส่วนที่ตนเองไม่เข้าใจ พื้นที่ก็สามารถจัดกิจกรรมได้ตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้
มีแนวโน้มเสี่ยง ต้องติดตามอย่างใกล้ชิด เนื่องจาก
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีความเสี่ยง ต้องยุติโครงการ เนื่องจาก
4.2 กรณีสรุปปิดโครงการ ดำเนินงานได้ตามแผนปฏิบัติการและสามารถปิดโครงการได้
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ไม่เป็นไปตามแผนปฏิบัติการ ให้ดำเนินการจัดระบบการเงิน ระบบรายงานให้ถูกต้องก่อนปิดโครงการ
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ส่วนที่ 5 : สรุปภาพรวมของการติดตามประจำงวด (ข้อสังเกต/สิ่งดีๆ ที่ค้นพบ/ข้อพึงระวัง/บทเรียนที่ได้)

จากการติดตามการทำงานของพื้นที่ในระยะแรกกิจกรรมที่ได้ดำเนินการไปแล้วนั้นคือ การประชุมทีมคณะทำงานโครงการเพื่อสร้างความเข้าใจหลักการกิจกรรมของโครงการให้ทีมคณะทำงานได้เข้าใจ ต่อด้วยการจัดทีมคณะทำงานสภาผู้นำหมู่บ้านที่ประกอบด้วยคณะกรรมการหมู่บ้านและตัวแทนกลุ่มองค์กรต่างๆที่มีอยู่ในชุมชนที่ประชุมร่วมกันทุกเดือน มีการจัดเวทีชี้แจงทำความเข้าใจโครงการให้คนในชุมชนได้รับทราบว่ามีกิจกรรมอะไรบ้างเพื่อเข้ามามีส่วนร่วมในการทำงานต่อไป จัดเวทีพัฒนาศักยภาพทีมคณะทำงานสภาผู้นำหมู่บ้านเรื่องการทำงานเป็นทีมและการทำงานจิตอาสา ออกแบบสำรวจข้อมูลสถานการณ์หนี้สินของคนในชุมชน ต่อด้วยการทำความเข้าใจแบบสำรวจให้กับทีมที่ลงพื้นที่สำรวจข้อมูลได้เข้าใจแบบสำรวจและสามารถลงพื้นที่เก็บข้อมูลได้สุดท้ายก็ลงพื้นที่สำรวจข้อมูลตามแบบสำรวจเพื่อให้เห็นสถานการณ์หนี้สินที่แท้จริงของพื้นที่เพื่อหาแนวทางในการช่วยเหลือ ในระหว่างจัดกิจกรรมตามแผนงานก็ได้มีการพบพี่เลี้ยงอย่างต่อเนื่องและสามารถสรุปปิดงวดโครงการได้

สร้างรายงานโดย Yuttipong Kaewtong